Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือดูแลผู้สูงวัย_ปรับบ้านอยู่สบาย

คู่มือดูแลผู้สูงวัย_ปรับบ้านอยู่สบาย

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-06-17 01:42:38

Description: วิรุจน์ สมโสภณ. คู่มือการดูแลผู้สูงวัย: ปรับบ้านอยู่สบาย.-- นนทบุรี : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2559.
103 หน้า. -- (คู่มือการดูแลผู้สูงวัย).
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษา

Search

Read the Text Version

คู่มือการดแู ลผู้สงู วยั : ปรบั บา้ นอยสู่ บาย พมิ พ์ครั้งท่ี 1 กรกฎาคม 2559 จำ�นวนพมิ พ์ 1,000 เล่ม • ผู้เขียน ทป่ี รกึ ษา อ. วริ ุจน์ สมโสภณ นพ. บรรลุ ศริ พิ านชิ ผศ. ชมุ เขต แสวงเจรญิ พญ. วชั รา ร้วิ ไพบลู ย์ อ. ภวนิ ท์ สิรสิ าลี พญ. ลัดดา ด�ำ รกิ ารเลศิ บรรณาธิการจดั การ ดร. ทพิ ยส์ ุดา จันทร์แจม่ หลา้ ณฏั ฐพรรณ เรอื งศริ นิ ุสรณ์ ผู้จดั การการสือ่ สารสาธารณะ เนาวรตั น์ ชุมยวง บรรณาธกิ าร ประสานงานวิชาการ กญั ญ์ชลา นาวานุเคราะห์ อัปสร จินดาพงษ์ กติ ติพงศ์ สนธิสัมพนั ธ์ แพรว เอย่ี มน้อย บุศรินทร์ นันทานุรักษ์สกุล บงกช จฑู ะเตมยี ์ จฑุ ารตั น์ แสงทอง • w อr oอnกแgบdบe ปs iกg n กฤตินภธารีพวปิทกยาอาจ ภาพประกอบ ปติ ิ พิเชษฐพันธ์ ศลิ ปกรรม พรชนติ ว์ วศิ ษิ ฐชยั ชาญ

ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของส�ำ นักหอสมดุ แห่งชาติ วิรุจน์ สมโสภณ. คู่มอื การดูแลผู้สงู วยั : ปรบั บ้านอยูส่ บาย.-- นนทบรุ ี : สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2559. 103 หน้า. -- (คู่มือการดูแลผูส้ งู วัย). 1. ผู้สงู อาย-ุ -สุขภาพและอนามยั . 2. ผู้สูงอายุ--การดูแล. I. ชมุ เขต แสวงเจริญ, ผแู้ ตง่ ร่วม. II. ภวนิ ท์ สริ สิ าล,ี ผแู้ ต่งรว่ ม. IV. ปติ ิ พเิ ชษฐพนั ธ์, ผู้วาดภาพประกอบ. V. ชอื่ เรอ่ื ง. 613.0438 ISBN 978-974-299-243-9 ดำ�เนนิ การโดย สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) รว่ มกบั มูลนิธิสถาบันวจิ ยั และพฒั นา ผูส้ งู อายไุ ทย (มส.ผส.) สนับสนนุ โดย สำ�นกั งานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) จัดพมิ พ์โดย บรษิ ทั โอเพ่นเวลิ ด์ส พับลชิ ชง่ิ เฮาส์ จ�ำ กดั สถาบันวจิ ัยระบบสาธารณสขุ 88/39 อาคารสุขภาพแหง่ ชาติ ช้นั 4 กระทรวงสาธารณสุข ซ.6 ถ.ติวานนท์ 14 ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท/์ โทรสาร 02-832-9200, 02-832-9201 http://www.hsri.or.th, http://www.healthyability.com, http://www.bluerollingdot.org ดาวน์โหลดหนังสือเลม่ นแี้ ละงานวจิ ัยอืน่ ๆ ของ สวรส. และเครอื ข่ายได้ที่ คลังขอ้ มูลและความรรู้ ะบบสุขภาพของ สวรส. และองค์กรเครอื ข่าย http://kb.hsri.or.th



สารบญั 8 บทน�ำ 14 สิ่งประดษิ ฐห์ รอื อปุ กรณ์ ทีช่ ่วยในการด�ำรงชีวิต 50 การปรับปรุงบ้าน และสภาพแวดลอ้ ม ใหเ้ หมาะสม 102 เอกสารอ้างอิง



ปรบั บ้านอยสู่ บาย คู่มอื การดแู ลผูส้ ูงวัย

บทนำ�

ปรับบา้ นอย่สู บาย 9 ประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน เรอื่ ยๆผลส�ำ รวจของส�ำ นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ4ครงั้ ทผี่ า่ นมาระบุ ว่าประเทศไทยมีจำ�นวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพ่ิมขึ้นอย่าง รวดเร็วและต่อเน่ือง โดยในปี 2537 จำ�นวนผู้สูงอายุคิดเป็น ร้อยละ 6.8 ของประชากรทั้งประเทศ และเพ่มิ ขึ้นเปน็ ร้อยละ 9.4 รอ้ ยละ 10.7 และร้อยละ 12.2 ในปี 2545, 2550, 2554 ตามลำ�ดบั สถติ กิ ารเพมิ่ ขน้ึ ของประชากรผสู้ งู อายรุ ะบวุ า่ ผสู้ งู อายุ มีอายุคาดเฉล่ียเพิ่มข้ึน และมีช่วงชีวิตชราภาพนานขึ้น แต่ สมรรถภาพร่างกายกลับตรงกันข้าม คือเสื่อมลงตลอดเวลา อายุท่ีเพ่ิมขึ้นทำ�ให้ผู้สูงอายุมีข้อจำ�กัดในการใช้ชีวิตประจำ�วัน และทำ�ให้ต้องมีคนหรืออุปกรณ์ช่วยเหลือ สภาวะเช่นน้ีทำ�ให้ ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ นเ้ี ขา้ สภู่ าวะพงึ่ พงิ หรอื พกิ าร1 บคุ คลกลมุ่ นจี้ �ำ เปน็ 1 ข้อมูลของ วรเวศม์ สุวรรณระตา (อ้างถึงใน อุทุมพร วงษ์ศิลป์ และคณะ, 2557) ประมาณการว่ากว่าร้อยละ 5.4 ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร

1 0 คมู่ ือการดูแลผ้สู ูงวัย ต้องมีการจัดการและการดูแลอย่างถูกต้องเหมาะสมในทุกๆ มิติ ทง้ั ดา้ นสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม นอกจากน้ี วรเวศม์ สุวรรณระตา (อา้ งถึงใน อทุ ุมพร วงษ์ศลิ ป์ และคณะ, 2557) ยังไดศ้ กึ ษาการดแู ลผู้สูงอายุระยะ ยาวในเขตกรุงเทพมหานคร และพบว่าครอบครัวที่มีผู้สูงอายุ อาศัยอยู่ด้วย ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายมากขึ้น (ดูตารางท่ี 1) ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะลดลงได้ หากเราปรับสภาพแวดล้อมให้ สามารถปอ้ งกนั การเจ็บปว่ ย สง่ เสริมสุขภาพ และบำ�บัดฟืน้ ฟู ร่างกายผูส้ ูงอายไุ ด้ มีระดับการพ่ึงพิงผู้อ่ืนมากหรือพ่ึงพิงท้ังหมด และจากการศึกษาในเขตเมือง 10 จงั หวัด พบวา่ ร้อยละ 3.2 ของผสู้ งู อายุ มีระดับการพึง่ พิงผู้อื่นมาก ส่วนผล การส�ำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครงั้ ท่ี 4 พบวา่ มผี สู้ งู อายุ ท่ีมีข้อจ�ำกัดในการท�ำกิจวัตรประจ�ำวันพ้ืนฐาน (ADL) สามกิจกรรมข้ึนไป ประมาณรอ้ ยละ 1.4 สถติ เิ หลา่ นส้ี ะทอ้ นสดั สว่ นของผสู้ งู อายทุ อ่ี ยใู่ นภาวะพงึ่ พงิ

ปรบั บ้านอยสู่ บาย 11 ตารางท่ี 1 คา่ ใชจ้ ่ายของครอบครัวที่มผี ู้สูงอายุ ในภาวะพึ่งพิงในเขตกรุงเทพมหานคร รายจา่ ย จ�ำ นวนเงินทใี่ ชต้ ่อคนตอ่ ปี (บาท) คา่ พยาบาล 26,323 ค่าซอ่ มแซมบา้ น 5,445 คา่ จา้ งผดู้ ูแล ~ 85,000-129,000 ข้อมูล: วรเวศม์ สวุ รรณระตา (อา้ งถงึ ใน อุทุมพร วงษ์ศลิ ป์ และคณะ, 2557) ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวสะท้อนภาพรวมเฉพาะการดูแล ผ้สู ูงอายุในเขตเมอื ง ทวา่ ในเขตชนบท ภาพรวมการดแู ลผู้สงู อายอุ าจตา่ งออกไป ในชนบทอาจมกี ารปรบั ใชเ้ ทคโนโลยชี มุ ชน มาปรับปรุงสภาพแวดล้อม เพื่อให้สามารถดูแลผู้สูงอายุตาม บรบิ ทของพน้ื ที่ต่างๆ ดังนั้นจึงควรมีการค้นหาและถอดบทเรียนเร่ือง เทคโนโลยชี มุ ชนทเี่ กยี่ วกบั การปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มส�ำ หรบั ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงหรือพิการ เพ่ือให้เห็นถึงการใช้ทุน พื้นฐานในท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านหรือ เทคโนโลยีชุมชนต่างๆ ความรู้เหล่าน้ีสามารถนำ�ไปสู่การ ตอ่ ยอดและเผยแพร่ในพ้ืนที่อื่นๆ ตอ่ ไป

1 2 คู่มือการดูแลผู้สูงวยั หนังสือเล่มนี้จึงจัดทำ�ข้ึนเพื่อรวบรวมข้อมูล จัดการ และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีชุมชนที่เกี่ยวข้องกับ การปรับปรุงสภาพแวดล้อมสำ�หรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หรือพกิ าร และได้รวบรวมผลงานประกวดการปรบั ปรงุ สภาพ แวดล้อมดว้ ยเทคโนโลยีชุมชนเอาไว้ ผลงานเหล่านี้ผ่านการใช้งานจริงมาแล้ว อย่างไร ก็ตาม แต่ละผลงานมคี วามเป็นปจั เจก ระยะ สดั ส่วน รวมถงึ ขนาดขององค์ประกอบต่างๆ ในผลงานอาจเหมาะสมเฉพาะ บุคคล ทั้งน้ี หากมีการนำ�ผลงานไปพัฒนาต่อ ควรมีการ ประยุกต์ให้เหมาะสมกับผู้ที่ใช้งานและบริบทของท้องถิ่นหรือ ชุมชน ช่างชาวบ้านหรือช่างในชุมชนสามารถนำ�องค์ความรู้ ท่ีได้มาประยุกต์และพัฒนาเป็นผลงานท่ีเหมาะสมในท้องถิ่น ต่อไป ’ ผู้สงู อายุในภาวะพงึ่ พิงหรือพิการคือใคร? ผสู้ งู อายุ คอื บคุ คลทมี่ อี ายเุ กนิ กวา่ 60 ปบี รบิ รู ณ์ สว่ น ผู้ท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิง คือผู้ที่ใช้ชีวิตประจ�ำวันด้วยตัวเองอย่าง ยากล�ำบาก และประสบปญั หาเรอ่ื งการดแู ลตนเองในกิจกรรม พน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ การอาบนำ�้ การท�ำความสะอาด การแตง่ ตวั การ ขบั ถา่ ย การลกุ -นงั่ การเดนิ และการเคลอื่ นไหว การรบั ประทาน อาหาร และการท�ำกิจกรรมอน่ื ๆ ในชีวิต

ปรับบ้านอยูส่ บาย 13 เทคโนโลยชี ุมชนคอื อะไร? เทคโนโลยชี มุ ชน คอื เทคโนโลยที ใ่ี ชท้ นุ ทางภมู ปิ ญั ญา ของท้องถิ่น และสามารถจัดท�ำเองได้ง่าย ภายใต้บริบทของ ชุมชน หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเทคโนโลยีชุมชนเพื่อการ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงหรือ พิการ โดยแบง่ เปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ 1. สิง่ ประดิษฐห์ รอื อุปกรณท์ ีช่ ่วยในการด�ำรงชวี ิต 2. การปรบั ปรุงบา้ นและสภาพแวดล้อมใหเ้ หมาะสม ท�ำไมต้องใช้เทคโนโลยีชุมชนในการแก้ปัญหาผู้สูงอายุ ในภาวะพึง่ พิงหรอื พิการ? การด�ำเนนิ ชวี ติ อสิ ระของผูส้ ูงอายุท่ีอยใู่ นภาวะพึ่งพิง หรอื พกิ ารตอ้ งประสบปญั หาและอปุ สรรคตา่ งๆ มากมาย หากมี การน�ำเทคโนโลยชี มุ ชนมาใชแ้ ละปรบั ใหเ้ ขา้ กบั บรบิ ทของพนื้ ท่ี ต่างๆ สภาพแวดล้อมท่ีปรับให้เหมาะสมนี้จะสามารถป้องกัน การเจบ็ ปว่ ย ส่งเสรมิ สขุ ภาพ และบ�ำบัดฟ้นื ฟูรา่ งกายของผสู้ งู อายุ นอกจากน้ียงั เอือ้ ตอ่ การดแู ลผ้สู งู อายุ และช่วยแก้ปัญหา เรือ่ งคา่ ใชจ้ ่ายไดอ้ กี ดว้ ย

1 สงิ่ ประดษิ ฐ์หรืออปุ กรณ์ ที่ชว่ ยในการด�ำ รงชีวิต

ปรบั บา้ นอยู่สบาย 15 ตัวหนีบช่วยจับงานประดิษฐ์ “มอื ส่นั ควบคุมไม่ได้ อะไรจะช่วยใหม้ น่ั ใจในการหยบิ จับ?” “งานประดษิ ฐ์” เป็นกจิ กรรมส�ำหรับคนทกุ เพศทุกวยั แต่กลุ่มคนพิการท่ีสูญเสียอวัยวะส่วนหยิบจับและผู้สูงอายุน้ัน มี “ขอ้ จ�ำกดั ” ในการท�ำงานประดษิ ฐ์ เชน่ ไมส่ ามารถบงั คบั การ จับของได้นาน หรือมือส่ัน “ตัวหนีบช่วยจับงานประดิษฐ์” เป็นเครื่องมือช่วยถือ สิ่งของส�ำหรับผู้มีปัญหาในการหยิบจับ เช่น ผู้ท่ีมือและแขน อ่อนแรง ผู้ที่แขนและมือขาด หรอื ผู้สูงอายทุ ม่ี ือส่นั เครอ่ื งมอื น้ีพัฒนาข้ึนโดยเน้นวัสดุท่ีหาได้ในชุมชน ราคาประหยัด และ ใช้อุปกรณ์ท่ีผู้ประดิษฐ์สามารถถอดเปล่ียนได้ด้วยตัวเอง เคร่ืองมือช่วยในการหยิบจับนี้สามารถเคล่ือนย้ายและติดต้ัง

1 6 คู่มอื การดูแลผ้สู ูงวยั คลิปหนบี กระดาษ ดา้ มจับ ลอ็ ก

ปรับบา้ นอย่สู บาย 17 ไดท้ กุ สถานที่ สว่ นคลปิ หนบี กระดาษกเ็ ปลย่ี นไดเ้ มอ่ื ช�ำรดุ โดย สามารถหาซอ้ื ไดใ้ นราคาถกู ตามทอ้ งตลาดทว่ั ไป นอกจากนย้ี งั ใชง้ านง่าย การใชค้ ลปิ หนบี กระดาษจะชว่ ยให้เข้าถงึ ผู้คน และ เหมาะกับผ้ทู ีม่ ปี ญั หาดังกล่าว วธิ กี าร เตรียมอปุ กรณ์ดังนี้ 1. เหลก็ แบนหนา 5 มม. กวา้ ง 4 ซม. ยาว 45 ซม. 2. นอ็ ตตัวผูแ้ ละตวั เมียจ�ำนวน 4 ชุด 3. คลิปหนีบกระดาษที่มีขนาดเหมาะสมกับช้ินงาน ประดิษฐ์ 4. สสี เปรยส์ �ำหรับพน่ ทับเพ่ือเกบ็ รายละเอียด ขนั้ ตอน ตัวหนีบช่วยจับงานประดิษฐ์ประกอบด้วยเหล็กแบน สองชิ้น คือเหล็กรูปตัวยูท่ีจะช่วยยึดเครื่องมือไว้กับโต๊ะ และ ด้ามจับ เหล็กสองชิ้นน้ียึดกันไว้โดยมีคลิบหนีบกระดาษอยู่ ระหวา่ งกลาง ซง่ึ จะท�ำใหเ้ ครอ่ื งมอื นสี้ ามารถกางออกและหนบี ชิ้นงานประดิษฐ์ได้

1 8 คมู่ อื การดแู ลผู้สูงวยั คลิปหนีบกระดาษ เหลก็ รูปตัวยู ใช้ยึดกบั โตะ๊ เหล็กท่ีดัดเปน็ ด้ามจบั ข้ันตอนการท�ำมดี ังนี้ 1. ดัดเหลก็ แบนเป็นรปู ตวั ยู ยึดตดิ กับโตะ๊ 2. ส�ำหรับด้ามจับ ให้ใช้เหล็กแบนยาวดัดโค้งให้เข้ากับ สรรี ะของผใู้ ช้ 3. ยึดติดกับเหล็กรูปตัวยู โดยใช้น็อตยึดคลิปหนีบ กระดาษเข้ากบั เหล็กท้ังสองชนิ้ 4. เก็บรายละเอียดของงานด้วยสีสเปรย์ รอสีแห้งสนิท จึงน�ำไปใช้งาน

ปรบั บ้านอยสู่ บาย 19 ขอ้ ควรรู้ • ตดิ ตง้ั ทขี่ อบโตะ๊ เกา้ อ้ี หรอื เฟอรน์ เิ จอร์ ใชไ้ ดท้ งั้ ผปู้ ว่ ยกลมุ่ ติดเตียงและไมต่ ิดเตยี ง • คลปิ หนบี กระดาษอาจเสอื่ มตามการใชง้ าน จงึ ตอ้ งใชน้ อ็ ต แบบเปลย่ี นได้ • สามารถน�ำไปต่อยอดพัฒนา เพ่ือพัฒนาสิ่งประดิษฐ์นี้ให้ สมบูรณย์ ่งิ ขน้ึ งบประมาณ 100-500 บาท เสยี งสะทอ้ นจากผูใ้ ช้งาน “อปุ กรณช์ ิน้ นีช้ ว่ ยให้ท�ำงานได้สะดวก สามารถ สรา้ งอาชีพ ท�ำให้เกดิ รายได้ และสามารถน�ำไป ใช้กบั ผู้สงู อายทุ ่กี ลา้ มเนือ้ ส่ันเทาได้” ติดต่อ หน่วยงาน: ผพู้ กิ าร สู่ ผพู้ กิ าร ผู้ประสานงาน: คุณโอภาศ บรุ นี อก โทรศัพท์: 086-240-4688 และ 099-159-9222 อีเมล: [email protected] และ [email protected]

2 0 คมู่ ือการดแู ลผู้สูงวัย ระดับขอ้ มอื ความสงู ที่เหมาะสม

ปรับบา้ นอยู่สบาย 21 ไม้เท้าชว่ ยพยงุ ตัว “ไม้เท้าทั่วไปราคาแพง... จะทำ� อยา่ งไร?” ไมเ้ ทา้ ทว่ั ไปทมี่ ขี ายในทอ้ งตลาดมรี าคาแพง ผสู้ งู อายุ ในชนบทไทยแต่ละพ้ืนท่ีควรมีโอกาสและทางเลือกในการใช้ ไม้เท้า ดังน้ันจึงมีการคิดประดิษฐ์ไม้เท้า ซ่ึงมีความแข็งแรง ราคาถูก และมคี วามยืดหยุ่นในการใชง้ าน ไม้เท้าที่จะแนะน�ำในบทน้ีสามารถท�ำได้เอง โดย ใช้วัสดุที่มีการวิจัยรับรอง เช่น ไม้หวาย ไม้ไทร ไม้ไมยราบ นอกจากน้ียังสามารถปรับให้เหมาะสมกับสรีระและน้�ำหนัก ของผูส้ งู อายุไทย ไม้เท้าน้ีมีกระบวนการผลิตที่ไม่ยุ่งยาก และใช้งบ ประมาณไม่มาก ซึ่งจะท�ำให้สามารถเผยแพร่อปุ กรณด์ ังกล่าว ไปได้อยา่ งกว้างขวาง วธิ ีการ 1. คดั เลอื กไมท้ มี่ ใี นทอ้ งถนิ่ และหาชา่ งทอ้ งถนิ่ ทม่ี ที กั ษะ ในการประดษิ ฐ์ 22. น�ำไม้มาอบแห้งและอบน้�ำยากันแมลง และหากไม้ ชนิดน้ันมเี ปลอื ก ใหป้ อกเปลือกก่อน 33. น�ำไม้มาตัดเป็นท่อนขนาด 1.30-1.50 ม. ซ่ึงเป็น

2 2 คูม่ อื การดแู ลผ้สู งู วยั มอื จับ กยารงะกแทันก

ปรับบา้ นอยู่สบาย 23 ขนาดที่เหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ ขนาดท่ีก�ำหนดน้ี ได้เผ่ือความยาวส�ำหรับดัดไม้เพื่อท�ำมือจับบริเวณ หวั ไมเ้ ทา้ แล้ว 44. น�ำไมไ้ ปอบไอนำ้� หรอื แชน่ ำ้� เพอ่ื ใหส้ ามารถดดั ได้ ทงั้ น้ี วธิ ีการดดั ขึ้นอย่กู บั ชนิดของไม้ 55. น�ำไม้มาดัดให้บริเวณมือจับได้องศาตามท่ีต้องการ โดยวัดความสูงของไม้เท้าจากพื้นถึงรอยพับที่ข้อมือ ของผู้ใชใ้ นขณะยืนปล่อยแขนข้างล�ำตัวตามสบาย 66. ตดั ปลายไมเ้ ทา้ ใหไ้ ดค้ วามสูงทเ่ี หมาะสม (ตามขอ้ 5) 77. สวมจุกยางที่ปลายไม้เท้า เพื่อช่วยการยึดเกาะ กัน ลนื่ และรกั ษาปลายไมเ้ ทา้ ใหม้ อี ายกุ ารใชง้ านยาวนาน 88. ทดสอบการรับแรงกดแนวต้ัง ไม้เท้าควรรับน�้ำหนัก ได้ประมาณร้อยละ 25 ของน้ำ� หนักตัว ข้อควรรู้ • ไม้เท้าควรมีจดุ รับน�้ำหนกั อย่ทู ี่บริเวณก่ึงกลาง • จากการทดลองเปรยี บเทียบไมห้ วาย ไมไ้ มยราบ และไม้ ไทร พบว่าไม้หวายสามารถรับน้�ำหนักกดได้มากที่สุดถึง 150 กโิ ลกรัม • ควรออกแบบไม้เท้าเป็นแบบขาเดียว เพ่ือหลีกเลี่ยงจุด เชือ่ มตอ่ บนไมเ้ ทา้ • ส่วนปลายของไม้เท้าควรใช้วัสดุประเภทยางธรรมชาติ หรอื สังเคราะห์ เพอ่ื กนั ลื่น

2 4 ค่มู ือการดูแลผู้สงู วยั • สามารถปรับเปลี่ยนวัสดุได้ตามพ้ืนท่ี โดยต้องหาได้ง่าย และมชี ่างทอ้ งถ่ินทีส่ ามารถท�ำได้ งบประมาณ 100 บาท เสียงสะท้อนจากผใู้ ชง้ าน “พอมีวสั ดใุ หเ้ ลอื กมากข้ึน ไมเ้ ทา้ ก็ท�ำงา่ ยขึ้น แถมประหยดั อกี ด้วย” “ชว่ ยใหม้ ่ันใจเวลาจะไปไหนมาไหน”

ปรับบ้านอยู่สบาย 25 ตดิ ตอ่ หนว่ ยงาน: หน่วยปฏิบัติการวิจยั สภาพแวดล้อม ทเี่ หมาะสมกับผู้สงู อายุและคนพกิ าร จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ผปู้ ระสานงาน: คุณชัยญาสทิ ธ์ิ ศนั สนะวรี กุล โทรศพั ท:์ 089-764-8301 อเี มล: [email protected]

2 6 ค่มู ือการดูแลผ้สู ูงวยั

ปรับบา้ นอยู่สบาย 27 เกา้ อ้ีไมน้ ง่ั ถ่าย “เดินไปเขา้ หอ้ งนำ้� ลำ� บาก... จะทำ� อยา่ งไร?” เกา้ อไ้ี มน้ งั่ ถา่ ยชว่ ยใหผ้ สู้ งู อายสุ ามารถขบั ถา่ ยไดโ้ ดย ไมต่ อ้ งเดนิ ไปเขา้ หอ้ งนำ�้ ซง่ึ จะชว่ ยลดการเกดิ อบุ ตั เิ หตใุ นขณะ เดิน และจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซ้ือเก้าอ้ีนั่งถ่ายซ่ึงมีราคา แพงในท้องตลาด เก้าอ้ีนั่งถ่ายน้ีผลิตเองได้ ราคาถูก มั่นคง แข็งแรง สามารถใช้วัสดุหลากหลายท่ีหาได้ในท้องถิ่น นอกจากน้ียัง เหมาะสมกับการใช้งานเฉพาะตัวของผู้สูงอายุ และไม่ท�ำให้ เกดิ อนั ตรายเหมือนเกา้ อ้ีพลาสติก วธิ กี าร 1. วดั ความสงู ของผู้สงู อายใุ นท่าน่งั (1) จากส้นเท้าถงึ ข้อพบั ขา (2) จากกน้ ถงึ ขอ้ ศอก 2. พิจารณาและด�ำเนินการติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ตาม องคป์ ระกอบหลักดังน้ี (1) สร้างหรือหาเก้าอี้ให้สูงเท่าระดับความสูงจาก ส้นเท้าถงึ ข้อพบั ขาของผูส้ งู อายุ (2) เจาะชอ่ งส�ำหรบั การขับถา่ ย

2 8 คู่มอื การดแู ลผู้สงู วยั ความกว้างของเกา้ อ้นี ั่งถา่ ย พอดกี ับความกว้าง ช่วงตัวของผสู้ ูงอายุ พนักพิง ระยะจากกน้ ถึงขอ้ ศอก ท�ำมุมตัง้ ฉาก (2.3) ระยะจากส้นเทา้ ถงึ ขอ้ พับขาท�ำมมุ ตั้งฉาก (2.1) ถังรองการขบั ถ่าย

ปรบั บา้ นอยู่สบาย 29 (3) ติดต้ังที่พักแขนเพ่ือช่วยพยุงตัวผู้สูงอายุ โดยให้ ทีพ่ ักแขนอยู่ท่ีระดับความสูงวดั จากกน้ ถึงข้อศอก (4)   ตดิ ตง้ั พนกั พงิ เพอื่ ชว่ ยพยงุ ตวั ผสู้ งู อายใุ นขณะนงั่ ข้อควรรู้ พจิ ารณาแนวทางการผลติ โดยค�ำนงึ ถงึ ความสามารถ ของชา่ งท้องถนิ่ และใชว้ สั ดใุ นท้องถ่ิน เชน่ ไม้ ในกรณีท่ีหาไม้ ไดย้ าก ใหใ้ ชว้ สั ดอุ น่ื ๆ แทน เชน่ เหลก็ หรอื อะลมู เิ นยี ม แตต่ อ้ ง ไม่เปน็ อนั ตราย ไม่เป็นสนิม ไมแ่ หลมคม และทนตอ่ การเปยี ก น�ำ้ มาตรฐานการออกแบบ 1. ที่นง่ั ควรสงู จากพื้น 45-50 ซม. 2. ท่ีนั่งต้องมีพนักพิงท่ีมั่นคง แข็งแรง และเหมาะกับ สรรี ะของผู้สูงอายุ 3. ท่ีน่ังต้องมีที่พักแขน ติดตั้งในระดับความสูงพอดีกับ การวางแขนของผู้สงู อายใุ นขณะนัง่

3 0 คู่มือการดูแลผู้สงู วัย พนกั พิง ท่ีพกั แขน 45-50 ซม. หรอื เท่ากับความสูงจากพืน้ ถงึ ขอ้ พบั ขาในทา่ นงั่ เสยี งสะทอ้ นจากผใู้ ชง้ าน “สะดวกมาก ไมต่ อ้ งเดินไกลๆ ตอนกลางคืนก็ไม่ต้องกลัวแลว้ จะย้ายไปหอ้ งไหนก็ได้” “ท�ำง่ายมากเลยครับ”

ปรบั บ้านอยสู่ บาย 31 ตดิ ต่อ หน่วยงาน: หน่วยปฏิบัติการวิจยั สภาพแวดล้อม ทเี่ หมาะสมกับผู้สงู อายุและคนพกิ าร จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ผู้ประสานงาน: คุณชัยญาสทิ ธ์ิ ศนั สนะวรี กุล โทรศพั ท:์ 089-764-8301 อเี มล: [email protected]

3 2 ค่มู ือการดูแลผ้สู ูงวยั

ปรับบ้านอยสู่ บาย 33 สว้ มสไลเดอร์ “คุณยายเปน็ อมั พาต คณุ ตาอ้มุ ไปเขา้ หอ้ งน�ำ้ ไม่ไหว... จะช่วยคุณตาไดอ้ ย่างไร?” ส้วมสไลเดอร์เป็นการพัฒนาผลงานจากกรณีศึกษา ผสู้ งู อายหุ ญงิ ทเี่ ปน็ โรคอมั พาตขาสองขา้ งออ่ นแรง ไมส่ ามารถ เข้าห้องน้�ำเพื่อขับถ่ายได้เอง โดยมีสามีเป็นผู้ดูแล ซ่ึงผู้ดูแล มีปญั หาตาเป็นต้อกระจก แพทย์ห้ามยกของหนัก แต่ปจั จบุ ัน ผดู้ ูแลต้องยกภรรยาข้ึนลงจากชักโครกทกุ วนั จากปัญหาดังกล่าว จึงมีการประดิษฐ์ส้วมสไลเดอร์ ซง่ึ เปน็ อปุ กรณท์ ส่ี ามารถผอ่ นแรงใหแ้ กผ่ ดู้ แู ลได้ เพอื่ ใหภ้ รรยา ท่เี ป็นโรคอมั พาตช่วยเหลือตัวเองไดม้ ากข้นึ โดยใช้ก�ำลงั แขน ท้ังสองข้างถัดตัวเองข้ึนไปนั่งถ่ายบนส้วมท่ีออกแบบให้ทาง ขึ้น-ลงเป็นลักษณะของทางลาด พร้อมกับมีราวจับส�ำหรับดึง ตวั เองขน้ึ ไปนงั่ ถา่ ย สง่ ผลใหผ้ สู้ งู อายเุ กดิ ความภมู ใิ จในตนเอง และเป็นการชว่ ยลดภาระของผูด้ ูแล

3 4 คู่มอื การดแู ลผู้สูงวยั ราวจับสงู 15 ซม. หรือตามที่ถนัด ยาว 12 ส่วน สูง 1 ส่วน หม้อถ่าย/ ภาชนะรอง วิธกี าร 1. ตอ่ โครงแผน่ ไมใ้ หไ้ ดข้ นาดทสี่ ามารถรองรบั ระยะการ หมุนตัวของผสู้ งู อายุ 2. ท�ำทางลาดท่รี ะดบั ความลาดเอยี ง 1:12 คือความสงู 1 ส่วน ความยาว 12 ส่วน 3. เจาะรูแผ่นไม้ให้พอดีกับสรีระในการขับถ่ายของผู้สูง อายุ และบริเวณท่ีเจาะมีวัสดุปิดขอบ เพ่ือลดความ คมและปอ้ งกันการเสียดสี 4. ตดิ ตั้งราวจบั สูงจากพื้นไม้ประมาณ 15 ซม. หน่ึงดา้ น สว่ นอกี ด้านเวน้ ไว้ เพอื่ ให้ผูด้ ูแลเข้าถึงไดส้ ะดวก

ปรับบ้านอย่สู บาย 35 5. วางหม้อถ่าย (Bedpan) หรือภาชนะรองไว้ด้านล่าง โดยเลือกใช้แบบมีฝาปิด เพ่ือง่ายต่อการท�ำความ สะอาด ข้อควรรู้ • ปรับความสูงของส้วมตามสรีระของผู้สูงอายุ แต่ต้องสูง พอใหส้ ามารถระบายอากาศ และตอ้ งสามารถดึงถาดรอง ออกมาท�ำความสะอาดได้ ชอ่ งดงั กลา่ วควรเปน็ บานพบั ไม้ หรือลน้ิ ชกั ไม้ท่มี ดี ้ามจบั เพอื่ สะดวกตอ่ การดึงถาดรอง งบประมาณ 1,200 บาท

3 6 คู่มือการดแู ลผสู้ ูงวยั ความลาด 1:12 พ้นื ทรี่ องรับระยะการหมุนตัว ของผ้สู งู อายุ 1 ส่วน 4.76° 12 สว่ น มาตรฐานการออกแบบ 1. ความชันของทางลาดไม่เกิน 1:12 หรอื 4.76 องศา 2. บรเิ วณทางลาดตดิ ตงั้ ราวจบั ทม่ี ลี กั ษณะกลม แขง็ แรง เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 3-4 ซม. 3. พ้นื ทนี่ ง่ั ถ่ายมีพนื้ ทีก่ ลบั ตัว กว้างอย่างน้อย 90 ซม.

ปรบั บา้ นอยูส่ บาย 37 เสียงสะท้อนจากผูใ้ ช้งาน “ยายสามารถขับถ่ายได้เองทุกคร้งั ทต่ี อ้ งการ” “ตารู้สกึ พอใจ ไมต่ อ้ งปวดหลงั เหมือนแต่กอ่ น” ติดต่อ หน่วยงาน: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ผู้ประสานงาน: คุณคทั รียา รตั นวมิล โทรศัพท:์ 082-399-4588 อีเมล: [email protected]

3 8 ค่มู ือการดูแลผ้สู ูงวยั

ปรับบา้ นอยู่สบาย 39 สว้ มหอ้ ยขา ลดปัญหาอบุ ตั เิ หตแุ ละขอ้ เข่าเสอ่ื ม “ใชส้ ว้ มนง่ั ยองแลว้ ขอ้ เขา่ เส่ือม... จะลดปญั หาน้ีไดอ้ ยา่ งไร?” ปัจจุบัน ในชนบทไทยมีการใช้โถส้วมแบบน่ังยองอยู่ มาก ซึ่งส่งผลให้ผู้สูงอายุมีปัญหาด้านสุขภาพ และเส่ียงต่อ อุบัตเิ หตขุ ณะลุกและนั่งภายในหอ้ งน�ำ้ ผลงานเทคโนโลยชี ุมชน “ส้วมห้อยขา” จัดท�ำขนึ้ เพ่ือ ลดปญั หาดงั กลา่ ว โดยเปลยี่ นโถสว้ มแบบนงั่ ยองเปน็ สว้ มแบบ นงั่ หอ้ ยขา และปรบั ระดบั พน้ื หอ้ งนำ�้ ใหเ้ หมาะสมตอ่ การนงั่ ถา่ ย ของผู้สงู อายุ ในกรณีท่ีเป็นส้วมน่ังราบอยู่แล้ว ให้เลือกใช้การปรับ ระดับพ้ืนเป็นอีกหนึ่งทางเลือก เพื่อให้การนั่งของผู้สูงอายุถูก สขุ ลกั ษณะมากข้นึ วธิ กี าร 1. ประเมินสภาพร่างกาย รวมถึงข้อจ�ำกัดต่างๆ ของ ผสู้ งู อายุในการใช้ห้องน�้ำ 2. ส�ำรวจพน้ื ทแี่ ละประเมนิ สภาพแวดลอ้ มทไ่ี มเ่ หมาะสม กบั ผู้สูงอายุ

4 0 คมู่ ือการดแู ลผูส้ งู วยั 3. สรปุ ปญั หาและรวบรวมความคดิ เหน็ จากผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง โดยใช้ความรสู้ หวิทยาการ เพ่อื หาแนวทางการแก้ไข ปญั หา 4. น�ำแบบหอ้ งนำ้� ทปี่ รบั สภาพแวดลอ้ มแลว้ ใหผ้ เู้ ชยี่ วชาญ พจิ ารณา 5. พิจารณาแนวทางการกอ่ สรา้ ง ได้แก่ วธิ ีการก่อสร้าง การหาช่างทอ้ งถิ่น และการหาวสั ดุทอ้ งถิน่ 6. วดั ระดบั ความสงู ของผสู้ งู อายใุ นทา่ นงั่ หอ้ ยขา โดยวดั จากระดับพื้นถึงใตข้ อ้ พบั เขา่ 7. วัดระดับความสูงของโถส้วมเดิม โดยวัดจากระดับ พื้นถึงขอบโถ 8. ปรบั ระดบั พื้นใหพ้ อดกี บั ความสงู จากพ้ืนถึงใตข้ ้อพับ เข่าเมื่อผู้สูงอายุนั่งห้อยขา (ข้อ 6) ความสูงท่ีปรับ ใหมน่ ี้จะเทา่ กบั ความตา่ งของระยะในขอ้ 6 และขอ้ 7 9. เมอื่ กอ่ สรา้ งแลว้ เสร็จ ทดลองใช้งาน และประเมินผล หลังการใช้งาน ขอ้ ควรรู้ • เมื่อเปล่ียนจากส้วมน่ังยองเป็นส้วมนั่งห้อยขา ผู้สูงอายุ จะถา่ ยไมอ่ อกในระยะแรก ควรฝึกใหช้ นิ เพือ่ ปรับเปลย่ี น พฤตกิ รรม

ปรบั บ้านอยู่สบาย 41 ระดบั พน้ื ท่ยี กแลว้ ระดบั พื้นเดิม ผงั พ้นื ระดบั พื้นทีป่ รับ = ความต่างระหว่าง (1) ความสูงจากพื้น ถึงใตข้ อ้ พับเข่าเม่อื ผ้สู ูงอายนุ ั่ง และ (2) ความสูงระหว่าง พน้ื หอ้ งน้�ำเดมิ และขอบโถ มาตรฐานการออกแบบ 1. พื้นท่ีว่างภายในห้องน้�ำมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อย กวา่ 1.50 ม. 2. โถสว้ มชนดิ นั่งราบ สูง 45-50 ซม. ระยะก่งึ กลางของ โถส้วมหา่ งจากผนังดา้ นขา้ ง 45-50 ซม.

4 2 ค่มู ือการดูแลผสู้ ูงวัย 3. ตดิ ตั้งราวจบั แนวนอน สงู จากพื้น 60-70 ซม. ยืน่ ลำ้� ออกมาจากด้านหนา้ โถสว้ ม 25-30 ซม. มีราวจับแนว ดง่ิ ตอ่ ขึน้ ไปอย่างนอ้ ย 60 ซม. 4. ตดิ ตั้งราวจบั แบบพับเกบ็ ได้ใกล้โถสว้ ม ติดต้ังในแนว ราบด้านที่ไม่ชิดผนัง มีระบบล็อกที่ปลดได้ง่าย ห่าง จากขอบโถสว้ ม 15-20 ซม. ยาวไม่นอ้ ยกวา่ 55 ซม. 5. ราวจับมีลักษณะกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 ซม. (เลือกวัสดใุ หเ้ หมาะสมกับท้องถิ่น) เสยี งสะท้อนจากผู้ใชง้ าน “กล่มุ ประชาชนทัว่ ไปมีความพึงพอใจ คิดเปน็ รอ้ ยละ 97.33”

ปรับบ้านอยู่สบาย 43 ตดิ ตอ่ หนว่ ยงาน: โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพ ต�ำบลนาเสยี ว ผู้ประสานงาน: คุณเทวา จันทรม์ นตรี โทรศพั ท:์ 081-876-6281 อีเมล: [email protected]

4 4 ค่มู ือการดูแลผ้สู ูงวยั

ปรบั บ้านอย่สู บาย 45 โตะ๊ สนามผสานสมั พนั ธ์ “ผู้สูงอายนุ ่งั รถเข็นเขา้ มานัง่ เทียบโต๊ะสนาม ร่วมกับลูกหลานไม่ได.้ .. จะชว่ ยผู้สูงอายุไดอ้ ย่างไร?” โต๊ะสนามทั่วไปนั้นไม่สอดคล้องกับการใช้งานของ ผู้สูงอายุท่ีน่ังรถเข็น ผู้ออกแบบจึงคิดประดิษฐ์และปรับปรุง โต๊ะสนาม เพ่ือให้ผู้สูงอายุที่นั่งรถเข็นสามารถร่วมโต๊ะและ พูดคยุ กบั สมาชกิ ในบา้ น การไดน้ งั่ รว่ มโตะ๊ เดยี วกนั สามารถสรา้ งความสมั พนั ธ์ ท่ีดีกับคนในครอบครัว หากโต๊ะสนามน้ีมีการผลิตใช้ในแต่ละ ชมุ ชน จะน�ำไปสกู่ ารสรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี กี บั ชมุ ชนอกี ตอ่ หนง่ึ วธิ กี าร 1. เตรยี มแผน่ ไม้ขนาดความกวา้ งเท่ากับโต๊ะเดมิ ความ ยาวไม่นอ้ ยกวา่ 40-50 ซม. 2. ติดตงั้ บานพบั บรเิ วณจุดหมุนของแผน่ ไมก้ ับโตะ๊ เดิม 3. ติดต้ังตัวค�้ำยันเพ่ือรับน้�ำหนักแผ่นไม้ โดยด้านที่ติด ใต้แผน่ ไมใ้ ห้ยดึ ด้วยบานพบั สว่ นดา้ นที่ตดิ กับโตะ๊ ให้ บากไมใ้ หเ้ ข้ากับฐานเดมิ

4 6 คมู่ ือการดูแลผูส้ ูงวยั ความกวา้ งเดมิ ความยาวส่วนตอ่ 40-50 ซม. 80 ซม. 40-50 ซม. ≥ 40 ซม. ≤ 80 ซม. 70-75 ซม.

ปรับบา้ นอยสู่ บาย 47 ขอ้ ควรรู้ • ควรระวงั เศษไมบ้ ริเวณสว่ นที่ต่อยน่ื • ส่วนไม้ท่ีต่อยื่นต้องมีความแข็งแรง สามารถรับน้�ำหนัก และแรงกดทบั ด้านบนได้ มาตรฐานการออกแบบ 1. ที่น่ังส�ำหรับผู้สูงอายุควรจัดวางให้อยู่ในต�ำแหน่งท่ี ผ้สู ูงอายุเขา้ ถึงไดส้ ะดวก ไม่มสี ิ่งกีดขวาง 2. โตะ๊ มคี วามสงู ไม่เกิน 80 ซม. 3. พื้นที่ว่างใต้โต๊ะ 70-75 ซม. เพียงพอส�ำหรับรถเข็น คนพกิ าร 4. ความยาวของโต๊ะส่วนต่อไมน่ ้อยกวา่ 40 ซม. งบประมาณ 500-1,500 บาท เสียงสะทอ้ นจากผู้ใชง้ าน “ไดอ้ อกมาน่งั เล่น พดู คุยกบั หลานๆ รสู้ กึ เป็นสว่ นหน่ึงในครอบครัว” “ไดผ้ อ่ นคลายกบั บรรยากาศภายนอกบา้ น ไมอ่ ดุ อ”ู้

4 8 คมู่ ือการดแู ลผสู้ ูงวัย ตดิ ตอ่ หนว่ ยงาน: สาขาวิชาภมู สิ ถาปัตยกรรม คณะสถาปตั ยกรรมศาสตรแ์ ละการผงั เมอื ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผปู้ ระสานงาน: คณุ ปริเยศน์ เยาวศรี โทรศัพท:์ 099-159-9222 อเี มล: [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook