Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืออาหารตามวัยของทารกและเด็กเล็ก

คู่มืออาหารตามวัยของทารกและเด็กเล็ก

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-03-03 01:04:11

Description: หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ค่มู อื อาหารตามวยั สำหรับทารกและเดก็ เลก็

คูมืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเดก็ เลก็ ISBN 978-611-11-0092-1 จัดทำโดย โครงการ “การจดั ทำข้อปฏบิ ตั ิการใหอ้ าหาร เพื่อสขุ ภาพที่ดขี องทารก และเด็กวยั กอนเรียน” บรรณาธกิ าร อุมาพร สทุ ศั นว์ รวุฒิ สภุ าพรรณ ตันตราชีวธร สมโชค คุณสนอง สนับสนุนโครงการ สำนักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) พมิ พครัง้ ท่ี 1 พ.ศ. 2552 จำนวนหนา 62 หนา้ จำนวนพมิ พ 2,000 เลม Graphic ธญั ญา มจั ฉาธคิ ุณ, สริ ัญญา วศิ าลศักดิ์ พิมพท ี่ บรษิ ัท บยี อนด์ เอน็ เทอรไ์ พรซ์ จำกัด

การสำรวจพฤติกรรมการใหอาหารทารกในประเทศไทย พบวายังมีปญหา การใหอ าหารตามวยั เชน เรม่ิ ใหเ รว็ เกนิ ไป สว นประกอบไมเ หมาะสม สารอาหารไมเ พยี งพอ เปนตน ซ่ึงทำใหพบปญหาน้ำหนักและความยาวต่ำกวาเกณฑเพิ่มข้ึนเม่ือทารกอายุมาก กวา 6 เดือน รวมทั้งพบปญหาอวน การขาดธาตุเหล็ก การขาดวิตามิน... หนังสือ “คูมือ อาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก” เลมนี้จะเปนคูมือของแพทย พยาบาล โภชนากร และบุคลากรดานสาธารณสุข ในการแนะนำมารดาและผูดูแลเด็กเก่ียวกับการ ใหอาหารตามวัยอยางเหมาะสม และสอดคลองกับ “ขอปฏิบัติการใหอาหารเพื่อสุขภาพ ที่ดขี องทารกและเด็กเล็ก” คูม่ อื อาหารตามวยั สำหรบั ทารกและเดก็ เล็ก

1 อาหารตามวัย สำหรบั ทารกและเดก็ เลก็ อาหารตามวัยสำหรับทารก (อาหารเสริมตามวัย อาหารทารก complementary food) หมายถึง อาหารอ่ืนที่ทารกได้รับเปนมื้อนอกเหนือจากนมแม่ หรือนมผสม เพ่ือให้ทารกไดร้ บั สารอาหารครบถ้วน และพอเพียงสำหรับการเจริญเติบโต ช่วยให้ทารก ปรับตัวจากการกินอาหารเหลวเปนอาหารก่ึงแข็ง ก่ึงเหลว (semisolid food) และอาหารแบบผู้ใหญ่ เพ่ือใหม้ พี ัฒนาการในการกินทเ่ี หมาะสมต่อไป

ความสำคญั และประโยชน ์ 1 ของการให้อาหารตามวยั สำหรบั ทารก ใหส้ ารอาหารแกท่ ารกเพ่ิมเติมจากนมแม่ หรอ� นมผสมในกรณที แ่ี ม่ไมส่ ามารถให้ลกู กนิ นมแม่ได้ ในช่วงอาย ุ 6 เดือนแรก ทารกจะได้รับสารอาหารพอเพียงจากนมแม่ที่มีสุขภาพ ดีหรือนมดัดแปลงสำหรับทารกในกรณีท่ีไม่สามารถให้นมแม่ได้ ถ้าแม่มีสุขภาพดีและ สามารถให้นมแม่แก่ลูกได้อย่างเต็มที่ และทารกเติบโตได้ตามเกณฑ์ นมแม่อย่างเดียวจะ พอเพียงต่อการเติบโตของลูกจนถึงอายุประมาณ 6 เดือน หลังจากน้ันทารกจำเป็นต้องได้ รับพลังงานและสารอาหารบางชนิดเพิ่มเติมจากอาหารตามวัยสำหรับทารก เช่น โปรตีน เหลก็ แคลเซยี ม สังกะสี ไอโอดนี วิตามนิ เอ เปน็ ตน้ เพ่ือใหเ้ จรญิ เติบโตตามปกต1ิ ,2 ในกรณีที่การเจริญเติบโตของทารกมีแนวโน้มลดลง (น้ำหนักตัวเพ่ิมน้อยหรือไม่ เพ่ิม) หรือไม่สามารถให้นมแม่ได้อย่างเต็มท ่ี อาจให้อาหารตามวัยแก่ทารกก่อนอายุ 6 เดอื นได้ แต่ไม่กอ่ นอาย ุ 4 เดอื น และไม่ช้ากว่าอายุ 6 เดือน3-5

2 ช่วยพฒั นาหน้าท่ีเก่ยี วกับการเคย้ี ว และกลืนอาหารซง่ึ มิใช่ของเหลว การให้อาหารตามวัย สำหรับทารก ช่วยให้ทารกปรับตัว เข้ากับการรับประทานอาหารก่ึง แข็งก่ึงเหลว (semisolid food) ให้ คุ้นเคยกับรสชาติและลักษณะ อาหารท่ีหลากหลาย เพ่ือพัฒนาไป สู่การรับประทานอาหารแบบผู้ใหญ่ (solid food) การเริ่มให้อาหารกึ่ง แข็งก่ึงเหลวช้าเกินไปอาจทำให้ ทารกปฏิเสธอาหารแบบผูใ้ หญ่ได ้ 3 เสรมิ สรา้ งนสิ ัยและพฤตกิ รรมการกนิ ที่ดขี องเดก็ ซ่ึงจะช่วยป้องกันโรคท่ีเกิดจากพฤติกรรมการกิน ทั้งในระยะสั้นและในระยะยาว เชน่ โรคขาดโปรตนี และพลังงาน การขาดธาตุเหล็ก โรคอว้ น เบาหวาน ไขมนั ในเลือดสูง โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และฟันผุ เปน็ ตน้ การให้อาหารตามวัยสำหรับทารก ที่มีคุณภาพและปริมาณเหมาะสมกับวัยเป็น สงิ่ จำเป็นตอ่ สุขภาพของทารก ซ่งึ จะมีผลตอ่ รา่ งกายและสติปัญญาในระยะยาวได้ ปัญหา ของการใหอ้ าหารตามวยั ท่ีไม่เหมาะสมนอกจากเกดิ จากสาเหตทุ างเศรษฐกจิ แลว้ ยงั เกดิ จาก ความเชอื่ ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง ความเขา้ ใจผดิ และความไม่รู้ของครอบครัวและผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับเด็ก ซงึ่ ควรไดร้ บั การแกไ้ ขเพอื่ ลดอบุ ตั กิ ารณข์ องโรคขาดสารอาหาร โรคอว้ นและภาวะแทรกซอ้ น ต่างๆ ในอนาคต

4 แนวทางปฏิบัต ิ การให้อาหารตามวัยสำหรับทารก การใหอ้ าหารตามวัยสำหรบั ทารก อย่างเหมาะสม มหี ลักการดังนี้ สมวัย เพียงพอ ปลอดภยั เหมาะสมกบั ความหวิ และอมิ่ และพฒั นาการตามวัยของทารก6

1 5 สมวยั ควรเร่ิมให้อาหารเม่ือทารกมีวัยเหมาะสม คือเม่ือนมแม่อย่างเดียวไม่พอเพียง ต่อการเจริญเติบโตของทารก และทารกมีความพร้อมท่ีจะรับอาหารอื่นนอกจากนมได ้ คือ เมื่อระบบทางเดินอาหาร ไต ระบบประสาทและกล้ามเน้ือได้พัฒนาจนสามารถทำหน้าท่ี พรอ้ มแลว้ 1 ความพร้อมของระบบทางเดินอาหาร ทารกแรกเกดิ จะม ี extrusion reflex โดยทารกจะห่อปากเอาลน้ิ ดุนอาหารออกมา เมื่อได้รับอาหารกง่ึ แขง็ ก่งึ เหลว เม่อื ทารกอายุ 4-6 เดอื น extrusion reflex ของลิ้นจะหาย ไป ทารกจะสามารถใช้ลิน้ ตวัดอาหารลงสู่ลำคอ และกลืนอาหารก่ึงแข็งก่ึงเหลวได ้ นำ้ ย่อยที่สำคัญในการย่อยแปง้ คอื amylase (อะมิเลส) จากตับอ่อน มรี ะดับต่ำ ในทารกแรกเกิดจนกระท่งั อายุประมาณ 6 เดือน นอกจากน ้ี นำ้ ยอ่ ย lipase (ไลเปส) จาก ตบั ออ่ น เกลอื นำ้ ด ี (bile salt) และนำ้ ยอ่ ยในกระเพาะอาหารของทารกยงั มปี รมิ าณนอ้ ยมาก เมอ่ื เทียบกับผู้ใหญ่ เมื่อทารกอายปุ ระมาณ 4-5 เดอื น กระเพาะอาหารจะหลงั่ กรดและน้ำ ยอ่ ย pepsin (เปปซนิ ) มากขน้ึ ตบั ออ่ นจะหลง่ั นำ้ ยอ่ ย amylase และ lipase เพมิ่ ขน้ึ ดว้ ย7,8

นอกจากความพรอ้ มทางดา้ นการกลนื การยอ่ ยและดดู ซมึ สารอาหารแลว้ การใหอ้ าหาร อน่ื นอกจากนมแมแ่ กท่ ารกอายนุ อ้ ย ยงั เสยี่ งตอ่ การเกดิ โรคภมู แิ พเ้ พราะโปรตนี และสารโมเลกลุ ใหญส่ ามารถดูดซมึ ผ่านผนังลำไส้เลก็ ของทารก ซึง่ เปน็ ปัจจยั หน่ึงทีท่ ำใหเ้ กดิ โรคภมู ิแพไ้ ด้9 ความพร้อมของไต ควรเร่ิมอาหารตามวัยสำหรับทารก เม่ือไตสามารถขับถ่ายของเสียและทำให้ ปสั สาวะเขม้ ขน้ ไดม้ ากพอ เพอ่ื ใหส้ ามารถขบั ถา่ ย renal solute load ไดแ้ ก่ ยเู รยี และโซเดยี ม ได้ดี ทารกแรกเกิดมีอัตราการกรองของไต (glomerular filtration rate, GFR) ประมาณ ร้อยละ 15 ของผู้ใหญ่ และเพ่ิมขึ้นเป็นลำดับคือ ร้อยละ 60 เมื่ออายุ 6 เดือน และ เท่ากับผู้ใหญ่เมื่ออายุ 2 ปี ความสามารถในการทำใหป้ สั สาวะเขม้ ขน้ ของทารกแรกเกดิ มเี พยี งรอ้ ยละ 50-60 ของ ผู้ใหญ่ เม่ืออายุ 2-3 เดือน สามารถทำให้ปัสสาวะเข้มข้นได้ 1,000 มิลลิออสโมล/ลิตร และเมอ่ื อายปุ ระมาณ 1 ปจี ะได้ 1,100 มลิ ลอิ อสโมล/ลติ ร เมอื่ อายุ 2 ปี สามารถทำปสั สาวะ ให้เข้มข้นได้สูงสุดถึง 1,400 มิลลิออสโมล/ลิตร เท่าในผู้ใหญ่ ไตของทารกแรกเกิดยังไม่ สามารถขับถ่าย ยูเรียและฟอสฟอรัสทางปัสสาวะได้ดี ดังนั้นถ้าทารกได้รับอาหารที่มี โปรตีนสงู มากเกนิ ไป จะทำใหเ้ กิดภาวะยเู รียในเลอื ดสูง (uremia) และเลอื ดเปน็ กรดได1้ 0 ความพรอ้ มของระบบประสาทและกล้ามเนอื้ ทารกอายุ 4-6 เดือน มีความพร้อมในการกินอาหารกึ่งแข็งก่ึงเหลว ทารก สามารถควบคุมการทรงตัวของศีรษะและลำตัวได้ดี เร่ิมใช้มอื คว้าของเข้าปากได้ extrusion reflex ของลนิ้ ลดลง ทารกแสดงกริ ยิ ายอมรบั อาหารเม่อื หวิ หรอื ปฏเิ สธอาหารเม่อื อ่ิมได้ จงึ ช่วยป้องกันการใหอ้ าหารมากเกินไปซ่ึงจะทำให้เกดิ โรคอ้วน เมื่อพิจารณาความพร้อมของระบบต่างๆ แล้ว จึงแนะนำให้เร่ิมอาหารตามวัย สำหรบั ทารก เมอื่ ทารกอายปุ ระมาณ 6 เดือน เพ่อื ฝกึ ใหท้ ารกร้จู ักอาหารอืน่ นอกจากนม และ ฝึกทักษะในการกลืนอาหาร ซึ่งจะช่วยให้ทารกกินอาหารทดแทนนมได้ 1 มื้อเม่ืออายุครบ 6 เดอื นแต่ในกรณีที่การเจริญเติบโตของทารกมีแนวโน้มลดลง (น้ำหนักตัวเพ่ิมน้อยหรือไม่เพ่ิม) หรอื ไมส่ ามารถให้นมแม่ได้อย่างเตม็ ที่ อาจให้อาหารตามวัยสำหรับทารกกอ่ นอายุ 6 เดอื นได้ แตไ่ ม่ก่อนอายุ 4 เดอื น และใหน้ มแมต่ ่อเนอ่ื งถงึ อายุ 2 ปี

2 7 เพยี งพอ ใหอ้ าหารท่มี พี ลังงานและสารอาหารเพยี งพอกบั ความต้องการของทารกในแต่ละวนั 2.1 พลังงานเพยี งพอ ตารางที ่ 1 : ความต้องการพลงั งานตอ่ วันจากอาหารตามวัยสำหรับทารก และอาหาร สำหรับเดก็ เลก็ ในทารกและเด็กกลมุ่ อายตุ ่างๆ เม่อื ได้รับนมแมป่ ริมาณปานกลาง อายุ ความขตออ้ งงทกาารรกพ11ล,12งั งาน พลังงานจากนมแม1 พลองั งาา(หกนาิโจรลาสแกำคอหลารอหบั ราเ/ีรดวตัน็กาเ)ลมก็วัย / (เดือน) (กิโลแคลอรี/วัน) (กิโลแคลอร/ี วนั ) 0 0-2 512 595* 0 3-5 575 634* 219 6-8 632 413 323 9-11 702 379 451 12-17 797 346 556 18-23 902 346 *นมแมปริมาณมาก (high breast milk intake)

จากการรวบรวมข้อมูลการศึกษาต่างๆ จากต่างประเทศและในประเทศไทย คณะทำงานฯ คำนวณคา่ ความตอ้ งการพลงั งานตอ่ วนั ของทารก โดยใชน้ ำ้ หนกั ตวั ทารกตาม เกณฑอ์ า้ งองิ ขององคก์ ารอนามยั โลก ค.ศ. 2006 (WHO 2006)11 และความตอ้ งการพลงั งานตาม คำแนะนำของ FAO/WHO/UNU12 ส่วนพลังงานที่ได้รับจากนมแม่เลือกใช้ค่าจากรายงาน ขององค์การอนามัยโลกซ่ึงได้จากการรวบรวมผลการศึกษาปริมาณและพลังงานของนมแม่ ในประเทศท่ีกำลังพัฒนา1 เม่ือนำมาลบกันจะได้ปริมาณพลังงานที่ต้องการจากอาหารเสริม ตามวยั สำหรบั ทารกและเด็กเล็กตามกลมุ่ อายตุ า่ งๆ (ตารางที่ 1) ปจั จัยทมี่ ผี ลตอ่ การได้รับพลงั งานจากอาหารตามวัยสำหรบั ทารก1 1. ตัวทารกเอง ได้แก่ ความต้องการของทารกแตล่ ะวัย แตล่ ะคน ความเจบ็ ปว่ ย การขาดสารอาหารบางชนิด เชน่ สงั กะสี มผี ลตอ่ ความอยากอาหารได ้ 2. ปัจจัยด้านอาหาร ได้แก่ ปริมาณอาหาร ความเข้มข้นของพลังงาน (energy density) จำนวนมื้อท่ีป้อน ความหนืด (viscosity) ความหยาบละเอียด (texture) กลิ่น รสชาติ และความหลากหลายของอาหาร 3. ปจั จยั ดา้ นผเู้ ลย้ี งดู ไดแ้ ก่ ความสมั พนั ธข์ องผเู้ ลยี้ งกบั เดก็ พฤตกิ รรมและความ เอาใจใส่ในการป้อนอาหาร อย่างไรก็ตามปริมาณอาหารนี้ได้มาจากการคำนวณจากทารกที่ได้รับนมแม่ ปริมาณปานกลาง (average breast milk intake) ดังน้ันถ้าทารกได้รับนมแม่ปริมาณมาก หรอื นอ้ ยกวา่ คา่ เฉลย่ี ปรมิ าณอาหารทท่ี ารกควรไดร้ บั กจ็ ะเปลยี่ นแปลงไป ผดู้ แู ลจงึ ควรปรับ ปริมาณอาหารตามวัยใหส้ อดคลอ้ งกบั ความหวิ และอ่มิ ของทารก (responsive feeding)6,13 ความเขม้ ข้นของพลังงาน (energy density) และจำนวนมอื้ ท่ปี ้อน จำนวนมื้อของอาหารตามวัยขึ้นกับความเข้มข้นของพลังงาน (energy density) และปริมาณอาหารทที่ ารกกินได้ในแตล่ ะมอื้ โดยเฉลยี่ ทารกทก่ี ินนมแม่ควรไดร้ ับอาหารตาม วัย 1-2 ม้ือเมื่ออายุ 6-8 เดือน และเพ่ิมจำนวนมื้อเป็น 2-3 มื้อเมื่ออายุ 9-11 เดือนและ 3 มื้อเม่ืออายุ 12 เดือนข้ึนไป ถ้าทารกได้รับอาหารตามวัยที่มีความเข้มข้นของพลังงานต่ำ หรือทารกกินอาหารแต่ละมอ้ื ไดน้ อ้ ยกวา่ ค่าเฉลีย่ ผ้ดู แู ลควรเพิม่ จำนวนม้ืออาหารแกท่ ารก

กระเพาะอาหารของทารกมีความจุอย่างน้อย 30 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก.1,14 เพื่อให้ทารกได้รับพลังงานจากอาหารตามวัยสำหรับทารกเพียงพอกับความต้องการของ ร่างกาย โดยมีความจุของกระเพาะอาหารจำกดั ทารกอายุ 6-8 เดอื นควรไดร้ บั อาหารทม่ี ี ความเขม้ ขน้ ของพลงั งาน 0.92 กโิ ลแคลอรี/กรมั วันละ 1 ม้อื หรือ 0.46 กิโลแคลอร/ี กรัม วันละ 2 ม้อื ทารกอายุ 9-11 เดือนควรได้รบั อาหารท่มี คี วามเขม้ ข้นของพลงั งาน 0.61 กโิ ล แคลอรี/กรัม วันละ 2 ม้ือ หรือ 0.41 กิโลแคลอรี/กรัม วันละ 3 มื้อ ทารกอายุ 12-17 เดือนควรได้รับอาหารที่มีความเข้มข้นของพลังงาน 0.51 กิโลแคลอรี/กรัม วันละ 3 มื้อ ทารกอายุ 18-23 เดือนควรได้รับอาหารท่ีมีความเข้มข้นของพลังงาน 0.56 กิโลแคลอรี/ กรมั วนั ละ 3 ม้ือ (ตารางที่ 2 และ 3) การเพมิ่ จำนวนมอื้ ของอาหารชว่ ยเพมิ่ พลงั งานใหแ้ กท่ ารกได้ โดยเฉพาะถา้ อาหารที่ ให้มีความเขม้ ขน้ ของพลังงาน <1.03 กิโลแคลอร/ี กรัม1 ตารางที่ 2 : ความจุของกระเพาะอาหารของทารกอายุ 6-23 เดือน (เอดาอื ยนุ ) น้ำหนกั เ(ฉกกล.ยี่ )1ข1องทารก กรคะวเพ(ากมาระจมั อุข)าอหงาร พลังงา(นกิโทลตี่ แ้อคงลกอารรจ/ี วาันก)อาหาร 6-8 7.9 237 219 9-11 8.8 264 323 12-17 9.8 294 451 18-23 11.1 333 556 *เกณฑอ์ ้างองิ ขององค์การอนามัยโลก ค.ศ. 2006 ตารางท่ี 3 : ความเข้มข้นของพลังงานของอาหารตามวัยสำหรับทารก (กิโลแคลอรี/กรมั ) สำหรับทารกอายุ 6 -23 เดือนที่ได้รบั นมแม่ปริมาณปานกลาง และไดร้ ับอาหารวันละ 1-2 มือ้ และ 2-3 ม้อื จำนวน ความเข้มขน้ ของพลงั งาน (กิโลแคลอร/ี กรมั ) ตามอายขุ องเด็ก มอ้ื /วนั 6-8 เดอื น 9-11 เดอื น 12-17 เดือน 18-23 เดือน 1 0.92 - - - 2 0.46 3 0.61 0.77 0.83 - 0.41 0.51 0.56

10 2.2 ความหนดื และความหยาบละเอียดของอาหาร ความหนดื (viscosity) การลดความหนดื ของอาหารชว่ ยเพม่ิ ปรมิ าณอาหารทก่ี นิ ได้ เมอ่ื อาหารนนั้ มคี วาม เขม้ ขน้ ของพลงั งาน 1.0 กโิ ลแคลอร/ี กรมั แตถ่ า้ อาหารมคี วามเขม้ ขน้ ของพลงั งาน 1.0 กิโลแคลอร/ี กรมั อย่แู ล้ว การลดความหนดื ของอาหารจะไมม่ ปี ระโยชน์1 ในต่างประเทศมี การเติมเอนไซม์อะมิเลสลงในอาหาร (amylase-treated food) เพื่อลดความหนืด ในประเทศไทยมกี ารใชข้ า้ วทงั้ เมลด็ ทำใหง้ อก ตากแดด แลว้ บดปนกบั ขา้ วใหเ้ ดก็ กนิ หรอื เตมิ เอนไซมอ์ ะมเิ ลส การทำอาหารท่ีใสเกินไป เช่น โจ๊กหรือซุปที่ใสมาก อาจทำให้ทารกได้รับ พลังงานและสารอาหารไมเ่ พยี งพอ แกไ้ ขโดยทำอาหารใหข้ น้ ขน้ึ เพมิ่ จำนวนมอ้ื ทป่ี อ้ น และ เตมิ นำ้ มนั ลงในอาหาร แตก่ ารเพม่ิ พลงั งานโดยการเตมิ นำ้ มนั ลงในอาหารอาจทำใหส้ ดั สว่ นของ โปรตนี และสารอาหารอน่ื ๆ ต่อพลงั งานในอาหารลดลง1,13

11 ความหยาบละเอียด (texture) ค่อยๆ เพิ่มความหยาบของอาหาร อาหารที่ให้ทารกอายุ 6 เดือนควรมีเน้ือค่อน ข้างละเอียด โดยใช้วิธีการบด เพื่อให้กลืนได้ ง่าย ไม่ควรให้อาหารป่ันเพราะทารกจะไม่ได้ ฝกทักษะการเคี้ยวและกลืน เม่ือทารก สามารถเค้ียวและกลืนอาหารได้ดีจึงค่อยเพ่ิม ความหยาบของอาหาร ไม่จำเป็นต้องบด ละเอียดมาก เช่น ข้าวต้มที่มีเนื้อสัตว์ช้ิน เล็กๆ เพื่อให้ทารกมีความคุ้นเคยกับอาหารที่ เป็นช้ินเล็กๆ ทารกอาย ุ 12 เดือนข้ึนไป สามารถรับประทานอาหารเหมือนผู้ใหญ่ได้ โดยเลือกท่ีเคี้ยวง่าย นิ่ม ชิ้นไม่ใหญ่เกินไป และรสไมจ่ ัด เมอ่ื อายุ 2 ปี ขึ้นไปจะสามารถ รบั ประทานอาหารเชน่ เดยี วกนั กับผ้ใู หญ่ได1้

1 2.3 สารอาหารครบถ้วนเพียงพอและไม่มีสารที่อันตรายต่อ สขุ ภาพเกินเกณฑ ์ อาหารตามวัยสำหรับทารก ควรมีสารอาหารครบถ้วนท้ัง 5 หมู ่ ได้แก ่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แร่ธาต ุ และวิตามิน ปริมาณเพียงพอกับความต้องการของ ทารก (ตารางที ่ 4, 5, 6) ซึ่งไดจ้ ากการกนิ อาหารทห่ี ลากหลาย ได้แก่ ขา้ ว แปง้ เนอ้ื สัตว์ ไข่ ถ่ัว นำ้ มัน ผกั และผลไมเ้ ป็นประจำทกุ วนั ตารางท่ี 4 : ปรมิ าณโปรตนี และสดั ส่วนของพลงั งานจากคาร์โบไฮเดรตและไขมนั ท่ี ควรได้รบั จากอาหารตามวยั สำหรับทารกตามกลมุ่ อายุ (เอดาือยนุ ) โปรตีน (กรมั /วัน) ไขมนั คารโ์ บไฮเดรต 6-8 (ร้อยละของ 9-11 ควขาอมงทตอ้ารงกก*าร นโมปใแรนตมีน* * อาโหปจารารตกเสีนรมิ (รอ้ ยละของ พลังงานทงั้ หมด) 15 12-17 พลงั งานท้งั หมด)13 18-23 45 12.5 7.1 5.4 30-45 45 14.4 6.5 7.9 30-45 45-55 14.0 5.8 8.2 30-45 45-55 14.3 5.8 8.5 30-45 * ความต้องการโปรตนี ต่อวันของทารก คำนวณจากค่าความตอ้ งการโปรตนี ต่อนำ้ หนกั ตวั 1 กก./วนั ตามข้อแนะนำของ องคก์ ารอนามยั โลก ค.ศ. 200716 โดยใชน้ ำ้ หนักตัวทารกตามเกณฑ์อา้ งอิงขององคก์ ารอนามัยโลก ค.ศ. 200611 ** คำนวณโดยใช้ปริมาณนมแม่ในประเทศที่กำลังพัฒนาจากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก คือ อาย ุ 6-8 เดือน 674 กรัม/วัน อาย ุ 9-11 เดือน 616 กรัม/วัน อาย ุ 12-23 เดือน 549 กรัม/วัน ปริมาณเฉล่ียของโปรตีน คาร์โบไฮเดรต (แลคโตส) และไขมันในนมแม ่ เทา่ กบั 10.5±2.0, 72±2.5 และ 39±4.0 กรัม/ลติ ร ตามลำดับ1

13 ตารางที่ 5 : ปรมิ าณวติ ามินและแรธ่ าตทุ ่ีทารกตอ้ งการตอ่ วัน ตามกลุ่มอาย1ุ 7 สารอาหาร / วนั 6-11 เดือน 12-23 เดือน วิตามนิ เอ (มคก.) 400 400 วติ ามินดี (มคก.) 5 5 วิตามินอี (มก.) 5 6 วติ ามนิ เค (มคก.) 2.5 30 วิตามนิ ซี (มก.) 35 40 วิตามนิ บี 1 (มก.) 0.3 0.5 วิตามนิ บี 2 (มก.) 0.4 0.5 ไนอะซนิ (มก.) 4 6 วติ ามินบี 6 (มก.) 0.3 0.5 โฟเลท (มคก.) 80 150 วติ ามินบี 12 (มคก.) 0.5 0.9 กรดแพนโทเธนกิ (มก.) 1.8 2 แคลเซยี ม (มก.) 270 500 ฟอสฟอรสั (มก.) 275 460 แมกนีเซยี ม (มก.) 30 60 ฟลอู อไรด์ (มก.) 0.4 0.6 ไอโอดีน (มคก.) 90 90 เหล็ก (มก.) 9.3 5.8 ทองแดง (มคก.) 220 340 สงั กะส ี (มก.) 3 2 ซีลเี นยี ม (มคก.) 20 20 มงั กานีส (มก.) 0.6 1.2

14 ตารางที่ 6 : ปรมิ าณวติ ามนิ และแรธ่ าตทุ ่ที ารกต้องการต่อวันจากอาหารตามวยั สำหรับทารกตามกลุ่มอาย*ุ สารอาหาร / วนั 6-8 เดือน 9-11 เดอื น 12-23 เดือน 92.0 125.5 วิตามินเอ (มคก.) 63.0 4.7 4.7 วิตามนิ ดี (มคก.) 4.6 3.6 4.7 วิตามินอี (มก.) 3.4 1.2 28.8 วิตามินเค (มคก.) 1.1 10.4 18.0 วิตามนิ ซี (มก.) 8.0 0.2 0.4 วติ ามนิ บี 1 (มก.) 0.2 0.2 0.3 วิตามินบี 2 (มก.) 0.2 3.1 5.2 ไนอะซิน (มก.) 3.0 0.2 0.4 วติ ามนิ บี 6 (มก.) 0.2 27.6 103.3 โฟเลท (มคก.) 22.7 0 0.4 วติ ามนิ บี 12 (มคก.) 0 0.7 1.0 กรดแพนโทเธนกิ (มก.) 0.6 97.5 346.3 แคลเซยี ม (มก.) 81.3 188.8 383.1 ฟอสฟอรสั (มก.) 180.6 8.4 40.8 แมกนเี ซียม (มก.) 6.4 0.4 0.6 ฟลูออไรด์ (มก.) 0.4 22.2 29.6 ไอโอดนี (มคก.) 15.9 9.1 5.6 เหลก็ (มก.) 9.1 66.0 202.8 ทองแดง (มคก.) 51.5 2.3 1.3 สงั กะสี (มก.) 2.2 7.7 9.0 ซีลเี นียม (มคก.) 6.5 0.6 1.2 มงั กานสี (มก.) 0.6 * คำนวณโดยใชค้ วามเขม้ ขน้ ของวิตามนิ และแรธ่ าตใุ นนมแม่ และปรมิ าณนมแมใ่ นประเทศทก่ี ำลงั พฒั นาจาก ข้อมูลขององค์การอนามยั โลก1 ความต้องการสารอาหารของทารกตามเอกสารอา้ งองิ 17

15 ขอ้ แนะนำเพอื่ ให้ได้สารอาหารครบถว้ นเพยี งพอ 1. ใหท้ ารกไดอ้ าหารทม่ี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการและหลากหลาย เพอ่ื ให้ พลังงานและสารอาหารครบถ้วนและเพียงพอกับความต้องการของทารก ได้แก่ ข้าว เนอ้ื สตั ว์ ปลา ตับ ไข่ ผักและผลไม้เปน็ ประจำทกุ วนั ให้ไขมันให้เพยี งพอ 2. กินผักและผลไม้ทุกวันและกินให้หลากหลายชนิดโดยเฉพาะผักใบ เขยี วและผกั สสี ม้ เชน่ ตำลงึ ผกั บงุ้ ผกั กาดขาว ฟกั ทอง แครอท เปน็ ตน้ ผลไมท้ ี่ ไมห่ วานจดั เชน่ กลว้ ยนำ้ วา้ มะละกอสกุ สม้ เปน็ ตน้ ผกั และผลไม ้ เปน็ แหลง่ ของแร่ธาตุ วิตามิน และใยอาหาร 3. กินเน้อื สตั ว์ทกุ วัน เนื้อสัตวต์ า่ งๆ เชน่ หม ู ไก่ ปลา และตับ เป็น อาหารทม่ี โี ปรตีนและธาตเุ หลก็ สูง 4. ใหน้ มแมต่ อ่ เนอ่ื งถงึ อาย ุ 2 ป ี สำหรบั เดก็ อาย ุ 1-2 ป ี ควรเสรมิ นม ดดั แปลงสูตรต่อเนอ่ื งหรอื นมวัวรสจดื วนั ละ 2 แกว้ 5. ใชน้ ำ้ มนั พชื ในการประกอบอาหาร เพอ่ื เปน็ แหลง่ พลงั งานและกรดไขมนั จำเปน็ ควรใชน้ ำ้ มนั พชื ทม่ี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการด ี เชน่ นำ้ มนั รำขา้ ว และนำ้ มนั ถวั่ เหลือง เปน็ ตน้ 6. ให้กินอาหารรสธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่งรสอาหารด้วยน้ำตาล น้ำผ้ึง ผงชรู สและผงปรงุ รส ไมค่ วรใหอ้ าหารรสหวานจดั มนั จดั เคม็ จดั เนอ่ื งจากอาหาร ทม่ี รี สหวานและมนั เพมิ่ ความเสยี่ งตอ่ โรคอว้ น ฟนั ผ ุ และไขมนั ในเลอื ดสงู อาหาร ที่มีรสเคม็ จดั หรือมีโซเดียมสงู เป็นปจั จยั เส่ียงตอ่ โรคความดนั โลหิตสงู 7. ด่ืมน้ำสะอาด ไม่ให้เครื่องดื่มท่ีมีน้ำตาลและคาเฟอีน เช่น น้ำ อดั ลม นำ้ หวาน ชา กาแฟ และน้ำผลไม้ท่เี ติมน้ำตาล เปน็ ตน้ 8. เลอื กอาหารว่างทีม่ ีคุณภาพ ซงึ่ ประกอบดว้ ยอาหารหลายหม ู่ หรอื ผลไมต้ ามฤดกู าล หลกี เลยี่ งขนมทม่ี รี สหวานจดั มนั จดั เคม็ จดั และขนมทเี่ หนยี ว ติดฟนั

1 ในหลายประเทศมกี ารสำรวจพบวา่ สารอาหารทที่ ารกไดร้ บั จากอาหารเสรมิ ตามวยั ไมเ่ พยี งพอ (problem nutrients) ไดแ้ ก ่ เหลก็ สงั กะส ี และแคลเซยี ม รวมทงั้ ยงั มปี ญั หาการ ขาดวิตามินเอในหลายประเทศ1 เพ่ือป้องกันการขาดสารอาหารเหล่าน้ีจึงแนะนำให้กิน อาหารตอ่ ไปนีอ้ ยา่ งสมำ่ เสมอ ได้แก ่ อาหารที่มเี หล็กสูง ได้แก่ เนอ้ื สตั ว ์ ตับ เลอื ด ไข่แดง อาหารที่มีสงั กะสีสูง ไดแ้ ก ่ เนอ้ื สัตว์ ตบั อาหารทะเล อาหารทม่ี แี คลเซียมสงู ไดแ้ ก ่ นมและผลิตภัณฑจ์ ากนม เต้าหู้ ผกั ใบเขียว อาหารทมี่ วี ิตามินเอสงู ไดแ้ ก่ ตบั ไข่แดง นม ผักและผลไม้สเี หลืองสม้ เช่น ฟกั ทอง แครอท มะละกอสุก เป็นต้น จากการสำรวจการบริโภคอาหารของทารกและเด็กเล็กถึงอาย ุ 3 ป ี ซ่ึงเป็นส่วน หน่ึงของโครงการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของคนไทย ดำเนินการโดยสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับทุนสนับสนุนในการสำรวจจากสำนักมาตรฐานสินค้าเกษตรและ อาหารแห่งชาต ิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ และได้รับทุนสนบั สนนุ ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล เพ่ิมเติมจากโครงการ “การจัดทำข้อปฏิบัติการให้อาหารเพ่ือสุขภาพที่ด ี (Food-Based Dietary Guidelines, FBDG) ของทารกและเด็กวยั ก่อนเรยี น” พบวา่ ทารกในกลุม่ อายุ 6-8 เดอื น ไดร้ ับพลงั งาน ธาตุเหลก็ สงั กะส ี และวิตามินซ ี ไม่เพยี งพอ สว่ นทารกในกลมุ่ อาย ุ 9-11 เดอื นได้รบั พลงั งานและธาตเุ หล็กไมเ่ พยี งพอ

17 3 ปลอดภยั ให้อาหารตามวัยสำหรับทารกท่ีสะอาดและปลอดภัย โดยเตรียมและเก็บอาหาร อย่างถูกหลักอนามัย อุปกรณ์ที่ใช้ต้องสะอาด ล้างมือก่อนเตรียมและป้อนอาหาร เพ่ือ ป้องกันโรคอุจจาระร่วง ล้างผักและผลไม้ให้สะอาด เพื่อไม่ให้มีส่ิงสกปรกและสารเคมี ตกค้าง ปัจจุบันนี้ได้ยกเลิกคำแนะนำการให้น้ำส้มคั้นแก่ทารก เพราะถ้าเตรียมไม่สะอาด อาจจะเกิดโรคอุจจาระร่วงได้ และทารกวัย 6 เดือนแรกได้รับวิตามินซีเพียงพอจากนม มารดาอยู่แลว้

1 4 การใหอ้ าหารท่ีเหมาะสมกบั ความหวิ และอ่มิ และพฒั นาการตามวัยของทารก 4.1 วิธีการให้อาหารตามวัยสำหรับทารกที่เหมาะสม 4.1.1 ªÑอนอาÀาร∑ารก¥â«ย§«ามนุàมน«ล และคอยช่วยเหลือทารกท่ีโตพอจะ กินได้เองแล้วให้กินอาหารได้อย่างปลอดภัยจากการสำลัก ควรไวต่อการรับรู้สัญญาณท่ี แสดงถึงความหวิ และความอ่มิ ของทารก 4.1.2 §อยกระตâุน„Àâ∑ารกกินอาÀาร แต่ไมค่ วรบงั คบั หรือป้อนนานเกนิ ไป แตล่ ะ มื้อควรใช้เวลาประมาณ 15-20 นาที และไม่ควรนานเกนิ 30 นาที 4.1.3 ∂âา∑ารกªØิ‡ ∏การ„Àอâ าÀาร∫าßอยàาß ใหท้ ดลองเปล่ยี นวธิ ีการปรุงอาหาร โดยนำอาหารหลายชนิดมาผสมกันเพ่ือให้ได้ความหยาบละเอียดและรสชาติตามท่ีทารก ตอ้ งการ

1 4.1.4 ขณะที่ทารกกินอาหาร ควรลดสิ่งล่อใจท่ีทำให้ทารกหันไปสนใจมากกว่า อาหารท่ีกำลังกนิ อยู่ เช่น ไมค่ วรให้ดูโทรทัศน์ หรือเดนิ ป้อนอาหาร เปน็ ตน้ ควรฝกให้นง่ั กินอาหารที่โตะ๊ อาหาร 4.1.5 ผปู้ อ นอาหารควรเปน คนทมี่ คี วามสมั พนั ธท ดี่ กี บั ทารก ควรสบตาและพดู คยุ กับทารกตลอดเวลาท่ีป้อนอาหาร ควรระลึกไว้เสมอว่าการให้อาหารเป็นอีกวิธีหนึ่งในการ กระต้นุ การเรยี นร ู้ การให้ความรกั และการเชอ่ื มความสมั พนั ธ์ 4.2 ให้อาหารท่เี หมาะสมกับพฒั นาการตามวยั ของทารก ความหยาบละเอยี ดของอาหาร และวธิ กี ารใหอ้ าหารควรสอดคลอ้ งกับพัฒนาการ ตามวยั คอ่ ยๆ เพม่ิ ความหยาบของอาหาร เมอื่ ทารกอาย ุ 6 เดอื น อาหารทใี่ หค้ วรมเี นอ้ื คอ่ น ข้างละเอียด เพ่ือให้กลืนได้ง่าย เมื่อทารกสามารถเคี้ยวและกลืนอาหารได้ดี จึงค่อยเพ่ิม ความหยาบของอาหาร ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งบดละเอยี ดมาก เพอื่ ใหท้ ารกมคี วามคนุ้ เคยกบั อาหาร ท่เี ป็นชิ้นเล็กๆ และสามารถยอมรับอาหารประเภทโจก๊ ขา้ วตม้ และขา้ วสวยได้ตามลำดบั เมอ่ื ทารกอาย ุ 8-9 เดอื นจะสามารถใชน้ วิ้ มอื หยบิ ของชน้ิ เลก็ ได ้ ควรใหท้ ารกถอื อาหารท่ีไม ่ แขง็ กนิ เองได ้ เชน่ ฟกั ทองนงึ่ มนั ตม้ ทหี่ น่ั เปน็ ชนิ้ ยาว เปน็ ตน้ แตไ่ มค่ วรใหอ้ าหารทมี่ ลี กั ษณะ แข็ง เป็นเม็ดเล็ก เช่น ถ่ัวลิสง เมล็ดข้าวโพด เป็นต้น เพราะจะทำให้สำลักเข้าปอดได้ ทารกอายุ 12 เดอื นสามารถกนิ อาหารเหมอื นผู้ใหญ่ไดแ้ ลว้ 4.3 ฝก วินัยในการกินและให้เด็กหดั ช่วยเหลอื ตนเองในการกิน อาหารอยา่ งเหมาะสมตามวยั เชน่ กนิ อาหารเปน็ ม้อื ๆ อย่างเป็นเวลา เป็นท่เี ป็นทาง ไม่ควรกนิ ไปเล่นไปหรอื ดู โทรทัศน์ไป ไม่ตามป้อน เม่ือเด็กอาย ุ 1-1½ ป ี ควรฝกให้เด็กหัดกินอาหารเองโดยใช้ ชอ้ น ฝก ใหเ้ ลกิ ดูดนมจากขวดเมอื่ อาย ุ 1-1½ ป ี หรอื อยา่ งช้าไมเ่ กินอายุ 2 ป ี

20 ตารางท่ี 7 : พัฒนาการและพฤตกิ รรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการกนิ อายุ พฒั นาการและพฤติกรรม แรกเกิด ถึง 4 เดอื น ใช้ปฏิกริ ยิ าตอบสนองในการกินนมแม่ คอื การหันหนา้ เขา้ หาอกแม่ การดดู และการกลนื 4-6 เดือน มีปฏิกิริยาตอบสนองเมอื่ มีวัตถุสัมผัสหรือกดลิ้นโดยการเอา 6-8 เดือน ลน้ิ ดุนสิ่งนัน้ ออกมา (extrusion reflex) 8-10 เดือน มคี วามพรอ้ มในการกนิ อาหารกง่ึ แขง็ กง่ึ เหลว 10-12 เดอื น สามารถชนั คอไดม้ น่ั คง มกี ารทรงตวั ของลำตวั ไดด้ ี ควา้ ของได้ เรม่ิ เอาของเขา้ ปาก extrusion reflex 12-15 เดือน ลดหายไป ใชข้ ากรรไกรขยบั ขน้ึ ลงในการบดอาหาร 15-18 เดอื น นงั่ ได้ดี บดเคี้ยวอาหารได้ดขี ึ้น ถือขวดนมได้เอง สง่ เสยี ง ในระหวา่ งม้ืออาหารเพ่อื แสดงความตอ้ งการอาหาร เรมิ่ ใช้น้วิ มอื ไดด้ ีขนึ้ เรม่ิ กำช้อนไดแ้ ตย่ ังไมส่ ามารถใช้ไดด้ ี หยบิ อาหารช้นิ เข้าปากกนิ เองได้ กินอาหารแข็งได้ดขี นึ้ เร่ิมชอบกินอาหารท่ีมีรสชาติ และลักษณะอาหารใหม่ๆ ใชน้ ิ้วหัวแม่มือและน้วิ ชไ้ี ดด้ ี ใชช้ ้อนปอ้ นตวั เองได้บา้ ง ฟันขึ้นหลายซ่ี สามารถขบเคี้ยวได้เก่งขน้ึ เรมิ่ เรยี นรใู้ น การท้ิงของและอาหารลงพ้ืน เริม่ ถือถ้วยได้ สง่ เสียงและ ขยบั ตัวระหว่างมอ้ื อาหารไดม้ ากขึน้ ตอ้ งการกินอาหารด้วยตนเอง ความอยากอาหารและ ความต้องการสารอาหารลดลง เร่ิมถือถว้ ยได้ดีขึน้ (ใชส้ องมือประคองถว้ ย) ชอบเล่นอาหาร อาจทำอาหารเลอะเทอะ เริ่มกินได้เรว็ ข้นึ ชอบเคลื่อนไหวหรือเดนิ ทำให้ไม่อยากกิน อาหารเพราะกำลังหดั เดนิ รอคอยอาหารได้ เล่นโดยการ ทง้ิ อาหารลงพ้นื เพอื่ ดกู ารตอบสนองของพอ่ แม่

21 อายุ พัฒนาการและพฤตกิ รรม 18-24 เดอื น เริม่ กินอาหารเองโดยการใช้ชอ้ นรว่ มกบั การใช้น้วิ มือ เรมิ่ ขออาหารเองได้ เร่มิ มีการต่อต้าน (negativism) 2-3 ปี อาจบอกว่าไม่กนิ แมว้ ่าจะหวิ กต็ าม ตอ้ งการควบคมุ การกิน และม้อื อาหารดว้ ยตนเอง เรม่ิ ใชส้ อ้ มได้ เร่ิมกนิ อาหารเป็นเวลา ชอบช่วยเตรยี มและ เกบ็ โตะ๊ อาหาร 3-4 ปี ใช้ชอ้ นและสอ้ มไดด้ ี ลา้ งมอื เองได้ ชอบช่วยเตรียมอาหาร อาจปฏิเสธการกินอาหารบางชนิด เรมิ่ ขอกนิ อาหารที่อยู่ ในโฆษณา (โดยเฉพาะขนมจุบจบิ ขนมถุง) เริ่มบอกว่า 4-5 ปี อยากกนิ อะไรในมอ้ื อาหาร ชอบชว่ ยล้างจาน ช่วยเตรยี มอาหาร 5-6 ปี เรม่ิ ช่วยเตรยี มอาหารกลอ่ ง สามารถรับผดิ ชอบในการจัด และเกบ็ โต๊ะ ชว่ ยขออาหารให้น้องได้ ล้างจานเองได้ ต้องการซือ้ ขนมจุบจบิ ขนมถงุ มากข้ึน 6-8 ปี สนใจและเร่ิมต่อรองขออาหารชนดิ ตา่ งๆ ได้ สามารถซ้ือ อาหารด้วยตนเองในโรงเรียน 8-10 ปี สนกุ กับการวางแผนและเตรยี มเมนูอาหารของคนใน ครอบครัว สามารถใชเ้ งนิ ซื้ออาหารกินเองเม่ืออยู่นอกบา้ น เร่ิมไม่ชอบช่วยงานครัว * ดัดแปลงจากเอกสารอา้ งอิง1,18-20

ชนดิ ของอาหารตามวัย สำหรับทารก 1 อาหารท่เี ตรยี มเองในครอบครัว 2 อาหารทจ่ี ำหน่ายในทอ้ งตลาด โดยท่ัวไปแล้วแม่ควรปรุงอาหารเอง ท่ีบ้านโดยใช้อาหารที่มีในท้องถิ่นน้ันๆ เพ่ือให้ ได้อาหารท่ีสดใหม่ มีคุณค่าทางโภชนาการ ประหยัดและเป็นการฝกให้ทารกกินอาหารท่ีมี ในท้องถนิ่ 1. อาหารทเี่ ตรยี มเองในครอบครัว4 อาหารมหี ลากหลายให้เลือก แตค่ วรจะเน้นอาหารทีม่ ีในทอ้ งถิ่น หรอื อาหารที่ปรงุ สำหรบั ครอบครวั ได้แก่

ไข่ ไข่เป็นอาหารท่ีมีประโยชน์ เพราะเป็นแหล่งอาหารที่ดีของโปรตีน วิตามินเอ และแรธ่ าต ุ เชน่ ฟอสฟอรสั เปน็ ต้น จะใช้ไขไ่ ก่หรือไขเ่ ป็ดกไ็ ด ้ ควรทำใหส้ กุ จงึ จะย่อยงา่ ย ไมค่ วรให้เป็นยางมะตูม หรือทำเป็นไขล่ วก เพราะถ้าทำไม่สะอาดอาจมเี ชอื้ โรคได้ เน่ืองจากทารกมีโอกาสแพ้ไข่ขาวมากกว่าไข่แดง จึงมีข้อแนะนำให้เริ่มให้ไข่แดง กอ่ น คือตั้งแต่อาย ุ 6 เดือน สว่ นไข่ขาวแนะนำให้เร่มิ เมอ่ื อายุมากกวา่ 7-12 เดือนหรือมาก กว่า แต่ผลการวิจัยในขณะนี้ไม่พบหลักฐานที่สนับสนุนว่าการเริ่มให้ไข่ขาวแก่เด็กหลังอาย ุ 8 เดอื น จะช่วยปอ้ งกนั การเกิดโรคภูมิแพไ้ ด9้ ตบั ตบั เปน็ แหลง่ ของสารอาหารทด่ี ี ไดแ้ ก่ โปรตนี วติ ามนิ เอ วิตามนิ บ ี 1 วิตามินบี 2 และแร่ธาตุต่างๆ โดยเฉพาะเหล็ก ชนิดของตับท่ีให้ทารกกินอาจเป็นตับไก ่ หรือตับหมู กไ็ ด้ และต้องทำใหส้ ุกก่อน เนอ้ื สตั วต ่างๆ ไดแ้ ก ่ เนอื้ หม ู ไก ่ และปลา เปน็ ตน้ เนอื้ สตั วเ์ ปน็ แหลง่ อาหารสำคญั ของโปรตนี เหล็ก สังกะสี และวิตามิน นอกจากน้ีปลาทะเลยังเป็นแหล่งของกรดไขมัน ดี เอช เอ (docosahexaenoic acid, DHA) จะต้องทำให้สกุ ก่อนให้ทารกกินเสมอ ถ่ัวเมล็ดแห้งและผลติ ภัณฑ ถว่ั เหลอื งเปน็ อาหารทมี่ โี ปรตนี แรธ่ าตตุ า่ งๆ ชว่ ยในเรอื่ งของการเจรญิ เตบิ โตของ ทารก ต้องต้มให้สุกและบดให้ละเอียดจะได้ย่อยง่ายและท้องไม่อืด หรือให้ในรูปของ ผลิตภณั ฑ์จากถ่ัว เช่น เต้าหู้ เป็นตน้ ผักต่างๆ ผักมีวิตามินและแร่ธาตุนอกจากน้ียังมีกากใยอาหารเพ่ือช่วยในการขับถ่าย ควร เลือกผักให้หลากหลาย โดยเฉพาะผักใบเขียวและผักสีส้ม เช่น ตำลึง ผักบุ้ง ฟักทอง แครอท เปน็ ตน้ ควรทำใหส้ ุกก่อน ผลไม้ ควรให้ทารกกินผลไม้ท่ีสะอาดเป็นอาหารว่างวันละคร้ัง เช่น กล้วยน้ำว้า มะละกอสุก มะม่วงสกุ และส้มเขียวหวาน เปน็ ตน้

24 ขอ้ แนะนำในการเตรยี มอาหารตามวัยสำหรับทารก19 การเลอื กอาหารที่เหมาะสม ควรใชอ้ าหารสดหรอื อาหารแชแ่ ขง็ ในชอ่ งแชแ่ ขง็ อยา่ ใชอ้ าหารกระปอ๋ งหรอื อาหาร ทีถ่ นอมอาหารโดยใชเ้ กลอื เพราะจะทำใหท้ ารกไดร้ ับเกลือมากเกนิ ไป การเตรียมผกั และผลไม้ ลา้ งผัก ผลไม้ ใหส้ ะอาด หากใชผ้ ัก ผลไม้แชแ่ ขง็ ควรรอใหน้ ้ำแข็งละลายก่อน แกะเปลือก เมล็ด แกน หรอื กา้ นแข็งออกให้หมด ทำใหส้ กุ โดยวธิ ีต้มหรอื นง่ึ ควรใช้นำ้ จากการตม้ หรือน่งึ เปน็ ตัวผสมในการบด เพื่อชว่ ยรักษาสารอาหารไว้ การเตรียมเนื้อสตั ว์ เนื้อปลาให้เอาหนงั หรอื เกล็ด หรือก้างออกให้หมด สบั เน้อื สตั ว์ให้ละเอียด หรอื บดจนไดล้ ักษณะตามต้องการ ทำใหส้ กุ โดยวธิ ีตม้ ตนุ๋ นึง่ อบ หรอื ทอด วิธีจดั เก็บอาหารทีเ่ ตรียมเสร็จแลว้ เก็บใส่ภาชนะปดิ สนทิ แลว้ เกบ็ ในตเู้ ย็น รับประทานให้หมดภายใน 24 ช่ัวโมง ถ้าจะเก็บนานกว่าน้ันอาจแบ่งในปริมาณท่ีเพียงพอสำหรับ 1 ม้ือใส่ในกล่อง พลาสติกถนอมอาหาร เก็บในช่องแช่แข็งในตู้เย็น ไม่ควรเก็บนานเกิน 1 สัปดาห์ นำมา ใช้ทีละกล่อง โดยอุ่นกอ่ นรับประทาน

5 การเตรียมอาหารแบบประหยดั รวดเรว็ และได้คณุ คา่ ในการเตรยี มอาหารสำหรบั ทารก เพอ่ื เปน็ การประหยดั ทงั้ เวลา เงนิ และแรงงาน ควร จะเตรียมอาหารโดยแบ่งมาจากอาหารที่ผู้ใหญ่ รับประทานอยู่แล้ว เช่น รายการอาหารของ ผู้ใหญ่มีแกงส้มผักบุ้ง ก็แบ่งผักบุ้งและปลามา เตรียมอาหารใหท้ ารกได้ อาหารประเภทขา้ ว แปง้ เช่น ขา้ วต้ม ขา้ วตุ๋น ควรใช้ ขา้ วสวยทห่ี งุ สำหรับผูใ้ หญ่มาต้ม หรอื ใช้ปลายขา้ วหรอื ตำขา้ วให้ ละเอียดก่อนนำมาต้ม จะช่วยประหยัดทั้งไฟและเวลา ถ้าทารก อายุมากขึ้นก็อาจเลือกอาหารประเภทแป้งท่ีมีประโยชน ์ เช่น ขนมปงั กรอบชนดิ จืด เป็นต้น อาหารบางชนิดท่ีเตรียมไว้ในครัวเรือน เช่น แกงจืด ตา่ งๆ ผกั ตา่ งๆ ก่อนทีจ่ ะปรุงรส อาจแบ่งออกมาสว่ นหนึง่ สำหรบั ทารกไดเ้ ชน่ กนั 2. อาหารทีจ่ ำหนา่ ยในท้องตลาด อาหารตามวัย (อาหารเสริม) สำหรับทารกที่จำหน่ายในท้องตลาดมีทั้งประเภท ก่ึงสำเร็จรูป หมายถงึ กอ่ นนำมากนิ จะตอ้ งผสมนำ้ หรอื ตม้ ใหส้ กุ กอ่ น และประเภทสำเรจ็ รปู ซง่ึ พรอ้ มทจี่ ะใหท้ ารกกินได้ทันที ประเภทหลังมีราคาค่อนข้างแพง การเลือกอาหารที่ผลิตเพ่ือจำหน่ายเหล่านี้ต้องอ่านฉลากโภชนาการกอ่ น เพราะ แตล่ ะย่หี ้อมคี ุณคา่ ทางโภชนาการแตกตา่ งกนั ขน้ึ อย่กู บั วัตถดุ ิบ บางชนดิ มีสารอาหารครบ ถว้ นตามทท่ี ารกตอ้ งการ แตบ่ างชนดิ มสี ารอาหารไมค่ รบถว้ น เชน่ มขี า้ วและแปง้ เปน็ สว่ น ใหญ ่ ชนิดหลังน้ีถ้าจะใช้จะต้องเพ่ิมสารอาหารท่ีขาดไปให้ครบถ้วน เช่น ถ้าเป็นอาหาร ประเภทธญั พืชจำพวกข้าวต่างๆ ควรเสริมด้วยไขห่ รอื เนอ้ื สัตวห์ รอื ผกั เปน็ ตน้ โดยท่ัวไปแล้วแม่ควรปรุงอาหารเองที่บ้านโดยใช้อาหารท่ีมีในท้องถิ่นน้ันๆ เพื่อ ให้ได้อาหารที่สดใหม่ มีคุณค่าทางโภชนาการ และประหยัด แต่ถ้ามีความจำเปนต้องใช้ อาหารตามวยั ท่ีจำหนา่ ยในท้องตลาดควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี4,19

ควรอา่ นฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ สารอาหารที่กฎหมายบังคับให้ต้องแสดงบนฉลากโภชนาการ ได้แก ่ ปริมาณ พลงั งานและสารอาหารท่ใี หพ้ ลังงาน วิตามนิ เอ วิตามินบี 1 วติ ามินบี 2 แคลเซียม เหลก็ รวมถึงใยอาหาร และสารอาหารที่อาจเป็นโทษต่อสุขภาพ เช่น คอเลสเตอรอล เกลอื โซเดยี ม กรดไขมนั อม่ิ ตวั และนำ้ ตาล เปน็ ตน้ นอกจากนน้ั หากมกี ารเตมิ สารอาหารลง ไปในอาหาร หรือกล่าวอ้างว่ามีสารอาหารใด ก็ต้องแสดงข้อมูลสารอาหารนั้นในกรอบ ข้อมลู โภชนาการด้วย การอ่านฉลากอาหารและฉลากโภชนาการจะช่วยให้สามารถเลอื กซ้ือ และบริโภคอาหารได้เหมาะสมกับความต้องการหรือภาวะทางโภชนาการ โดยเฉพาะถ้า เปนอาหารเสริมก่ึงสำเร็จรูปมกั มสี ารอาหารไมค่ รบถว้ น คอื มกั มแี ปง หรอื ขา้ วเปนสว่ นใหญ่ จำเปนต้องเติมอาหารชนิดอื่นลงไปด้วย เช่น ไข่แดง ตับ และผัก เปนต้น เพ่ือให้สาร อาหารครบถว้ นและเพยี งพอ เลอื กอาหารสำเร็จรปู ทมี่ เี ลขทะเบียน อย. และเลือกซ้อื ให้เหมาะสมกบั อายุ ของทารก ผลติ ภณั ฑ์ส่วนมากจะระบุอายขุ องทารกไวท้ ฉ่ี ลากอาหาร เลอื กผลิตภณั ฑ์ทบ่ี รรจภุ ณั ฑ์เรยี บรอ้ ยและยังไมห่ มดอายุ เลอื กผลติ ภณั ฑท์ ่ีไมเ่ ติมน้ำตาล นำ้ ผ้งึ เกลอื และผงชรู ส เลอื กอาหารที่ไมม่ สี ารปรุงแต่งสี กลน่ิ และไม่ใส่สารกนั บดู อาหารกึง่ สำเรจ็ รูปจะต้องทำใหส้ กุ กอ่ นให้ทารกกนิ ทกุ ครั้ง

27 รายละเอยี ดทต่ี อ้ งแสดงบนฉลากอาหาร21 ต้องแสดงข้อความภาษาไทยอยู่ในสภาพเรยี บร้อย อ่านได้ชดั เจน และสตี ัดกับ พน้ื ฉลาก ดังน้ี ชื่อเฉพาะของอาหาร ชือ่ สามัญหรือชื่อที่ใชเ้ รียกอาหารตามปกติ กรณใี ชช้ ่ือ ทางการคา้ จะต้องแจง้ ประเภท หรอื ชนิดของอาหารกำกับชือ่ อาหารด้วย ชือ่ และทต่ี ้งั ของผผู้ ลิต หรอื ผู้แบง่ บรรจุ กรณีเปน็ อาหารนำเขา้ จากต่างประเทศ ต้องแจง้ ประเทศผผู้ ลิตด้วย เลขทะเบยี นตำรบั อาหาร หรอื เลขทอ่ี นญุ าตใหใ้ ชฉ้ ลากอาหาร (ถา้ ม)ี เพอ่ื แสดง ให้ผูบ้ รโิ ภคทราบวา่ อาหารนผี้ า่ นการได้รบั อนญุ าตจากผู้อนุญาต เช่น สำนกั งาน คณะกรรมการอาหารและยา หรอื จังหวัดท่ีผู้ผลิตตัง้ ภมู ลิ ำเนาอยู่ ปรมิ าณสุทธิเป็นระบบเมตริก ของแขง็ แจ้งเป็นนำ้ หนักสทุ ธิ ของเหลวแจง้ เปน็ ปริมาตรสทุ ธิ ลักษณะเป็นกง่ึ แข็งกง่ึ เหลวแจ้งเปน็ นำ้ หนักสทุ ธิ หรือปริมาตรสทุ ธกิ ไ็ ด้ ส่วนประกอบสำคัญคดิ เป็นร้อยละของนำ้ หนกั วนั เดอื น ปที ผ่ี ลิตอาหาร หรอื วนั เดือน ปที ่ีหมดอายขุ องอาหารหรือควรบรโิ ภค กอ่ น ถา้ มกี ารแต่งสตี อ้ งมีข้อความว่า “เจือสธี รรมชาติ” หรอื “เจอื สสี งั เคราะห”์ แลว้ แตก่ รณี ถ้ามกี ารแต่งกล่ินรสต้องมขี ้อความวา่ “แตง่ กล่นิ ธรรมชาติ” “แต่งกลนิ่ เลยี นธรรมชาติ” “แตง่ กล่นิ สังเคราะห์” “แตง่ รสธรรมชาต”ิ หรอื “แต่งรสเลียนธรรมชาต”ิ แล้วแตก่ รณี ถา้ มีการใช้วัตถุเจือปนอาหารโดยเฉพาะวตั ถุกนั เสียตอ้ งมีข้อความว่า “ใชว้ ัตถกุ ันเสีย” แจง้ วิธีปรุงเพ่อื รบั ประทาน (ถ้าม)ี แจง้ คำแนะนำในการเก็บรักษา (ถา้ มี) แจง้ คำเตือน (ถ้าม)ี

อาหารตามวยั สำหรับเด็กอายุ 1-2 ป เมื่ออายุ 1 ปีขึน้ ไป เด็กควรได้รบั อาหารมื้อหลกั วันละ 3 มื้อ และนมรส จืดวันละ 2-3 ม้ือ ถ้ายังให้นมแม่อยู ่ ควรให้นมแม่ต่อไปจนถึงอายุ 2 ปี เมื่อเด็ก มีอายุประมาณ 1 ป ี ควรหัดให้เด็กด่ืมนมจากถ้วยแทนการดูดจากขวดเพ่ือป้องกัน ฟันผ ุ แนะนำให้เดก็ เลิกดูดนมจากขวดเม่อื อายุ 1-1½ ปี หรอื อยา่ งช้าคืออายุ 2 ปี อาหารม้ือหลกั 3 มอื้ ควรมสี ารอาหารครบถว้ น และดัดแปลงจากอาหาร ของผู้ใหญ่โดยทำให้สุกอ่อนนุ่ม ช้ินเล็กเคี้ยวง่ายและรสไม่จัด แต่ละม้ือประกอบ ดว้ ยขา้ วสวยหรอื อาหารประเภทแปง้ ประมาณ 1 ทพั พ ี เนอื้ สตั วป์ ระมาณ 1-1½ ชอ้ น กินข้าว ให้ไข่เป็นประจำ ใช้น้ำมันพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการดีในการประกอบ อาหาร เช่น น้ำมันถั่วเหลืองและน้ำมันรำข้าว เป็นต้น ให้ผักใบเขียวต่างๆ เช่น ตำลึง ผักบุ้ง และฟักทองหรือแครอทสลับกัน และให้ผลไม้เป็นอาหารว่างวันละ 1-2 ม้ือ

ตวั อย่างอาหารตามวัยสำหรบั ทารก อายุ 6-8 เดอื น ªÕÑ π«—π≈– 1-2 ¡ÕÈ◊ หลกั การ ใชข้ า้ วสวย 4 ช้อนกินข้าว (ช้อนโตะ๊ ) หรอื ประมาณ 2 ชอ้ นพนู ต้มกบั น้ำแกงจืดหรอื นำ้ ซปุ ประมาณคร่ึงถว้ ยตวง หรอื ใช้ข้าวตุ๋นข้นปานกลาง 4 ชอ้ นกนิ ขา้ วผสมกับน้ำแกงจืดหรอื นำ้ ซุป 8 ช้อนกนิ ขา้ ว หรือใชป้ ลายขา้ ว 1 ชอ้ นกินข้าว ต้มกับนำ้ แกงจดื หรอื น้ำซปุ ประมาณ 10 เท่า จะเหลอื ปรมิ าณ 4 ใน 5 ส่วนเมอ่ื แลว้ เสรจ็ ใส่ผักใบเขยี วหรือเหลอื งสม้ ทอี่ อ่ นนุ่มกลน่ิ ไม่แรง 1-2 ช้อนกินข้าว และอาหารที่มโี ปรตนี และสารอาหารเข้มข้น แตอ่ อ่ นนุ่มบดได้งา่ ย เชน่ ไขแ่ ดง ตับไก ่ เตา้ หอู้ ่อน ปลา หมนุ เวยี นสลับกันไป และเหยาะนำ้ มนั พชื ประมาณครง่ึ ช้อนชาเม่อื เตรียมเสรจ็ เพอ่ื ชว่ ยการดดู ซึมวติ ามินที่ละลายในไขมันและเพม่ิ ความเข้มข้นของพลังงาน 1 ช้อนกนิ ข้าว (1 ชอ้ นโตะ หรอ� 3 ชอ้ นชา)

30

ตัวอย่างอาหารตามวัยสำหรับทารกอายุ 6-8 เดอื น 31 ไขขแ่ ดา้ งว-บตดำลงึ สว่ นประกอบอาหาร ปริมาณ น้ำหนัก (กรมั ) ตอ่ 1 ม้ือ 4 ชอ้ นกินข้าว 40 กรมั ขา้ วสวย 10 ชอ้ นกนิ ขา้ ว 100 กรัม น้ำแกงจืด ไขแ่ ดง ½ ฟอง 7 กรมั ตำลึง 1 ½ ช้อนกนิ ข้าว 12 กรัม นำ้ มนั พืช ½ ชอ้ นชา 2.5 กรัม ให้พลงั งาน 106 กิโลแคลอรี สดั ส่วนของพลงั งานทีไ่ ด้รับจาก โปรตนี 3.1 กรัม คารโ์ บไฮเดรต : ไขมัน : โปรตนี ความเข้มข้นของพลังงาน 0.8 กโิ ลแคลอรี/กรัม เท่ากับ 48 : 41 : 11 น้ำหนักอาหารทงั้ หมดต่อ 1 มื้อ 161.5 กรัม น้ำหนกั อาหารเมือ่ แล้วเสร็จ 137.3 กรมั (นำ้ หนักอาหารจะลดลงประมาณรอ้ ยละ 15-20 เม่อื แล้วเสรจ็ )

32

ตวั อย่างอาหารตามวัยสำหรับทารกอายุ 6-8 เดอื น 33 ตขผับ้ากัไกวห-่ วบเตาดน้าหู้ ส่วนประกอบอาหาร ปริมาณ นำ้ หนัก (กรัม) ตอ่ 1 ม้อื 4 ชอ้ นกนิ ขา้ ว 40 กรัม ข้าวสวย 10 ชอ้ นกนิ ขา้ ว 100 กรัม น้ำแกงจดื 4.25 กรัม ตบั ไก ่ ¼ ชอ้ นกินข้าว 34 กรมั เต้าหู้หลอดไข่ไก่ 2 ชอ้ นกนิ ข้าว 7.5 กรัม ผกั หวาน 1 ½ ช้อนกนิ ขา้ ว 2.5 กรัม น้ำมนั พืช ½ ชอ้ นชา ใหพ้ ลังงาน 106 กโิ ลแคลอรี สดั สว่ นของพลงั งานทีไ่ ด้รับจาก โปรตนี 4.0 กรัม คารโ์ บไฮเดรต : ไขมนั : โปรตนี ความเขม้ ข้นของพลงั งาน 0.66 กิโลแคลอรี/กรมั เท่ากับ 52 : 33 : 15 น้ำหนกั อาหารทงั้ หมดต่อ 1 ม้ือ 188.25 กรัม น้ำหนักอาหารเมื่อแลว้ เสร็จ 160 กรัม (นำ้ หนกั อาหารจะลดลงประมาณร้อยละ 15-20 เมื่อแล้วเสรจ็ )

4

ตัวอย่างอาหารตามวัยสำหรบั ทารกอาย ุ 6-8 เดอื น 5 ขฟ้าปก วลทาบอทงดู สว่ นประกอบอาหาร ปรมิ าณ น้ำหนกั (กรัม) ตอ่ 1 ม้ือ 4 ช้อนกนิ ขา้ ว 40 กรัม ข้าวสวย 10 ชอ้ นกินขา้ ว 100 กรมั นำ้ แกงจืด 1 ½ ช้อนกนิ ข้าว 13.5 กรมั เน้ือปลาทนู ง่ึ ทอด 1 ½ ชอ้ นกนิ ข้าว 13.5 กรมั ฟกั ทอง 2.5 กรัม น้ำมันพชื ½ ช้อนชา ให้พลังงาน 122 กิโลแคลอรี สัดส่วนของพลังงานทไ่ี ดร้ บั จาก โปรตีน 5.6 กรมั คาร์โบไฮเดรต : ไขมัน : โปรตนี ความเข้มข้นของพลังงาน 0.84 กิโลแคลอร/ี กรัม เทา่ กบั 47 : 35 : 18 น้ำหนักอาหารทง้ั หมดตอ่ 1 มื้อ 169.5 กรัม น้ำหนักอาหารเมื่อแล้วเสร็จ 145.4 กรมั (นำ้ หนกั อาหารจะลดลงประมาณรอ้ ยละ 15-20 เม่ือแลว้ เสรจ็ )

36 คุณค่าทางโภชนาการของตวั อยา่ งอาหารตามวยั สำหรบั ทารกอายุ 6-8 เดอื น ตอ่ 1 มอ้ื วติ ามนิ และแร่ธาตุ พลังงาน โปรตีน คารโ์ บไฮเดรต ไขมัน วติ ามิน วิตามิน วติ ามิน วิตามิน เหล็ก สงั กะสี แคลเซยี ม ฟอสฟอรัส (กโิ ลแคลอร)ี (กรมั ) (กรมั ) (กรัม) เอ บี1 บ2ี ซี (มก.) (มก.) (มก.) (มก.) (มก.) (มก.) (มก.) 106 (มคก.) 106 ขา้ วบดไขแ่ ดง-ตำลงึ 122 3.1 12.8 4.8 87 0 0.1 2 0.9 0.2 19 52 ข้าวบดตบั ไก่-เตา้ ห-ู้ ผักหวาน ข้าวบดปลาทู-ฟกั ทอง 4.0 13.7 3.9 453 0.1 0.1 13 1.1 0.4 28 47 5.6 13.9 4.7 14 0 0 1 0.7 0.2 35 65 ข้อมูลจาก ดร.อุไรพร จิตตแ์ จ้ง สถาบันโภชนาการ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

37 ตัวอย่างอาหารตามวัยสำหรบั ทารก อายุ 9-11 เดอื น ปอ้ นวนั ละ 3 มอ้ื หลักการ ใช้ข้าวสวย 4 ช้อนกินข้าว (ช้อนโต๊ะ) หรือประมาณ 2 ช้อนพูน ต้มกับน้ำแกงจืดหรือน้ำซุปประมาณครึ่งถ้วยตวง ต้มให้เปื่อย หรือบดพอหยาบๆ จะเหลือประมาณ 4 ใน 5 ส่วนเม่ือแลว้ เสร็จ ใส่ผักใบเขียวหรือเหลืองส้มที่อ่อนนุ่ม กล่ินไม่แรง 2 ช้อนกินข้าว และอาหารที่มีโปรตีน และสารอาหารเข้มข้น เชน่ ไข่ เลอื ด ตับ ปลา หมสู ับหรือบด ประมาณ 1-2 ชอ้ นกนิ ข้าว หมนุ เวียนสลับกนั ไป และเหยาะนำ้ มนั พชื ประมาณครง่ึ ช้อนชาเมอื่ เตรยี มเสรจ็ เพอื่ ช่วยการดูดซึมวติ ามินท่ีละลายในไขมนั และเพมิ่ ความเขม้ ข้นของพลงั งาน

38

ตวั อย่างอาหารตามวยั สำหรบั ทารกอายุ 9-11 เดอื น 39 ข้าวตม้ ไข-่ ตำลงึ สว่ นประกอบอาหาร ปรมิ าณ นำ้ หนัก (กรมั ) ตอ่ 1 มื้อ 4 ชอ้ นกนิ ขา้ ว 40 กรมั 10 ชอ้ นกินข้าว 100 กรมั ข้าวสวย ฟอง 16.5 กรัม น้ำแกงจดื 2 ชอ้ นกินขา้ ว 16 กรมั ไข ่ ½ ช้อนชา 2.5 กรมั ตำลงึ น้ำมันพชื ใหพ้ ลังงาน 110 กิโลแคลอรี สดั สว่ นของพลังงานทีไ่ ดร้ ับจาก คาร์โบไฮเดรต : ไขมนั : โปรตนี โปรตนี 4.3 กรัม ความเข้มขน้ ของพลังงาน 0.74 กโิ ลแคลอรี/กรัม เทา่ กบั 48 : 36 : 16 น้ำหนักอาหารท้งั หมดต่อ 1 ม้ือ 175 กรมั น้ำหนักอาหารเมอื่ แล้วเสร็จ 148.8 กรัม (นำ้ หนกั อาหารจะลดลงประมาณรอ้ ยละ 15-20 เมอ่ื แล้วเสร็จ)

40

ตัวอยา่ งอาหารสำหรับทารกอายุ 9-11 เดือน 41 ปขล้าา-วแคตรม้อท ส่วนประกอบอาหาร ปรมิ าณ น้ำหนกั (กรมั ) ต่อ 1 ม้ือ 4 ชอ้ นกนิ ขา้ ว 40 กรมั 10 ชอ้ นกนิ ข้าว 100 กรัม ขา้ วสวย 1 ½ ชอ้ นกินข้าว 22.5 กรมั นำ้ แกงจดื 2 ชอ้ นกินข้าว 20 กรมั เนื้อปลาทะเลท่ไี ม่มกี ้าง ½ ช้อนชา 2.5 กรัม แครอท น้ำมันพชื ให้พลังงาน 109 กิโลแคลอรี สดั ส่วนของพลงั งานทไ่ี ด้รบั จาก โปรตนี 6.3 กรมั คาร์โบไฮเดรต : ไขมนั : โปรตีน ความเข้มข้นของพลงั งาน 0.74 กิโลแคลอร/ี กรมั เท่ากบั 51 : 26 : 23 นำ้ หนกั อาหารทงั้ หมดตอ่ 1 ม้ือ 185 กรัม นำ้ หนกั อาหารเมอื่ แลว้ เสร็จ 157.3 กรัม (น้ำหนกั อาหารจะลดลงประมาณรอ้ ยละ 15-20 เมอ่ื แลว้ เสรจ็ )

42

ตวั อย่างอาหารตามวัยสำหรบั ทารกอายุ 9-11 เดอื น 43 ข้าวต้ม หมูสบั -เลือด ผกั หวาน ส่วนประกอบอาหาร ปรมิ าณ น้ำหนัก (กรมั ) ตอ่ 1 มื้อ 4 ช้อนกนิ ขา้ ว 40 กรมั 10 ช้อนกินข้าว 100 กรัม ขา้ วสวย 1 ชอ้ นกินข้าว 15 กรมั น้ำแกงจดื ½ ชอ้ นกนิ ขา้ ว 6.5 กรัม หมูสบั 2 ช้อนกินข้าว 10 กรัม เลอื ดหม ู ½ ชอ้ นชา 2.5 กรัม ผักหวาน น้ำมนั พชื ให้พลังงาน 119 กิโลแคลอรี สัดส่วนของพลงั งานทีไ่ ด้รบั จาก คารโ์ บไฮเดรต : ไขมัน : โปรตนี โปรตนี 4.9 กรมั ความเขม้ ขน้ ของพลงั งาน 0.81 กิโลแคลอรี/กรัม เท่ากบั 44 : 40 : 16 นำ้ หนกั อาหารท้ังหมดตอ่ 1 มื้อ 174 กรัม นำ้ หนักอาหารเมอ่ื แล้วเสร็จ 147.9 กรัม (น้ำหนักอาหารจะลดลงประมาณรอ้ ยละ 15-20 เมือ่ แลว้ เสร็จ)

44 คณุ ค่าทางโภชนาการของตัวอย่างอาหารตามวยั สำหรับทารกอายุ 9-11 เดอื น ตอ่ 1 มือ้ วิตามินและแรธ่ าตุ พลังงาน โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต ไขมนั วติ ามิน วติ ามนิ วิตามนิ วิตามิน เหล็ก สังกะสี แคลเซยี ม ฟอสฟอรสั (กโิ ลแคลอร)ี (กรมั ) (กรมั ) (กรมั ) เอ บ1ี บี2 ซี (มก.) (มก.) (มก.) (มก.) (มก.) (มก.) (มก.) 110 (มคก.) 109 ข้าวต้มไข-่ ตำลงึ 119 4.3 13.1 4.4 114 0 0.1 2 1.1 0.3 20 57 ขา้ วต้มปลา-แครอท ขา้ วตม้ หมสู บั -เลอื ด-ผกั หวาน 6.3 13.9 3.1 31 0 0.1 4 0.6 0.1 20 60 4.9 13.2 5.2 29 0.2 0 17 2.3 0.1 9 41 ขอ้ มูลจาก ดร.อไุ รพร จติ ตแ์ จ้ง สถาบนั โภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

45 ตัวอย่างอาหารตามวยั สำหรับเด็กเลก็ อายุ 12-23 เดอื น กนิ วันละ 3 มอ้ื หลักการ ใช้ข้าวสวย 6 ช้อนกินข้าว (ช้อนโต๊ะ) หรือประมาณ 1 ทัพพี ผัดน้ำมันพืช 1 ช้อนชา หรือกินกับอาหารผัดหรือทอด แกงจืด หรือ ต้มจืด อาหารที่มีโปรตีนและสารอาหารเข้มข้น ประมาณ 3 ช้อนกินข้าว ผสมกัน หรือหมุนเวียนสลับกันไป และใส่ผักใบเขียวหรือเหลืองส้มที่อ่อนนุ่ม กลิ่นไม่แรง 1-2 ชนิด ปริมาณ 3-4 ช้อนกินข้าว

46

ตัวอยา่ งอาหารตามวัยสำหรับเดก็ เล็กอายุ 12-23 เดอื น 47 ข้าวผดั ไข่ แกงจ�ดไก่ ผักหวาน ฟก ทอง ส่วนปตร่อะ1กอมบอื้ อาหาร ปริมาณ นำ้ หนัก (กรมั ) ขา้ วสวย 5 ชอ้ นกนิ ขา้ ว 50 กรัม นำ้ มนั พืช 1 ชอ้ นชา 5 กรมั ไข่ไก่ ฟอง 16.5 กรัม น้ำแกงจืดซปุ ขาต้งั หมู 10 ช้อนกินขา้ ว 100 กรมั เนอื้ ไก ่ 1 ช้อนกนิ ข้าว 15 กรัม ตบั ไก่ ¼ ช้อนกินข้าว 4.25 กรมั ฟกั ทอง 2 ชอ้ นกินขา้ ว 20 กรัม ผักหวาน 2 ชอ้ นกินขา้ ว 10 กรมั ให้พลังงาน 187 กิโลแคลอรี สัดสว่ นของพลังงานท่ไี ดร้ บั จาก โปรตนี 7.6 กรัม คารโ์ บไฮเดรต : ไขมนั : โปรตีน เท่ากับ 41 : 43 : 16 นำ้ หนกั อาหารท้ังหมดตอ่ 1 มือ้ 220.75 กรมั น้ำหนกั อาหารเม่อื แลว้ เสร็จ 187.6 กรมั (นำ้ หนกั อาหารจะลดลงประมาณรอ้ ยละ 15 เมอ่ื แลว้ เสรจ็ )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook