Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การผลิตสับปะรด

การผลิตสับปะรด

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-07-27 22:59:41

Description: มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา
หนังสือ,เอกสาร,บทความที่เผยแพร่นี้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

กระบวนการเพมิ่ ประสิทธิภาพ การผลิตสบั ปะรด



คำ�นำ� อันดับหน่ึงของแหล่งผลิตสับปะรดแปรรูปท่ีส่งไปจำ�หน่ายในท่ัวโลก คอื ประเทศไทย เปน็ อตุ สาหกรรมทมี่ มี ลู คา่ การสง่ ออกแตล่ ะปที ม่ี มี ลู คา่ มหาศาล ผลผลิตท่ีได้ในแต่ละปีมากกว่าหนึ่งล้านตันสามารถสร้างอาชีพที่ก่อให้เกิด รายไดก้ บั ภาคการเกษตรหลายแสนครอบครวั ทปี่ ระกอบอาชพี ปลกู สบั ปะรดใน ทั่วทุกภูมิภาคของไทยในด้านเป้าหมายการพัฒนาสับปะรดของประเทศมีการ จัดทำ�ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาสับปะรดแห่งชาติ (2559-2569) เพื่อให้สามารถ สร้างความมั่นคงของฐานเศรษฐกิจในตลาดโลกและสร้างเสริมประสิทธิภาพ การผลิตเพ่ือการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพภายใต้ มาตรฐานสากล ปัจจัยสำ�คัญท่ีมีบทบาทต่อคุณภาพผลผลิตมีท้ังปัจจัยภายใน ด้านพันธุกรรมที่ดี ปัจจัยสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมและยังเก่ียวข้องกับการ จดั การควบคมุ การผลติ ของเกษตรกรทมี่ คี วามรแู้ ละความช�ำ นาญในการจดั การ ผลิตเพ่ือให้ได้ผลผลิตสับปะรดต้นนำ้�ที่มีคุณภาพสู่วงจรผลิตภัณฑ์อ่ืนๆตามท่ี ตลาดต้องการสร้างความคุ้มค่าในกระบวนการผลิตลดความเสี่ยงการขาดทุน การผลติ ของเกษตรกร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภายใต้อัตลักษณ์ “นวตั กรรมเพ่อื ชุมชน” เป็นสถาบนั อุดมศึกษาภูมภิ าคทีม่ ที ีต่ ง้ั อยใู่ นพน้ื ท่แี หล่ง ปลกู สบั ปะรดส�ำ คญั ของจงั หวดั ในภาคเหนอื เชน่ ล�ำ ปาง เชยี งราย และพษิ ณโุ ลก มบี ทบาทภารกจิ สรา้ งความรจู้ ากการวจิ ยั สบั ปะรดทค่ี วบวงจรเพอ่ื ขยายผลความ รู้สำ�หรับการสอนนักศึกษาสายอาชีพเกษตรและเพื่อบริการวิชาการแก่สังคม ให้พัฒนาศักยภาพยกระดับวิถีอาชีพให้เกิดความมั่นคงโดยได้มีการรวบรวม และเรยี บเรียงองคค์ วามร้เู ป็นหนังสอื “กระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สับปะรด” จากประสบการณ์ด้านงานวิจัยและบทเรียนการพัฒนาสับปะรด เชิงพื้นที่ของคณะนักวิจัยร่วมกับเกษตรกรและเครือข่าย มหาวิทยาลัยฯหวัง เป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือเล่มน้ีจะช่วยสร้างความรู้ที่ช่วยสร้างผลประโยชน์ให้กับ ผู้ท่ีสนใจ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาวิถีอาชีพการเกษตรของชุมชนให้ ย่งั ยนื ต่อไป คณะผู้จดั ทำ�

สารบญั ............................................................................... เรอื่ ง หน้า บทนำ� 3 บทบาทและความสำ�คญั ของสับปะรด 4 ความรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั สบั ปะรด 6 เทคนิคการจดั การปลูกและการดูแลรักษา 14 การควบคุมและการจดั การผลผลติ คณุ ภาพ 29 เอกสารอ้างองิ 35 หน้า 11 หนา้ 14 หนา้ 33

บทนำ� ............................................................................... ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์แปรรูปสับปะรดกระป๋อง เปน็ อันดบั 1 ของโลก มมี ูลค่าปลี ะไมต่ ่าํ กวา่ สองหมน่ื ลา้ นบาท ซ่งึ ตลาดสง่ ออกสำ�คญั ไดแ้ ก่ สหภาพยโุ รป สหรัฐอเมรกิ า ญป่ี ่นุ และตะวนั ออกกลาง สับปะรดยงั มบี ทบาทต่อเศรษฐกิจ ในระดับฐานรากและระดับไร่นา สร้างอาชีพเกิดการซ้ือขายผลผลิตและมีการจ้างแรงงาน เป็นจำ�นวนมากมีแหล่งผลิตสับปะรดที่สำ�คัญกระจายในจังหวัดท่ัวทุกภาคของประเทศ เน่ืองจากสับปะรดเป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตในสภาพแห้งแล้งจึงทำ�ให้มีการนำ�ต้นพันธ์ุ มาเพาะปลูกในพื้นท่ีไม่มีนํ้าเพียงพอต่อการทำ�การเพาะปลูกพืชอื่นๆ ปัจจุบันประเทศไทย มีประเทศคู่แข่งคือ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และเวียดนาม เป็นต้น ทำ�ให้จำ�เป็นต้องมีการ พัฒนาเรียนรู้เทคโนโลยีเพื่อเพ่ิมศักยภาพให้กับเกษตรกรเพื่อรักษาฐานการผลิตสับปะรด สำ�คัญของโลกไว้ สถานการณ์การผลิตสับปะรดจะมีการเปลี่ยนแปลงข้ึนอยู่กับหลายปัจจัย ทั้งสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ปัจจัยผลผลิตสับปะรดมีราคาแพงส่งผล ใหเ้ กษตรกรตดั สนิ ใจเพมิ่ พน้ื ทก่ี ารปลกู เพมิ่ ขนึ้ ท�ำ ใหป้ รมิ าณผลผลติ ของทง้ั ประเทศทอี่ อกใน ฤดกู าลชว่ งเดอื นมถิ นุ ายน-กรกฎาคม มมี ากกวา่ ความตอ้ งการของตลาดจนเกดิ ภาวะลน้ ตลาด เขา้ สูว่ งรอบของราคาตกตาํ่ ทสี่ ดุ ภายใตส้ ถานการณป์ ญั หาของสับปะรดของประเทศในทาง กลับกนั เพ่ือให้เกดิ การพฒั นาจำ�เปน็ มกี ารปรบั แผนกลยุทธ์ด้านการผลิตใหม้ ุ่งเปา้ หมายการ ตลาดน�ำ การผลิต เรียนรู้การพฒั นาศกั ยภาพดา้ นการจัดการผลติ สบั ปะรดทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ของเกษตรกรผู้ผลิตเพื่อให้ได้เป้าหมายผลผลิตคุณภาพจากการควบคุมการผลิตที่สามารถ เกดิ ความคุม้ คา่ ในการผลติ ลดความเส่ยี งตอ่ การขาดทุน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนาเปน็ สถาบนั อุดมศกึ ษาภูมภิ าคทมี่ ีพื้นที่ ตงั้ อยใู่ น 6 จงั หวดั ภาคเหนอื ไดแ้ ก่ เชยี งใหม่ ล�ำ ปาง นา่ น เชยี งราย ตาก และพษิ ณโุ ลก ภายใต้ อัตลักษณ์ “นวัตกรรมเพื่อชุมชน” มีบทบาทภารกิจหลัก 4 ด้านประกอบด้วยการสอน การวจิ ัย บริการวชิ าการแกส่ ังคม และท�ำ นบุ ำ�รุงศลิ ปวฒั นธรรม มีหนว่ ยงาน “สถาบนั วจิ ัย เทคโนโลยีเกษตร” เป็นหน่วยงานเฉพาะทางที่มหาวิทยาลัยจัดต้ังข้ึนเพื่อสร้างองค์ความ รู้และขยายผลถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ สถาบันฯมีองค์ความรู้จากการ วจิ ยั สบั ปะรดทคี่ รบวงจรตง้ั แตก่ ารผลติ จนถงึ การแปรรปู สรา้ งมลู คา่ สามารถขยายผลตอ่ ยอด การใช้ประโยชน์ทั้งการสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาและเกษตรกรผู้ผลิตให้มีการ พัฒนาการปฏิบัติการให้เกิดประสิทธิภาพสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาอาชีพภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์การพัฒนาสับปะรด 2560-2569 ที่มีเป้าหมายการ พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเสริมศักยภาพของวิถีการผลิตสับปะรดให้เป็นอาชีพ ท่ยี ่งั ยืนตอ่ ไป

บทที่ 1 บทบาทและความสำ�คญั ของสับปะรด ความสำ�คญั และที่มา ประวัติด้านการแพร่ มีถนิ่ ก�ำ เนดิ ในทวปี อเมริกา ชาวพน้ื เมอื ง Tupi ในอเมริกาเรยี กผลไม้ กระจายของสบั ปะรดมกี ารคาดการณ์ ชนดิ นวี้ ่า Nanas ทแี่ ปลวา่ ผลไมอ้ นั เยย่ี มยอด (Excellent fruit) จากหลายขอ้ มลู ปี พ.ศ.2035 ครสิ โต ชาวโปรตุเกสเรียกช่อื ผลไม้ชนดิ นวี้ า่ Ananas ตามชนพนื้ เมือง ภาษา เฟอร์ โคลมั บสั นกั เดนิ เรอื ชาวสเปน อังกฤษเรียก สัปปะรดว่า Pineapple เนื่องจากผลของสัปปะรด กค็ น้ พบสบั ปะรดบนเกาะกวาเดอลปู มีลักษณะคล้ายกับลูกของต้นสนท่ีเรียกว่า Pine cone ก็เลยเรียก แถบทวีปอเมริกาใต้ในช่วงการเดิน สปั ปะรดวา่ Pineapple การแพรก่ ระจายของสบั ปะรดในแถบเอเชยี เรือรอบโลก หลังจากท่ีเขาลองล้ิม นา่ จะเปน็ ชาวโปรตเุ กส เนอื่ งจากวา่ ในแถบนเี้ รยี กสปั ปะรดในท�ำ นอง ชมิ รสผลสบั ปะรดปา่ จากชาวอนิ เดยี น Ananas อาจแพรก่ ระจายทอ่ี นิ เดยี กอ่ นคนทมฬิ มกี ารเรยี กชอ่ื วา่ ยานดั 4 แล้ว เขาได้นำ�พันธ์ุกลับไปปลูกใน และตอ่ มายงั มาเลเซยี เรยี กชอ่ื วา่ นานดั ในประเทศไทยสบั ปะรดไดถ้ กู ยุโรป ซ่ึงชาวอินเดียนในยุคน้ันได้ น�ำ เขา้ มาปลกู เผยแพรใ่ นราวสมยั แผน่ ดนิ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช มีการเรียนรู้คัดพันธ์ุสับปะรดไว้ทำ� ซึง่ ทางภาคใตข้ องไทยได้มีการเรียกว่า ยานัด และปลูกทางภาคอสี าน ไวน์และกินผลสด ในตอนต้นปี พ.ศ. เรียกตามคนใต้ เป็น บักนัด ส่วนในภาคกลาง สัปปะรด อาจมาจาก 2043 มีการนำ�สับปะรดไปเผยแพร่ คำ�ว่า สรรพรสท่ีแปลว่ามีหลายรสเพราะสัปปะรดในยุคนั้นน่าจะ ในพระราชวังทำ�ให้สับปะรดกลาย เป็นพันธุ์ที่ยังไม่ปรับปรุงพันธุ์มากนักรสชาติจึงหวานปนกับ เป็นผลไม้สำ�หรับพระราชา ปี พ.ศ. เปรี้ยวในลูกเดยี ว จนกลายเป็น “สับปะรด” ในปัจจบุ ัน 2098 จังเดอ เลอร่ี ได้นำ�สับปะรด สบั ปะรดจดั เปน็ พชื ทนแลง้ สามารถเจรญิ เตบิ โตไดใ้ นสภาพ เข้าไปในอังกฤษ จนสิ้นศตวรรษท่ี แวดล้อมท่ีมีปริมาณนํ้าน้อย ผลสับปะรดมีรสชาติเป็นท่ีช่ืนชอบของ 16 (พ.ศ. 2143) ปรากฏวา่ มกี ารปลกู คนทุกๆเชื้อชาติและมีสารประกอบสำ�คัญท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย สบั ปะรดในพระราชวงั แวรซ์ ายสเ์ พอ่ื ของมนุษย์ท้ังแร่ธาตุและวิตามินท่ีมีสรรพคุณทางสมุนไพรช่วย ถวายแก่กษัตริย์ในยุคนั้น ปี พ.ศ. รักษาอาการต่างๆ ได้ เช่น โรคบิด โรคนิ่ว ช่วยบรรเทาอาการแผล 2236 ชาวยโุ รปไดน้ �ำ บรอมเี ลยี ดจาก เป็นหนอง ขับปัสสาวะ เป็นต้น จึงทำ�ให้สับปะรดจัดอยู่ในกลุ่มพืช ป่าไปปลูกเป็นไม้ประดับบ้าน โดย เศรษฐกิจของโลกในระดับมหภาคท้ังระดับอุตสาหกรรมและไร่นามี ชาร์ลส์ พลูแมร์ นักสำ�รวจป่าชาว แหล่งปลูกและโรงงานแปรรูปกระจายอยู่ในทุกพ้ืนท่ีของโลกทำ�ให้ ฝรง่ั เศส เปน็ บคุ คลแรกทใ่ี หค้ �ำ อธบิ าย เกิดอาชีพและการจ้างแรงงาน ผลผลิตสับปะรดจัดเป็นวัตถุดิบใน ลักษณะของพืชสกุลบรอมีเลียดและ ห่วงโซ่ของหลายๆอุตสาหกรรมโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหาร คาราตาสไว้ในหนังสือเร่ือง พันธ์ุไม้ สามารถสร้างมูลค่าและรายได้ให้ภาคการผลิตที่มีมูลค่ามหาศาล ของอเมริกา เขาเป็นผตู้ ง้ั ช่ือวงศต์ าม ประเทศไทยจัดเป็นแหล่งผลิตสับปะรดท่ีสำ�คัญของโลกมีพื้นที่การ เพ่ือน คือนายแพทย์ชาวสวีเดน ชื่อ ผลติ ไม่น้อยกว่าหนึ่งแสนไรแ่ ละมีครวั เรอื นท่ียดึ เปน็ อาชพี ไมน่ ้อยกว่า โอลาฟ โอเล บรอเมล คาดวา่ สปั ปะรด หนง่ึ หมน่ื ครอบครวั แหลง่ ผลติ สบั ปะรดทส่ี �ำ คญั เชน่ ประจวบครี ขี นั ธ์ กระบวนการเพ่มิ ประสิทธิภาพ การผลติ สบั ปะรด

เพชรบุรี ระยอง ชลบุรี อุตรดิษถ์ ล�ำ ปาง พษิ ณุโลก หวานหอม วัดปริมาณ TSS มากกว่า 12 บริกซ์ เปน็ ตน้ ประเทศไทยจดั เปน็ ประเทศผผู้ ลติ และสง่ ออก ปราศจากสารพษิ ปนเป้ือน สบั ปะรดในอตุ สาหกรรมแปรรปู อาหาร เชน่ กระปอ๋ ง - การแบ่งช้ันมาตรฐานผลสับปะรด แบ่ง แช่แข็ง น้ําสับปะรด ท่ีมีมูลคา่ สูงเป็นอันดับหน่ึงของ ออกเปน็ 3 ช้นั ได้แก่ ชน้ั พิเศษ ชนั้ หนงึ่ และชนั้ สอง โลกมลู คา่ การสง่ ออกไมน่ อ้ ยกวา่ 2.3 – 2.5 หมนื่ ลา้ น โดยมีการกำ�หนดรายละเอียดจาก รูปทรง สี กล่ิน บาทต่อปี คุณค่าด้านอาหารของสับปะรดนอกจาก รสชาติ ไมม่ ีตำ�หนิ จกุ (เดี่ยว) ตลอดจนการเกบ็ รักษา มีแร่ธาตุและวิตามินที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายยังมี และการจดั เรยี งผลผลติ และมมี าตรฐาน GAP รบั รอง ส่วนประกอบของสารเคมีท่ีสำ�คัญเป็นประโยชน์ใน ผลสับปะรดคุณภาพมาตรฐานและ ส่วนต่างๆเช่น กลุ่มโปรตนี ในเหง้า สารโบมเี ลน และ ปลอดภัย (ส่งโรงงาน) อ้างอิงข้อมูลจากมาตรฐาน เอนไซด์ Peroxidase, Amylase, Proteinase ใน การรับซ้ือสับปะรดโรงงานของประเทศไทย สถาบัน 5 ล�ำ ต้น กลมุ่ Hemicellulose, Bromelain, Camp- อาหาร (อตุ สาหกรรมสบั ปะรด) estanol ในใบ และในผลสบั ปะรดมี Acetaldehyde, ตัวบง่ ชี้คุณภาพสับปะรดโรงงานทีก่ �ำ หนดไดแ้ ก่ Ethyl acetate, Acetone และน้ํามันหอมระเหย Isobutanol ซง่ึ ท�ำ ใหส้ บั ปะรดมสี รรพคณุ ในดา้ นการ - ขนาดผล (กว้าง x ยาว) นํ้าหนักผล (กก.) ปอ้ งกนั รกั ษาโรคตา่ งๆเชน่ ราก (แกน้ วิ่ แกก้ ระษยั ขบั - ความสกุ แก่ พิจารณาจากสีเปลอื กแบ่ง ปสั สาวะ ทำ�ให้ไตมสี ุขภาพดี แกห้ นองใน แกข้ ดั ข้อ) มาตรฐานเบอร์ 0 – 7 สเี น้อื เหลอื งครึ่งผล ใบสด (เป็นยาถา่ ย ฆ่าพยาธใิ นทอ้ ง) ผลดบิ (ใชห้ ้าม - กา้ นและจกุ ไม่มี เลือด แกโ้ รคทางเดนิ ปัสสาวะ ฆา่ พยาธิ และขบั ระด)ู - สมุ่ ตรวจมาตรฐาน ผลการยอมรบั เปน็ 2 ผลสกุ (ขบั ปสั สาวะ ขบั เหงอ่ื และบ�ำ รงุ ก�ำ ลงั ชว่ ยยอ่ ย ลักษณะ คือ ผลที่พอจะยอมรับได้ต้องไม่เกิน อาหาร กัดเสมหะในล�ำ คอ) แกนผล เปลือก จกุ (ขบั ขอ้ กำ�หนด ไดแ้ กล่ กั ษณะ แกนด�ำ รอยชํา้ กล่นิ เนา่ ปัสสาวะ แก้กระษัย ทำ�ให้ไตมีสุขภาพดี แก้น่ิว แก้ แดดเผา เช้อื รา สัตว์กัดแทะ ผลท่ไี ม่รับซ้ือเลย ได้แก่ หนองใน มตุ กดิ ระดขู าว) เป็นตน้ ลักษณะคราบน้ํามัน มีสารเคมีตกค้าง มีโลหะติด มากับผลสารไนเตรทเกินค่ามาตรฐาน (มากกว่า 10 เปา้ หมายการผลติ สับปะรด ppm หรือ 25 มิลลิกรัม/กิโลกรัม) ในบางโรงงาน กำ�หนดผลผลิตสับปะรดต้องได้การรับรองมาตรฐาน ผลผลิตสับปะรดที่ตลาดมีความต้องการ GAP สามารถแบ่งเป็น 2 กล่มุ ได้แก่ ผลิตเพอ่ื ตลาดบริโภค ผลสดได้แก่ พันธ์ุปัตตาเวีย ภูเก็ต ศรีราชา นางแล MD2 เป็นต้น และผลิตเพ่ืออุตสาหกรรมโรงงาน แปรรูป ใช้พันธุ์ปัตตาเวียอย่างเดียวเพ่ือการแปรรูป โดยมีขอ้ กำ�หนดมาตรฐานความปลอดภยั ดังนี้ ผลสับปะรดคุณภาพมาตรฐานและ ปลอดภยั (บรโิ ภคผลสด) อา้ งองิ ขอ้ มลู จาก มาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.4-2546) - ตัวบง่ ชี้คุณภาพภายนอกผลสับปะรด : สงิ่ ท่ี มองเห็นได้ถึงความสด สะอาด ปราศจากตำ�หนิและ สง่ิ แปลกปลอม - ตัวบ่งชภ้ี ายในผลสับปะรด : สงิ่ ทีส่ มั ผสั และ ลม้ิ รสไดถ้ งึ ความสกุ แกเ่ หมาะสม เนอ้ื สเี หลอื ง รสชาติ ตัวชวี้ ดั ผลผลิตสับปะรดคุณภาพมาตรฐานความปลอดภยั กระบวนการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ การผลติ สับปะรด

บทท่ี 2 ความรู้พ้นื ฐาน เกี่ยวกบั สบั ปะรด สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับสบั ปะรด ดิน สับปะรดเจริญเติบโตได้ในดิน ไม่ร้อนหรือหนาวจนเกินไป ควรมีช่วงการเปลี่ยนแปลงคงท่ีคือ ท่ีสามารถระบายน้ําได้ดี มคี ่าความ 22 – 32 องศาเซลเซียส อุณหภูมทิ ี่ต่ําลงจะมผี ลทำ�ใหส้ บั ปะรดจะ เป็นกรดอ่อนประมาณ pH 5 – 6 ชะงกั การเจรญิ เตบิ โตแสดงอาการใบไหมแ้ ละมปี รมิ าณกรดสะสม ในดินที่มีความเป็นกรดจัดหรือด่าง ในผลสงู ท�ำ ใหผ้ ลสบั ปะรดในฤดหู นาวมกั จะมรี สชาตเิ ปรย้ี วกวา่ ฤดู จัดมีผลต่อสมดุลยของธาตุอาหาร อน่ื ๆ ในสภาพอากาศทม่ี อี ณุ หภมู สิ งู มคี วามเขม้ แสงแดดจดั จะท�ำ ให้ พชื อาจทำ�ให้ขาดธาตเุ หล็ก เชน่ ดนิ สบั ปะรดเกิดอาการใบไหมแ้ ละผลไหม้ จอมปลวกที่มีหินปูนจะมีผลทำ�ให้ ความสูงจากระดับน้ําทะเล สับปะรดสามารถเจริญ 6 สับปะรดแสดงอาหารใบเหลืองซีด เติบโตได้ในระดับความสูงต้ังแต่ 600-1,200 เมตร จากระดับ ออ่ นแอ เนา่ งา่ ย ในสภาพดนิ เหนยี ว นํ้าทะเล แต่การปลูกในสภาพท่ีสูงเกินกว่า 600 เมตร มีสภาพ ควรมกี ารปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของดนิ อากาศทมี่ ปี รมิ าณแสงนอ้ ยและอณุ หภมู ติ าํ่ จะมผี ลตอ่ คณุ ภาพและ และการระบายนาํ้ ไมใ่ ห้ขังในพืน้ ท่ี รสชาติในผลสบั ปะรดผลทีไ่ มเ่ หมาะต่อการผลติ เชิงการคา้ ปริมาณนํ้าฝน สับปะรดเป็น ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ พืชทนแล้งได้ดีแต่จำ�เป็นต้องใช้ สณั ฐานวทิ ยา สบั ปะรด (Pineapple) เปน็ พชื ในตระกลู น้ําในปริมาณที่เหมาะสมต่อการ Bromeliaceae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ananas comosus (L.) เจริญเติบโตและคุณภาพผลผลิต Merr. จัดอยู่ในกลุ่มพืชใบเล้ียงเดี่ยวมีเน้ือไม้อ่อน อายุการเจริญ ปริมาณนา้ํ ฝนที่เหมาะสมประมาณ ต่อเน่ืองนานหลายปีสามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศ 1,000 – 1,500 มม. ต่อปี มีการ ร้อนทนสภาพแห้งแล้งปลูกได้ในดินท่ัวไปไม่ชอบดินที่มีความช้ืน กระจายสมาํ่ เสมอ ในชว่ งฤดแู ลง้ ทมี่ ี สูง ลักษณะทรงต้นของสับปะรดเป็นแบบ rosette มีปล้องหรือ อากาศแห้งขาดนา้ํ มากๆ ควรมกี าร ข้อส้ันชิดกัน ใบสับปะรดจะเวียนและเบียดกันแน่นกระชับรอบ จัดเตรียมแหล่งน้ําและวางระบบ ตน้ ออกดอกเปน็ ชอ่ ทส่ี ว่ นยอดของล�ำ ตน้ หลงั ผลมกี ารพฒั นาและ น้ําป้องกันภัยแล้งท่ีจะมีผลต่อต้น เก็บเก่ียว ตาท่ีลำ�ต้นจะมีการพัฒนาเป็นหน่อใหม่ต่อไป สบั ปะรด ส่วนประกอบของโครงสร้างต้นสับปะรดประกอบด้วย 1. ราก (root) เป็นระบบรากฝอยลักษณะอวบสั้น อณุ หภมู ิ สับปะรดจะมีการเจริญ เกิดจากจุดกำ�เนิดรากท่ีอยู่ตามลำ�ต้นเหนือผิวดินบริเวณกาบใบ เติบโตได้ดีในช่วงที่มีอากาศอุ่น กระบวนการเพม่ิ ประสิทธภิ าพ การผลิตสบั ปะรด

เรยี กว่า รากมมุ ใบ (axillary root) และรากท่ีเกดิ แต่ละพันธุ์จะมีลักษณะรูปทรงของผลรวมแตก 7 บริเวณล�ำ ตน้ ใต้ดนิ เรียกวา่ รากดิน (soil root) ราก ต่างกันมีท้ังทรงกลมรีหรือทรงกระบอก ขนาด สามารถเจรญิ หย่ังลึกได้ถึง 50 เซนติเมตร ผลขึ้นอยู่กับพันธุกรรมและการจัดการผลิตที่ 2. ลำ�ต้น (stem) มลี ักษณะหนาเปน็ ขอ้ เหมาะสม ส่วนบนของผลมีจุก (crown) เป็น ปล้องส้ันๆยาวประมาณ 2-5 มิลลิเมตร มีใบหุ้มอัด ส่วนขยายพันธุ์ที่มีลักษณะคล้ายหน่อ เกิดจาก แน่น มีส่วนลำ�ต้นเหนือดินตั้งตรงยาวประมาณ 30 จุดเจริญของต้นเดิมที่มีกระบวนการเจริญเติบโต เซนตเิ มตรและอาจมสี ว่ นลำ�ตน้ โคง้ งออยู่ใต้ดิน ใหมผ่ า่ นทางผล ในระยะการสรา้ งชอ่ ดอกจะมกี าร 3. ใบ (leave) จดั อยใู่ นกลมุ่ ใบเลย้ี งเดยี่ วมี จุดเจริญขยายตัวเกิดโครงสร้างของดอกแทนที่ รปู รา่ งแคบเรยี วยาวปลายใบแหลมไมม่ กี า้ นใบ พนื้ ผวิ ใบและพัฒนาต่อเน่ืองจนส้ินสุดการเจริญแล้วจึง ใบเป็นร่องมีไขเคลือบทั้งด้านบนและใต้ใบสับปะรด กลับมาพัฒนาทางใบต่อไป จึงเกิดเป็นจุกข้ึนใน ต้ังทำ�มุมเอียงขนานกับลำ�ต้นเรียงตัวเวียนโอบรอบ ส่วนบนของผล สามารถใช้ปลูกขยายพันธ์ุต่อไป ลำ�ต้น ต้นสับปะรดรดที่มีการเจริญเต็มที่จะมีการจัด ได้ ปกติมักมีจุกเดียว การพัฒนาของผลเกิดขึ้น แบง่ กลมุ่ ใบเปน็ 5 ระดับ จากใบแกล่ ่างสุดถึงใบออ่ น ได้โดยไม่ต้องมีการผสมเกสร การผสมตัวเองไม่ ด้านบนสุด (A/B/C/D/E/F-leaves) ใบด้านล่างสุด สามารถเกิดได้เน่ืองจากหลอดเกสรตัวผู้ในดอก (A-leaves) ที่อยู่บริเวณโคนจะมีขนาดสั้นแล้วจะ ของสับปะรดพันธ์ุเดียวกันไม่สามารถผ่านเกสร ยาวมากที่สุดในส่วนกลางเรียกว่า ใบดี (D-leave) ตวั เมยี ไปถงึ รงั ไขไ่ ด้ แตถ่ า้ มกี ารปลกู พนั ธส์ุ บั ปะรด และจะคอ่ ยๆสนั้ ลงในใบออ่ นสว่ นบนสดุ กลางทรงพมุ่ หลายพนั ธจุ์ ะท�ำ ใหเ้ กดิ การผสมขา้ มพนั ธแ์ุ ละเกดิ (F-leaves) ขนาดความยาวของใบ ลักษณะหนาม เมลด็ ภายในผลยอ่ ยของสบั ปะรดจะมเี มลด็ ขนาด ขอบใบ และจ�ำ นวนใบของสบั ปะรดปกติตน้ สบั ปะรด เลก็ กลมรีสดี ำ�สามารถงอกเจรญิ เป็นต้นกล้าได้ จะมีใบประมาณ 50 – 100 ใบ ข้ึนอยู่กับพันธุ์และ 6. ตะเกียง (Slip) เปน็ ตน้ สับปะรดที่ ความสมบูรณ์ของต้น เกิดใหมจ่ ากตาบนก้านผล สามารถน�ำ ตะเกยี งไป 4. ดอก (flower) เป็นชอ่ แบบ raceme ขยายพนั ธตุ์ อ่ ได้ มีดอกย่อยและ bract เชอื่ มตดิ กันเกือบสมบรู ณ์รวม 7. หนอ่ (Sucker) เปน็ ต้นสับปะรด กนั อยบู่ นกา้ นชอ่ ดอกบรเิ วณปลายยอดของล�ำ ตน้ เปน็ ที่เกิดใหม่จากตาบนลำ�ต้น มีหลายลักษณะแยก ดอกสมบรูณเ์ พศ เรยี งเวยี นเปน็ เกลยี ว มกี ลีบเลย้ี ง 3 ตามบริเวณที่เกิดคือ หน่อที่เกิดบริเวณลำ�ตน้ ใกล้ กลบี กลบี ดอกสีฟา้ อมม่วง 3 กลบี มเี กสรตัวผู้ 6 อนั กบั รอยตอ่ กา้ นผลกบั ตน้ เรยี กวา่ หนอ่ อากาศหรอื ดอกจะบานวันละ 5 – 10 ดอก จะบานหมดช่อใน หน่อข้าง (air sucker) และหนอ่ ทีเ่ กิดจากตาบน ระยะเวลา 10 – 20 วนั ล�ำ ตน้ ทอี่ ยชู่ ดิ หรอื ใตด้ นิ เรยี กวา่ หนอ่ ดนิ (ground 5. ผลและเมล็ด เป็นผลรวม (multiple sucker) fruit) เกดิ จากผนงั รงั ไข่เชือ่ มติดกนั เรียงตัวติดกันบน บนแกนกลางกา้ นชอ่ ดอกประกอบดว้ ยผลยอ่ ย 100 – 200 ผล อดั แนน่ บนก้านผลเดยี วกันดา้ นฐานผลทีต่ ิด กบั กา้ นผลจะมผี ลขนาดใหญก่ วา่ ดา้ นบน สบั ปะรดใน กระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลติ สบั ปะรด

12 3 4 6 8 5 78 โครงสรา้ งทางลำ�ต้น (1-2) ดอกและผล (3-5) เมลด็ (6) ตะเกียงและหน่อ (7-8)

สรีรวิทยา สับปะรดจัดเป็นพืชเขตร้อน จ�ำ นวนใบประมาณ 80 ใบ สเี ขยี วเขม้ ดา้ นบนเปน็ มนั ท่ีสามารถทนต่อสภาพแห้งได้ดีจึงทำ�ให้มีกลไกที่ และมกั มเี หลอื บสแี ดงในฤดทู ม่ี แี สงแดดจดั ดา้ นลา่ ง เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตแตกต่างกับพืชปกติ ใบมีไขลักษณะเป็นขนสีเทาเงินปกคลุมอยู่ทั่วไป ทั่วไปโดยมีระบบการสังเคราะห์แสงแบบ crassu- ผลมีขนาดเฉลี่ย 1.0-2.5 กิโลกรัม ทรงกระบอก lacean acid metabolism (CAM) ซง่ึ ปากใบจะ สว่ นปลายมกั จะเรยี วเลก็ กวา่ สว่ นโคน เปลอื กผลจะ เปิดเพื่อแลกเปลี่ยนก๊าซในเวลากลางคืนทำ�ให้ลด มสี เี ขยี วเขม้ และเปลยี่ นเปน็ สเี หลอื งเมอื่ ผลสกุ ตาตนื้ การคายน้ําในเวลากลางวันสอดคล้องกับลักษณะ เนื้อสีเหลืองมีปริมาณกรดและนํ้าตาลค่อนข้างสูง ทางสัณฐานวิทยาที่จะทำ�ให้สามารถทนความแห้ง เมื่อเปรียบเทียบกับสับปะรดในกลุ่มอื่น โดยเฉลี่ย แล้งได้ดีเช่น มีไขเคลือบใบมีขนท่ีปากใบและมีร่อง มีปริมาณกรด 0.3-0.7 เปอร์เซ็นต์ และปริมาณ ใบช่วยให้เกิดการเก็บกักน้ําเช่น น้ําค้างหรือนํ้าฝน น้ําตาล 12-16 บริกซ์ สร้างตะเกียงน้อย พันธุ์ ไว้สำ�หรับใช้ในกระบวนการเจริญเติบโต ตลอดจน สับปะรดในกลมุ่ น้ีไดแ้ ก่ Smooth Cayenne หรอื มีรากอากาศของสับปะรดที่มีคลอโรฟิล์ลสามารถ พันธ์ปุ ัตตาเวยี พนั ธศ์ุ รีราชา พันธห์ุ ว้ ยม่นุ พนั ธ์ุนาง ทำ�หน้าท่ีท้ังดูดนํ้าและสังเคราะห์แสงสับปะรด แล และพันธุ์ MD2 หรอื ที่มีช่ือเรยี กทางการค้าอื่นๆ จึงสามารถเจริญเติบโตในพื้นที่แห้งแล้งได้ ใน เชน่ พันธเุ์ หลอื งสามร้อยยอดหรือพันธ์ุหอมสุวรรณ กระบวนการพัฒนาของดอกเม่ือต้นสับปะรดมีการ 2. กลุ่มควีน (Queen) ลักษณะขอบ เจริญทางใบเต็มท่ีจะมีกลไกการควบคุมการสร้าง ใบมีหนามเรียงชิดติดกันตลอดความยาวของใบ สี 9 ตาดอกท่ีมีปริมาณฮอร์โมนเอธิลีนเพิ่มสูงข้ึนจึง เขียวอ่อน มีแถบสีชมพูบริเวณกลางใบ ผลมีขนาด ท�ำ ให้สามารถใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตเป็นตวั ประมาณ 1 กิโลกรัม ทรงกระบอก ตานนู เปลือก กระตุน้ การออกดอกได้ เพ่อื สับปะรดสามารถเจรญิ หนา เปลือกผลสีเขียวปนเทาเมื่อสุกเปลือกจะมีสี เติบโตได้ในสภาวะแห้งแล้งสับปะรดจะมีกลไกการ เหลือง เน้ือผลสีเหลืองเข้มรสหวานอมเปร้ียวแกน สุกแก่ของผลแบบ non-climacteric fruit ปริมาณ และเน้ือกรอบมกี ล่ินหอมแรง มีการแตกหนอ่ มาก การหายใจภาพในผลจะคงท่ีไม่เพ่ิมสูงข้ึนเมื่อผลแก่ พันธุ์สับปะรดกลุ่มนี้ได้แก่ พันธุ์ภูเก็ต พันธุ์ตราด ท�ำ ใหข้ บวนการสกุ แกช่ า้ ลง การใหส้ ารเอทธลิ นี จาก สีทอง พันธุ์ภูแล (Mauritius Pine, Ceylon, ภายนอกจะเป็นเพียงการเปลี่ยนสีผิวแต่ไม่มีผลต่อ Malecca Queen) กระบวนการหายใจที่เพมิ่ ขึ้นภายในผล 3. กลมุ่ สเปน (Spannish) ลกั ษณะใบ แผ่ออกไม่ค่อยมีร่องกลางใบ ขอบใบมีหนามแหลม พนั ธ์ุและการขยายพนั ธ์สุ บั ปะรด รูปโค้งงอ ผลมีรูปร่างกลมน้ําหนักเฉลี่ย 1.0-1.5 พันธุ์ สับปะรดมีการจำ�แนกพนั ธุ์ออกเปน็ 5 กลมุ่ กิโลกรัม ตานูน ขนาดของตาใหญ่กว่าพวก Cayenne เน้ือในมีสีเหลืองซีดมีปริมาณเยื่อใย ไดแ้ ก่ Cayenne, Queen, Spanish, Pernambuco สูง แกนผลเหนียว กล่ินหอมแรงและรสหวานอม และ Mordilona โดยกลุ่มท่ีจัดว่ามีบทบาทสำ�คัญ เปรยี้ ว พนั ธส์ุ บั ปะรดทป่ี ลกู ในประเทศไทยนยิ มเรยี ก ทางการค้ามี 3 กลุม่ คือ ว่าสับปะรดสิงค์โปรได้แก่ พันธุ์อินทรชิตแดง และ 1. กลุ่มไคยีน (Cayenne) มีลักษณะ พันธุ์ขาว (Singapore Spanish,Green Spanish) ขอบใบเรยี บมหี นามเพยี งเล็กน้อยทสี่ ่วนปลายใบ มี กระบวนการเพมิ่ ประสิทธภิ าพ การผลิตสับปะรด

10 กระบวนการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ สายพนั ธส์ุ บั ปะรดทนี่ ยิ มปลูกเพอื่ ผลติ ในเชงิ การคา้ การผลิตสับปะรด ของประเทศไทย ได้แก่ 1. พันธุ์ปัตตาเวีย (Smooth Cayenne) มีการ กระจายพนั ธแุ์ ละตงั้ ชอื่ ตามแหลง่ ปลกู ตา่ งๆเชน่ สบั ปะรดศรรี าชา สับปะรดปราณบุรี สับปะรดกัลกัตตา สับปะรดสามร้อยยอด สับปะรดห้วยมุ่น สับปะรดนางแล สับปะรดน้ําผ้ึง เป็นต้น เป็น พันธุ์ทน่ี ิยมปลกู เพอื่ สง่ โรงงานแปรรปู สับปะรดมากกว่าบริโภคผล สด แหล่งปลูกสำ�คัญในประเทศได้แก่ ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี กาญจนบรุ ี ชลบรุ ี ระยอง เชยี งราย อตุ รดติ ถ์ พษิ ณโุ ลก และล�ำ ปาง 2. พันธ์ุภูเก็ตหรือสวี (Mauritius Pine, Ceylon, Malecca Queen) มกี ารกระจายพันธ์แุ ละตงั้ ชื่อตามแหลง่ ปลกู ต่างๆเช่น ตราดสีทอง ภูแล รสชาติหวานกรอบกล่ินหอมทำ�ให้มี การผลติ เพอื่ การบรโิ ภคผลสดเปน็ หลกั ปลกู กนั มากในจงั หวดั ภเู กต็ ตราด ระยอง ชุมพร และเชียงราย 3. พนั ธุอ์ ินทรชติ เป็นสบั ปะรดพันธพุ์ นื้ เมอื งของไทย จำ�แนกเป็น 2 สายพนั ธ์ุ คืออนิ ทรชิตแดง (Singapore Spanish) ผวิ ใบและผวิ ผลจะมสี แี ดงปนนาํ้ ตาล และอนิ ทรชติ ขาว (Selangor Green, Green Spanish) อยู่ในกลุ่ม Spanish ผิวใบและผิว ผลจะมีสีเขียวปนเหลือง นิยมปลูกมากที่อำ�เภอบางคล้า จังหวัด ฉะเชงิ เทรา 4. พันธ์ุ MD2 เป็นสับปะรดที่เหมาะต่อการบริโภค ผลสดมีศักยภาพในการส่งออก มีการกระจายพันธุ์และตั้งชื่อ เชงิ การคา้ เชน่ พนั ธเ์ุ หลอื งสามรอ้ ยยอด พนั ธห์ุ อมสวุ รรณ มกี ารปลกู ในระบบอตุ สาหกรรมส่งออกในแถบจังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ 5. พันธุ์เพชรบุรี มีการพัฒนาพันธ์ุที่ศูนย์วิจัยและ พัฒนาเพชรบุรี เป็นสับปะรดที่มีลักษณะเนื้อผลท่ีสามารถใช้มือ แกะแยกออกจากกนั ได้จงึ มีการตง้ั ชือ่ วา่ พนั ธฉุ์ กี ตา มีแหล่งปลกู ทสี่ �ำ คญั ในจงั หวัดเพชรบรุ แี ละประจวบครี ีขนั ธ์

สายพันธุ์สับปะรดที่นิยมปลูกเพื่อผลิตในเชิง การค้าของประเทศไทย สบั ปะรดพนั ธุป์ ตั ตาเวยี อินทรชิต ภเู ก็ต ภแู ล 11 MD2 เพชรบรุ ี กระบวนการเพิ่มประสทิ ธิภาพ การผลติ สบั ปะรด

13 2 12 5 ขน้ั ตอนการย้ายและ อนุบาลตน้ กล้าสบั ปะรด จากการเพาะเลี้ยง เน้ือเยอ่ื (1-8) 7 6 กระบวนการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ การผลติ สับปะรด

4 การขยายพันธ์สุ ับปะรด สบั ปะรดสามารถขยายพนั ธไ์ุ ดท้ ง้ั การใชเ้ พศโดยใชเ้ มลด็ เพาะและการแยกหนอ่ หรอื ตะเกยี งส�ำ หรบั ปลกู การเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ้ื เปน็ อกี หนง่ึ วธิ ที น่ี ยิ มใชข้ ยายเพมิ่ จ�ำ นวนตน้ สบั ปะรดซง่ึ มขี อ้ ดี คือได้จำ�นวนต้นในปริมาณมากและต้นเหมือนต้นแม่ทุกประการ ความสำ�เร็จของการขยายพันธ์ุสับปะรดวิธีเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ นอกจากการพฒั นาของตน้ กลา้ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแลว้ ยงั ขน้ึ อยกู่ บั การเพาะเล้ียงในสภาพแวดล้อมภายนอก ขน้ั ตอนการย้ายต้นกลา้ สบั ปะรดท่ีไดจ้ ากการ เพาะเล้ียงเนือ้ เย่อื 1.น�ำ ตน้ กลา้ ทเี่ จรญิ เตบิ โตทางดา้ นล�ำ ตน้ ทสี่ มบรู ณแ์ ละ มกี ารกระตุน้ ใหเ้ กิดราก 13 2. น�ำ ตน้ กลา้ ออกจากขวดทเ่ี ลย้ี ง น�ำ ไปลา้ งในนาํ้ สะอาด อยา่ งนอ้ ย 3 ครงั้ เพอื่ ลา้ งสว่ นของอาหารทเ่ี ลยี้ งออกใหห้ มด ถา้ ลา้ ง ออกไมห่ มดหรอื ไมส่ ะอาด จะท�ำ ใหต้ น้ เกดิ โรคเนา่ ไดง้ า่ ย เนอ่ื งจาก อาหารทเี่ ลี้ยงมีส่วนผสมของนา้ํ ตาลซึ่งมสี ว่ นช่วยให้เช้ือเจริญไดด้ ี 3. เม่ือล้างต้นกล้าสะอาดแล้ว นำ�ต้นกล้าท่ีได้ใส่ใน ตะกร้าแล้วนำ�ไปผ่ึงในท่ีร่มรำ�ไร ประมาณ 1 วัน หลังจากนั้นจึง 8 นำ�ไปชำ�ในวัสดุปักชำ� เช่น มีเดีย หรือทรายผสมแกลบดำ� นำ�ไป ปลูกเลี้ยงในสภาพท่ีมีการพรางแสง 50 เปอร์เซ็นต์ ให้ความชื้น พอสมควร 4. เม่ือต้นกล้าท่ีชำ�มีการฟื้นตัวดี หรือสังเกตได้จาก ส่วนของใบต้ังข้ึน จึงสามารถย้ายปลูกลงในถุงดำ�ขนาด 4x6 นิ้ว ในวัสดุปลูก นำ�ไปเล้ยี งท่ีร่มเชน่ เดียวกับท่ีช�ำ ไว้ ประมาณ 1 เดอื น จึงสามารถย้ายออกวางไว้กลางแจ้ง ในช่วงน้ี จะมีการให้ปุ๋ยเพ่ือ ให้ต้นสามารถเจริญเติบโตได้ดี เม่ือต้นมีความแข็งแรง ความสูง ประมาณ 20 เซนตเิ มตร จงึ สามารถย้ายปลกู ลงแปลงได้ กระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลติ สับปะรด

บทท่ี 3 เทคนคิ การจดั การปลกู และการดแู ลรกั ษา 1. การเตรียมต้นพันธสุ์ บั ปะรด การปลูกสับปะรดโดยท่วั ไปสามารถใชส้ ว่ นขยายพันธุ์ของต้นได้ในหลายลักษณะได้แก่ การใช้ หน่อ สามารถบงั คับการออกดอกไดต้ ัง้ แต่ 8-12 เดอื นหลังปลกู ขอ้ คำ�นึงควรมกี ารคดั เลอื กหน่อทมี่ ีขนาด ใกล้เคียงกันเพือ่ ให้ได้ต้นสับปะรดทสี่ มา่ํ เสมอกันโดยท่ัวไปจะมกี ารแบ่งหนอ่ สบั ปะรดเป็น 3 ขนาด ได้แก่ ขนาดเลก็ (300 – 500 กรมั ) ขนาดกลาง (500 – 700 กรมั ) และขนาดใหญ่ (700 – 900 กรัม) การใช้ จกุ เปน็ จกุ ทีม่ ีความสมบูรณข์ นาดใกล้เคียงกนั นํ้าหนักประมาณ 180 กรมั สามารถบงั คบั การออกดอกได้ เมอ่ื อายปุ ลกู 12–14 เดอื น การปลกู ดว้ ยจกุ หรอื หนอ่ นยิ มปลกู ในชว่ งกอ่ นเขา้ ฤดฝู นกอ่ นปลกู ควรชบุ หนอ่ พนั ธดุ์ ว้ ยสารในกลมุ่ เมธาแลคซนี ปอ้ งกนั โรครากเนา่ และการปลกู สบั ปะรดยงั นยิ มใชต้ น้ พนั ธท์ุ ข่ี ยายพนั ธุ์ มาจากการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอื่ ซง่ึ เปน็ ตน้ พนั ธท์ุ มี่ กี ารอนบุ าลในสภาพโรงเรอื นเพอ่ื ใหต้ น้ สบั ปะรดมกี ารเจรญิ 14 เติบโตปรับตัวก่อนนำ�มาปลูกในพ้ืนที่ การปลูกในพื้นที่จำ�เป็นต้องมีการนำ�ต้นสับปะรดออกมาทิ้งไว้ในที่ โลง่ แจง้ ประมาณ 1-2 สปั ดาหใ์ หม้ กี ารปรับตัวกอ่ นปลกู ลงแปลง ตน้ สับปะรดจากการเพาะเลย้ี งเนื้อเยื่อ จะให้ผลผลิตใกล้เคยี งกบั การใชจ้ กุ ปลูก การคัดเลือกขนาดและ ความสมบูรณข์ องหนอ่ เพื่อให้ สอดคล้องกบั เปา้ หมายผลผลิต คณุ ภาพ กระบวนการเพ่ิมประสิทธภิ าพ การผลติ สบั ปะรด

การเตรียมพ้ืนทแี่ ละการจัดการระบบปลกู เพื่อ ผลผลิตคณุ ภาพมาตรฐานปลอดภยั 2. การเตรยี มพืน้ ทแี่ ละการปลกู 15 ก่อนการปลูกควรมีการประเมิน ดนิ การปลูกสับปะรดทมี่ งุ่ เน้นความปลอดภยั สงู ความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยสุ่มตัวอย่างดิน ไม่มีการใช้สารเคมีในการผลิตการเตรียมแปลง วิเคราะห์ก่อนปลูก และปฏิบัติตามคำ�แนะนำ� โดยการยกแปลงแล้วคลุมด้วยพลาสติกคลุมดิน ในแต่ละแหล่งปลูก การเตรียมพื้นท่ีปลูก เพ่ือป้องกันวัชพืชและช่วยรักษาความช้ืนขนาด สบั ปะรดโดยทัว่ ไปมกั มีการไถ 2 ครง้ั คอื การ ของแปลงข้ึนอยกู่ บั ระยะการปลกู ไถดะ (ขนาดผาน 3) เปดิ หน้าดนิ ส�ำ หรับแปลง ใหม่หรือไถย่อยกลบตอสับปะรดสำ�หรับแปลง กระบวนการเพิ่มประสทิ ธิภาพ เกา่ กำ�จัดวชั พชื ลึกประมาณ 50 เซนติเมตร การผลิตสับปะรด และตากดินกำ�จัดเชื้อโรคทิ้งไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ขึ้นไป หลังจากน้ันทำ�การไถพรวน (โรตาร่ี) ย่อยดินให้มีความละเอียดอาจต้องยก แปลงหลังเตามีร่องระบายป้องกันน้ําขัง ใน พื้นท่ีมีความลาดชันสูงเนินเขาควรมีการไถ เตรียมดินตามแนวระดับ เพ่ือเป็นการป้องกัน การชะล้างหน้าดินดินและช่วยรักษาความช้ืน

ระบบปลูกสบั ปะรดแถวเดีย่ ว ระบบปลูกสับปะรดแถวคู่ 16 สับปะรดเป็นพืชท่ีสามารถปลูกได้ใน 2. การปลูกแบบแถวคู่ ระยะปลกู แบบ ทกุ ฤดกู าลแตใ่ นชว่ งฤดฝู นทมี่ ฝี นตกชกุ ไมค่ วรปลกู 2 แถว (30 x 30 X 90 เซนติเมตร) หรือแบบ 3 เพราะมกั จะมปี ญั หาโรคเนา่ การก�ำ หนดระยะปลกู แถว (30X30X30X90 เซนตเิ มตร) ในพนื้ ท่ี 1 ไร่ สับปะรดเป็นการวางแผนการผลิตเบ้ืองต้นที่จะ จะมตี น้ สบั ปะรดจ�ำ นวน 7,500 – 12,000 ตน้ ตอ่ ไร่ สามารถควบคมุ ไดท้ งั้ ปรมิ าณและคณุ ภาพผลผลติ การก�ำ หนดระยะปลกู ทหี่ า่ งจะมผี ลตอ่ ผลสบั ปะรด ท่ีมีขนาดใหญ่กว่าการใช้ระยะเบียดชิดกัน การ ปลกู แบบแถวเดย่ี วจะท�ำ ใหไ้ ดป้ รมิ าณผลผลติ นอ้ ย กวา่ แถวคแู่ ตก่ ารจดั การดา้ นอนื่ ๆในแปลงคอ่ นขา้ ง ทำ�ได้ยากล�ำ บาก โดยท่ัวไปมกั นิยม 2 รูปแบบ คือ 1. การปลูกแบบแถวเดียว ปลูกแบบ สเี่ หลย่ี มจตั รุ สั ระยะ 50 x 50 เซนตเิ มตร หรอื ปลกู แบบส่ีผืนผ้า ระยะห่างแถว 75–100 เซนติเมตร ระยะระหว่างต้น 50 เซนติเมตร ในพื้นที่ 1 ไร่ จะมตี น้ สบั ปะรดจ�ำ นวน 3,200–6,400 หนอ่ ตอ่ ไร่ กระบวนการเพิ่มประสิทธภิ าพ การผลิตสบั ปะรด

การปลูกสับปะรดโดยทั่วไปจะใช้อุปกรณ์ คือ 17 เสียมท่ีมีลักษณะแบนขนาด 15X30 เซนติเมตร เสียบ ลงในดินแล้วดันดินให้มีช่องว่างสำ�หรับนำ�หน่อวางลงไป แล้วใช้เท้ากลบดินโคนต้นให้แน่น ปัจจุบันมีการพัฒนา เทคโนโลยีการปลูกโดยใช้ชุดปลูกสับปะรดจากแรงดันน้ํา ช่วยใหป้ ระหยัดระยะเวลามากกว่าเดิม เทคนคิ การเพิม่ ประสิทธิภาพการปลกู เพ่อื เป้าหมายผลผลิต สบั ปะรดคณุ ภาพ มาตรฐานปลอดภยั กระบวนการเพิม่ ประสิทธิภาพ การผลติ สับปะรด

3. การดแู ลรักษา - การใส่ปุ๋ยสับปะรด เน้นเกิดประสิทธิภาพและ ละ 10 กรมั (1 ชอ้ น) ตอ่ ตน้ ในต�ำ แหนง่ โคนตน้ หรอื ประสิทธิผลของการใส่ปุ๋ยโดยใช้หลักการประเมิน กาบใบลา่ ง พน่ ปยุ๋ กลุม่ จุลธาตุเสริมทางใบ จากค่าวิเคราะห์ดิน/พืชสำ�หรับกำ�หนดการให้ปุ๋ย คร้ังที่ 3 การเจริญเติบโตก่อนทำ� จากข้อมูลการรายงานผลการวิเคราะห์ปริมาณธาตุ บังคบั การดอก เดือนที่ 6 หลังปลกู ใส่ป๋ยุ สูตรท่ีมี อาหารหลัก (N P และ K ) ที่ตน้ สบั ปะรดตอ้ งการ อตั ราสว่ น (N-P-K) 1:1:2 หรือ 1:2:2 ใส่ทีโ่ คนตน้ ประกอบด้วย หรอื ใบล่าง 12 กรัม (1 ช้อน) ตอ่ ต้น - ไนโตรเจน 6–9 กรัม N ต่อต้น หรือ ครง้ั ท่ี 4 การเจริญเติบโตและคุณภาพ ยเู รยี อัตรา 116–169 กิโลกรมั ต่อไร่ ของผล หลังดอกเห่ียวใส่ปุ๋ยสูตรที่มีอัตราส่วน - ฟอสฟอรัส 2–4 กรัม P2 O5 ต่อต้น 18 หรอื ทรพิ เปลิ ซเู ปอรฟ์ อสเฟต อตั รา 38–76 กโิ ลกรมั (N-P-K) 1:1:1 หรอื 1:1:2 ใสท่ โ่ี คนตน้ หรอื ใบลา่ ง ตอ่ ไร่ 12 กรัม (1 ช้อน) ตอ่ ต้น แบ่งใส่ 2 ครงั้ ห่างกัน 30 – โพแทสเซยี ม 8-12 กรมั K2 O ตอ่ ตน้ วัน ควรมีการพ่นปุ๋ยที่ธาตุแคลเซียมและกลุ่ม หรือโพแทสเซียมคลอไรด์ 113-170 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ จลุ ธาตุเสริมทางใบ การประยุกต์ใช้การผสมสูตรปุ๋ยหลัก การปรับสัดส่วนปุ๋ยเพื่อให้สามารถ (N-P-K) ตามค่าการวิเคราะห์ดินโดยใช้แม่ปุ๋ย เช่น สะดวกต่อการจัดหาปุ๋ยสามารถใช้ปุ๋ยสูตรท่ีมีใน ธาตุไนโตรเจน (ปุ๋ยยเู รยี (46-0-0) หรือแอมโมเนยี ท้องตลาดมาปรับสัดส่วนที่เหมาะสมกับแม่ปุ๋ย มซัลเฟต (21-0-0) ธาตุฟอสฟอรัส (ปุ๋ยทริพเปิล ได้เชน่ สตู ร 15-15-15, 16-16-16, 13-13-21 ฟอสเฟต (0-46-0) และธาตุโพแทสเซียม (ปุ๋ย เป็นตน้ โพแทสเซยี มไนเตรท (0-0-60) หรือปยุ๋ โพแทสเซียม ขอ้ ค�ำ นงึ การใสป่ ยุ๋ สบั ปะรดอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ฟอสเฟต (0-0-50) และกลุ่มจุลธาตุที่สับปะรด การให้ปุ๋ยกับต้นสับปะรดทำ�ได้ง่ายแต่ ต้องการโดยการพ่นทางใบโดยมีธาตุต่างๆประกอบ จำ�เป็นต้องมีความละเอียดรอบครอบพิถีพิถัน ดว้ ย บอแรกซ์ (B) 1.0 กรัม, สงั กะสี (Zn) 2.0 กรัม, ในการจัดการถึงจะเกิดประสิทธิภาพและความ ทองแดง (Cu) 2.0 กรัม, เหล็ก (Fe) 1.0 กรัม, และ คุ้มค่า ขอ้ ปฏิบัติในการให้ปยุ๋ แก่สับปะรดมีดงั นี้ เหลก็ (Fe) 2.0 กรัมละลายในนาํ้ 1 ลิตร 1. เตรียมแปลงปลูกใหเ้ หมาะสม ปรับ พ้ืนท่ีปลูกทีอาจมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต อัตราและการให้ปุ๋ยตามช่วงการเจริญเติบโตของ ของตน้ สบั ปะรดเชน่ หลมุ หรอื บอ่ ทจี่ ะท�ำ ใหเ้ กดิ นาํ้ สบั ปะรด ขัง หรือเป็นที่ลาดเทจนนํ้าฝนชะล้างได้ง่ายทำ�ให้ ครงั้ ท่ี 1 การเจรญิ ทางตน้ หลังปลูก 2-3 ประสิทธิภาพของปยุ๋ ลดลง เดอื น ใสป่ ยุ๋ ทางดนิ ทม่ี อี ตั ราสว่ น (N-P-K) 1-1-1 ตน้ 2. เลอื กพนั ธุ์และหน่อปลูกที่เหมาะสม ละ 10 กรมั (1 ช้อน) ตอ่ ตน้ ในตำ�แหน่งโคนตน้ หรอื ควรใชพ้ นั ธส์ุ บั ปะรดทเ่ี หมาะสมตอ่ พนื้ ทใี่ หผ้ ลผลติ กาบใบล่าง สงู ตา้ นทานโรค หน่อมีความสมบรู ณ์แขง็ แรงอายุ ครั้งท่ี 2 การเจริญทางต้นหลังปลกู 4-5 ไมแ่ กเ่ กนิ ไปจะท�ำ ใหต้ น้ มกี ารเจรญิ เตบิ โตพรอ้ มตอ่ เดอื น ใสป่ ยุ๋ ทางดนิ ทมี่ อี ตั ราสว่ น (N-P-K) 1-1-1 ตน้ การตอบสนองการให้ปยุ๋ เรว็ ขึน้ กระบวนการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ การผลติ สบั ปะรด

3. เลือกปลูกในช่วงเวลาท่ี 19 เหมาะสม สับปะรดสามารถปลูกได้ตลอด การจัดการปุ๋ยอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ปีการปลูกในฤดูแล้งหรือฤดูฝนถ้าได้รับน้ํา เพอื่ การผลติ สับปะรดคุณภาพ ท่ีเหมาะสมจะช่วยให้ต้นสับปะรดมีการ มาตรฐานปลอดภยั พฒั นาของรากไดเ้ รว็ สามารถดดู สารละลาย ธาตอุ าหารไปใช้ได้เร็วตามไปดว้ ย 4. วางแผนการปลูกให้เหมาะ สมต่อพื้นท่ี การปลูกสับปะรดมีจำ�นวน ต้นต่อพ้ืนท่ีน้อยหรือมากเกินไปจะมีผลต่อ ประสิทธิภาพของผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ ที่มีผลต่อความคุ้มค่าในการลงทุนซึ่งอาจ เกิดผลกระทบต่อประสิทธิภาพเชิงต้นทุน ในการใช้ปุย๋ บ้าง 5. ตำ�แหน่งและเวลาการใส่ปุ๋ย การให้ปุ๋ยสับปะรดท่ีเหมาะสมคือ กาบใบ ลา่ งหรอื โคนตน้ ตอ้ งระวงั การใหไ้ ปใหต้ กลง ในยอดอ่อน และควรใส่เม่ือดินมีความช้ืน อยู่การให้ปุ๋ยสับปะรดในสภาพขาดน้ําจะ ทำ�ให้ปุ๋ยสูญเสียไปกับการระเหยมากขึ้น การให้ปุ๋ยขณะไม่มีฝนจึงต้องมีการให้น้ํา ชว่ ย ปยุ๋ ไนโตรเจนควรหยดุ ใชห้ ลงั ออกดอก แล้วและควรหยุดการใส่ปุ๋ยทุกชนิดก่อน เก็บเก่ียว 1-2 เดือน 6. การกำ�จดั ศตั รูพชื ควรก�ำ จดั วัชพืชก่อนมีการใส่ปุ๋ยเพ่ือให้สับปะรด สามารถดูดใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ หรือสับปะรดท่ีมีการระบาดทำ�ลายของ โรค-แมลงจนท�ำ ใหอ้ งคป์ ระกอบของตน้ เชน่ ใบ หรอื รากถกู ท�ำ ลายสง่ ผลกระทบตอ่ การ เจรญิ เตบิ โตท�ำ กระบวนการดดู ใชป้ ยุ๋ ทใี่ สใ่ ห้ ไมเ่ ตม็ ประสทิ ธิภาพ กระบวนการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ การผลิตสบั ปะรด

การผลติ ปยุ๋ นาํ้ หมักจากวัสดุธรรมชาติ ช้ันบนสุดใช้มูลสัตว์ปีกทับ 1 นิ้ว (เพ่ือป้องกัน การใชป้ ยุ๋ ในการผลติ สบั ปะรดสว่ นใหญน่ ยิ ม การสูญเสียความช้ืน และเป็นแหล่งสารอาหาร ใช้ปุ๋ยเคมีเป็นหลัก เป้าหมายการผลิตสับปะรดเพื่อให้ ใหแ้ ก่เชอ้ื จลุ ินทรีย์) ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพมาตรฐานความปลอดภัยจำ�เป็น 3. การดแู ลรักษา ต้องมีการกลไกการควบคุมการใช้ปุ๋ยให้ถูกต้องและ 3.1 การรดน้ํา เพ่อื ใหค้ วามชุ่มช่ืนแก่ เหมาะสม แนวทางการจัดการปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพยัง ปุ๋ยหมักอย่างสม่ําเสมอ ระหว่าง 50-60 องศา สามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้ เกิดความปลอดภัย เซลเซียส ทั้งต่อผู้ผลิตและผู้บริโภคยังรวมถึงช่วยรักษาสภาพ 3.2 การกลับกองปุ๋ยหมัก กลับกอง แวดลอ้ มใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื ในการผลติ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ปุ๋ยหมัก 7-10 วัน/คร้ัง เพ่ือระบายอากาศเพ่ิม การผสมผสานระหว่างปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์จึงเป็น ออกซิเจนให้กับจุลินทรีย์ทำ�ให้การย่อยสลายดี แนวทางหนึ่งของการจัดการปุ๋ยให้กับสับปะรด เศษ ขึ้น รวมท้ังเป็นการคลุกเคล้าวัสดุและลดความ วัสดุธรรมชาติที่เหลือใช้สามารถนำ�มาผลิตปุ๋ยหมัก รอ้ นในกองปุ๋ยหมกั ท้ังในรูปน้ําและแห้ง กรรมวิธีการผลิตปุ๋ยเพื่อใช้ใน 3.3 การรกั ษาความช้ืน นำ�วสั ดคุ ลมุ สบั ปะรดสามารถใชข้ อ้ มลู อา้ งองิ จากพฒั นาทด่ี นิ ไดแ้ ก่ เฉพาะส่วนบนของกองปุ๋ยหมัก(แผ่นพลาสติก) 3.4 การเกบ็ รกั ษาปยุ๋ หมกั /ทเี่ ปน็ แลว้ 20 1. การผลิตปุ๋ยหมักแห้งโดยการใช้สารเรง่ พด.1 หลบแสงแดดและฝน โดยการเก็บในทร่ี ม่ ประกอบด้วย 4. การใชป้ ระโยชน์ของปยุ๋ หมกั 1. วัสดุ 4.1 การใช้ประโยชนใ์ นนาขา้ ว หว่าน - เศษพืชแหง้ 1,000 กโิ ลกรัม ในระยะข้าวก�ำ ลังเจริญเตบิ โต 0.5 ตน้ /ไร่ - ยเู รยี 2 กโิ ลกรัม 4.2 .ใช้กับพืชผักหว่านทั่วพ้ืนท่ีและ - มลู สัตว์ 200 กิโลกรัม คลุกเคล้าเข้ากับดนิ 2 ตนั /ไร่ 4.3 ใช้กบั พืชไร่ ใส่เป็นแถวตามแนว - สารเรง่ พด.1 1 ซอง ปลกู พชื แล้วคลุกเคลา้ เขา้ กับดนิ 0.5 ตัน/ไร่ 2. วิธีท�ำ 4.4 ใชก้ บั ผลไม-้ ไมย้ นื ตน้ เตรยี มหลมุ 2.1 นำ�เศษพชื ทมี่ ีช้ินส่วนท่ีใหญ่ เชน่ ฟาง ปลกู น�ำ ปมุ๋ หมกั คลกุ เคล้าเขา้ กับดนิ แล้วใสด่ ้าน ข้าว เศษหญ้า ต้นข้าวโพด ต้นอ้อย ต้นถ่ัว ต้น ลา่ งของหลมุ (รองกบั หลมุ ) ส�ำ หรบั พชื ทป่ี ลกู ใหม่ ยาสูบ ไส้ปอ และผกั ตบชวา เป็นต้น โดยปุ๋ยหมัก ขดุ รอ่ งลกึ 10 เซนตเิ มตร ตามแนวทรงพมุ่ ของไม้ 1 ตัน จะมคี วามกวา้ ง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 1.5 ผล-ไม้ยนื ต้น ใส่ปุ๋ยหมักลงในร่องแล้วใช้ดนิ กลบ เมตร ทำ�การกองปุ๋ยเป็นชนั้ ๆ จ�ำ นวน 3 ช้นั แต่ละชนั้ 25 กโิ ลกรัม/ไร่ สงู 30 เซนตเิ มตร ประกอบด้วย เศษพชื ตามดว้ ยมลู 4.5 ใชก้ บั ไมด้ อก คลกุ เคลา้ เขา้ กบั ดนิ สตั ว์ ปยุ๋ ยเู รยี และสารละลายสารเรง่ พด.1 (ละลายสาร ก่อนปลกู 2 ตนั /ไร่ เรง่ พด.1 ในนาํ้ 20 ลิตร นาน 15 นาที) การกองป๋ยุ 4.6 ใชก้ ับปศุสตั ว์ บ่อกงุ้ -บ่อปลา โรย หมักแต่ละช้ันทำ�การยำ่�ให้แน่น พร้อมกับรดนํ้าให้ชุ่ม ปุ๋ยหมกั ใหท้ ว่ั พนื้ ที่ในบ่อ ก่อนปลอ่ ยปลาเขา้ บ่อ กระบวนการเพิม่ ประสิทธภิ าพ การผลิตสับปะรด

2. การผลิตปุ๋ยหมักนํ้าจากสารเรง่ พด.2 สารเร่ง พด.2 (2 ซอง ผลิตได้จ�ำ นวน 50 ลติ ร) ถา้ ยใชว้ สั ดุ หมกั จากจากปลา/หอยเชอร่ี (ใช้เวลาหมกั 21 วัน) ประกอบดว้ ย 1. วัสดุ - ปลา หอยเชอร่ี 3 ส่วน (30 ก.ก.) - ผลไมส้ กุ 1 สว่ น (10 ก.ก.) - พชื ผักสด 1 สว่ น (10 ก.ก.) - กากนา้ํ ตาล 1 สว่ น (10 ก.ก.) - นาํ้ 20 ลติ ร - สารเร่ง พด.2 2 ซอง 2. วธิ ีทำ� 2.1 เทนํา้ 20 ลติ ร ใส่ถังแล้วเทกากนํา้ ตาล สารเร่ง พด.2 ลงไป คนให้เข้ากนั นาน 5 นาที 2.2 ห่ันผลไม้ ผลไม้สกุ หอยเชอร่ี (หอยเชอรี่ไมต่ ้องห่นั กไ็ ด)้ แลว้ น�ำ ไปเทลงในถัง คนส่วนผสม ให้เข้ากันอีกครงั้ เสร็จแล้วปดิ ฝาถงั ไมต่ ้องสนิท คนหรอื กวนทุก ๆ 7 วนั 3. คณุ ประโยชน์ 3.1 เร่งการเจรญิ เตบิ โตของรากพชื 3.2 เพิม่ การขยายตวั ของใบ และยดื ตัวของล�ำ ต้น 21 3.3 ชักน�ำ ให้เกิดการงอกเมล็ด 3.4 สง่ เสริมการเจรญิ เตบิ โตของดอกและตดิ ผลได้ดีย่งิ ขึ้น 4. อัตราในการใช้ 4.1 ไม้ผล ไมย้ นื ต้น (ยางพารา) ฉีดพ่น 7 ช้อนโตะ๊ น้าํ 20 ลิตร รดลงดนิ 10 ชอ้ นโตะ๊ น้าํ 20 ลติ ร 4.2 พืชผกั ฉดี พน่ 5 ชอ้ นโตะ๊ น้ํา 20 ลิตร รดลงดิน 10 ชอ้ นโตะ๊ นํ้า 20 ลติ ร การผลิตปุย๋ นาํ้ หมักเพื่อเสริมประสิทธิภาพและลดตน้ ทุนการผลิตสบั ปะรด กระบวนการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ การผลติ สบั ปะรด

การให้นํา้ สับปะรด สับปะรดเป็นพืชท่ีทนความแห้งแล้งแต่การผลิตสับปะรด ให้ได้คุณภาพจำ�เป็นต้องมีนํ้าท่ีเพียงพอต่อการผลิต ข้อพิจารณาใน การจดั การนาํ้ ใหก้ บั สบั ปะรดควรมกี ารใหน้ าํ้ ในชว่ งหนา้ แลง้ ทมี่ สี ภาพ ฝนทงิ้ ชว่ งนานตอ่ เนอื่ งในทกุ ระยะของการเจรญิ เตบิ โตตง้ั แตห่ ลงั ปลกู เพอ่ื ตอ้ งการใหอ้ อกรากโตเรว็ ทส่ี ดุ และใหน้ าํ้ ในชว่ งระยะทมี่ กี ารเจรญิ เติบโตของต้นเพ่ือการเจริญเติบโตต่อเนื่องได้นํ้าหนักต้นท่ีเหมาะสม ตามอายุสามารถบังคับผลได้ตามปกติ หรือบังคับผลได้เร็วข้ึนเพื่อ เก็บผลผลิตในเดือนท่ีต้องการได้ ให้น้ําในช่วงท่ีกระตุ้นการออกดอก และพัฒนาผลเพื่อให้ต้นสามารถพัฒนาออกได้อย่างสมบูรณ์ไม่ให้ผล เห่ียวผลเล็กแคะแกรนได้ผลท่ีมีขนาดและนํ้าหนักได้มาตรฐาน การ 22 ให้นํ้ายังมีผลในทางอ้อมต่อการจัดการจะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพของ การใช้ยาฆา่ หญา้ หรือปุ๋ยท่ีใหก้ ับพชื ดยี ิ่งข้ึน วธิ กี ารใหน้ า้ํ สบั ปะรดเปน็ พชื ทม่ี กี าบใบสามารถรองรบั นาํ้ และเกบ็ สะสมนาํ้ ไวร้ ะหวา่ งกาบใบ ระบบใหน้ าํ้ ทเี่ หมาะสมเปน็ ระบบ พ่นฝอยสามารถประยุกต์ได้หลายวิธี ได้แก่ ระบบสปริงเกอร์ติดตั้ง บนพ้ืนดิน ระบบสายยางฉีดพ่น ระบบหัวพ่นที่ติดกับรถนํ้าเคลื่อนที่ เป็นต้น ข้อปฏิบัติท่ีเหมาะสมในการให้นํ้ากับต้นสับปะรดช่วงเวลาท่ี เหมาะสมแกก่ ารใหน้ าํ้ ควรใหใ้ นชว่ งทม่ี คี วามเขม้ แสงแดดและอากาศ ร้อนจัดควรให้ในช่วงเวลาท่ีอากาศเย็นลงเช่น ช่วงคำ่�หรือช่วงเช้ามืด เพื่อให้ตน้ สบั ปะรดไดร้ ับน้ําอย่างเตม็ ที่ การปฏบิ ตั คิ วรมีการให้นาํ้ ต้น สับปะรดในระยะท่ีกำ�ลังเจริญเติบโตหรือหลังใส่ปุ๋ยสัปดาห์ละ 300- 500 มิลลิลิตรต่อต้น เพ่อื ให้ปุย๋ ท่ใี ส่ไมม่ กี ารตกค้าง ในระยะก่อนเก็บ เกี่ยวประมาณ 1 เดือนต้องไม่มีการให้นํ้ากับต้นสับปะรด การให้นํ้า แกต่ น้ สบั ปะรดสามารถใหป้ ยุ๋ ในรปู ปยุ๋ เกรด็ ผสมรว่ มกบั การใหน้ าํ้ ทาง ระบบสปริงเกอรช์ ว่ ยใหป้ ระหยัดเวลาลงได้ กระบวนการเพมิ่ ประสิทธิภาพ การผลิตสบั ปะรด

การจัดการนา้ํ เพอื่ ควบคุมคณุ ภาพผลผลิตสับปะรด 23 กระบวนการเพิ่มประสทิ ธภิ าพ การผลติ สบั ปะรด

โรคและแมลงศัตรสู บั ปะรด โรคผลแกรน โรคทสี่ �ำคัญของสับปะรด 1. โรคยอดเน่า มีสาเหตุเกิดจากเช้ือราหลายชนิด เช่น Phytophthora nicotianae, P. palmivora, และ P. cinnamomi แสดงอากาทโ่ี คนใบเน่า แผล สีน้ําตาลดึงหลุดออกได้ง่าย ลุกลามไปสู่ส่วนล่างของล�ำต้นและราก เช้ือสามารถเข้า ท�ำลายท�ำใหผ้ ลเนา่ เปน็ จดุ สเี ขยี วเขม้ ผา่ ดภู ายในเนอื้ เยอ่ื จะเปน็ สนี าํ้ ตาล อาการยอดเนา่ ยังเกดิ ไดจ้ ากเช้ือแบคทเี รยี Erwinia chrysanthemi อาการท่ีเกดิ จากเชอ้ื แบคทีเรยี ท�ำลายทโ่ี คนใบมลี กั ษณะชมุ่ นาํ้ เนา่ เปอ่ื ยมองเหน็ เปน็ แถบสมี ว่ งและสามารถเขา้ ท�ำลาย ผลในระยะผลแก่ 1-2 สปั ดาหก์ อ่ นเกบ็ เกย่ี วท�ำใหผ้ ลสบั ปะรดมสี เี ขยี วเขม้ มนี าํ้ ไหลออก จากผลเนื่องจากการหมักและมีก๊าซเน้ือในผลเป็นโพรง สภาพแวดล้อมท่ีมีอุณหภูมิสูง ประมาณ 25-30 Cํ และสภาพดนิ แหง้ แลง้ มสี ภาพความเปน็ ดา่ งสงู จะท�ำใหเ้ กดิ การแพร่ ระบาดของเช้ือราได้มากข้ึน การป้องกันก�ำจัดโดยการเตรียมดินรักษาความสะอาด แปลงปลูกและมกี ารระบายน้ําที่ดี และฉดี พน่ สารก�ำจัดเชอ้ื ราและเช้ือแบคทเี รยี 2. โรคผลสีชมพู สาเหตุเกิดจากเช้ือแบคทเี รีย Erwinia herbicola แสดง 24 อาการภายในเนื้อผลจะมีสีชมพูหรือนํ้าตาลในขณะท่ีลักษณะภายนอกผลปกติ มีการ ลุกลามเช่อื มตดิ กนั ท�ำให้เหน็ เป็นเนื้อเยอื่ ใส เชอื้ แบคทีเรยี จะเขา้ สู่ผลในระยะดอกบาน โดยมีไรแดงเป็นพาหะและพักตัวภายในผลจนกระทั่งผลแก่จึงแสดงอาการ ป้องกัน ก�ำจัดไดโ้ ดยการเกบ็ เก่ยี วผลเรว็ กว่าปกติและควบคมุ ไรแดง 3. โรคหนอ่ และผลเนา่ สาเหตเุ กดิ จากเชอ้ื รา Chalara paradoxa อาการ แสดงที่โคนของหน่อจะเน่านิ่มเป็นสีด�ำเน้ือเย่ือหลุดล่อนเหลือแต่เส้นใยด�ำแข็งท้ังใน ระยะกอ่ นปลูกหรอื หลังปลกู สว่ นผลจะแสดงอาการหลังจากเก็บเก่ยี วโดยผลจะนม่ิ ช�้ำ เน้ือเนา่ ด�ำมีกลน่ิ หมักและแห้งไป เชอื้ ราจะเข้าท�ำลายทางรอยแผลตัดของหน่อและใบ ทเี่ กดิ การเสยี ดสี มคี วามชนื้ ในอากาศสงู สภาพรอ้ นชน้ื จะระบาดอยา่ งรวดเรว็ ปอ้ งกนั ก�ำจัดโดยการเก็บรักษาหน่อในสภาพท่ีแห้ง แช่ในสารก�ำจัดเช้ือราเช่นเบนโนมิลก่อน ปลกู 4. โรคผลแกน เกดิ จากเชือ้ แบคทเี รยี Acetobacter peroxydans ผล ภายนอกไมแ่ สดงอาการแตจ่ ะอาการในเนอ้ื ผลทเี่ รมิ่ สกุ โดยเรมิ่ จากสขี าวและเปลยี่ นเปน็ สีนา้ํ ตาลแกมแดงเมือ่ ผลสกุ มากขึ้นเนอ้ื เยอื่ แขง็ กรอบ เกดิ กระจายท่ัวผล มักตรวจพบ ในผลอายุ 1 เดือนกอ่ นเกบ็ เก่ยี ว เช้ือจะเขา้ สผู่ ลทางแผลและทอ่ นา้ํ หวานและมีไรแดง เป็นพาหะแพร่ระบาดเช้ือจะพักตัวในดอกและผลอ่อนและจะแสดงอาการเม่ือผลแก่ สภาพอากาศที่แล้งยาวนานและมีฝนในระยะผลใกล้สุกมักจะแสดงอาการได้มาก ปอ้ งกนั ก�ำจดั โดยการรกั ษาความชนื้ ในฤดแู ลง้ ใสป่ ยุ๋ เพอ่ื ควบคมุ ความหวานในปรมิ าณ ทเ่ี หมาะสม ควบคมุ การระบาดของไรแดง



การกำ�จัดวัชพชื ควรพจิ ารณาใชส้ ารก�ำ จดั วชั พชื ในขณะทด่ี นิ ยงั มคี วามชน้ื วชั พชื มกี ารเจรญิ เตบิ โต ยงั ไมม่ กี ารออกดอก ควรฉดี ครง้ั แรกเมอื่ ตน้ สบั ปะรดยงั ไมเ่ จรญิ งอกงาม ควรเปน็ สารทมี ฤี ทธ์ิ ทง้ั ท�ำ ลายและควบคมุ การงอก ขน้ั ตอนการพน่ สารปอ้ งกนั ก�ำ จดั วชั พชื ในแปลงปลกู สบั ปะรด ประกอบด้วย การฉดี ครงั้ ท่ี 1 ระยะหลงั ปลกู สบั ปะรด 1-2 เดอื น ใชส้ ารโบรมาซลิ (bromacil) อตั รา 240 – 400 กรมั ผสมกับสารอาทราซีน หรือ ไดยรู อน อัตรา 400 – 480 กรัม ใน กรณที ่ีมผี กั ยาง (Euphorbia heterophylla) ในแปลง ไม่แนะน�ำ ให้ใชย้ าไดยูรอน ผสมน้ํา 200-500 ลิตร การฉีดสารคร้ังที่ 2 ระยะต้นสับปะรดกำ�ลังเจริญเติบโต พ่นห่างจากครั้งแรก ประมาณ 2 – 3 เดอื น เปน็ การพน่ คุมการงอกของเมลด็ การพน่ ต้องระวงั เรอ่ื งผลกระทบ ของสารเคมี (phytotoxic) ที่มตี อ่ สับปะรดใชส้ ารอาทราซีนหรอื ไดยูรอน 400 – 480 กรัม ถา้ กรณที มี่ วี ชั พชื ใบกวา้ งขนึ้ ดว้ ยในปรมิ าณมาก ควรใชอ้ ามที รนี หรอื โบรมาซลิ แทนวนั ไซด์ 26 โดยใชอ้ ตั รา 320 – 400 กรมั ผสมนาํ้ 200 - 500 ลิตร หลักการปฏิบัตกิ ารใชส้ ารกำ�จดั วชั พชื ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพในการผลติ สบั ปะรด 1. การวางแผนการปลูก การเตรยี มดนิ ทมี่ คี วามละเอยี ดปรานตี และการวางผังปลูกท่ีดีจะชว่ ย ให้การก�ำ จัดวัชพชื ในแปลงสบั ปะรดได้สะดวกยง่ิ ข้ึน 2. สภาพแวดล้อมท่เี หมาะสม การพน่ สารก�ำ จดั วัชพืชควรพ่นในขณะที่ดนิ มคี วามชน้ื เพยี งพอ 3. อตั ราการใชส้ ารเคมี ชนดิ และความหนาแนน่ ของวชั พืชจะมีผลต่อชนิดและปริมาณการใช้ สารเคมีควรศกึ ษาขอ้ มูลและปฏบิ ตั ติ ามค�ำ แนะนำ�การใชใ้ นฉลากให้ละเอยี ดเข้าใจกอ่ นใช้ 4. อปุ กรณพ์ น่ สารเคมี หวั พน่ ควรเป็นหวั ชนิดเป็นรูปพัด (fan type) และควรใช้เคร่ืองยนต์ ทมี่ แี รงดนั สงู เพอ่ื ใหส้ ารละลายกระจายจบั ใบวชั พชื ใหม้ ากทสี่ ดุ และมรี ะบบนาํ้ วนกวนสารละลาย ไม่ใหต้ กตะกอน 5. การผสมสารเคมี ควรมกี ารแยกชนดิ ของสารเคมีในการละลายนํา้ กอ่ นน�ำ มาผสมกันอยา่ น�ำ มาผสมนาํ้ พร้อมกนั เพราะจะมีผลตอ่ การละลายท่ีไมส่ มบูรณ์ ควรใช้นํ้าที่ใชผ้ สมสารจากแหล่ง นา้ํ ทีส่ ะอาด 6. อปุ กรณ์ป้องกัน ควรเลอื กใชว้ ัสดอุ ุปกรณใ์ นการพ่นสารเคมีทไ่ี ด้มาตรฐานมกี ารปฏบิ ตั ติ าม หลักการปฏบิ ตั ิทีถ่ กู ต้องอยา่ งเคร่งครัด กระบวนการเพิม่ ประสิทธภิ าพ การผลิตสบั ปะรด

ข้อควรระมัดระวังในการใช้สารเคมีก�ำ จัด 27 วัชพืช 1. การจดั เก็บสารเคมอี นั ตราย ควรมีห้องหรืออาคารที่ใช้จัดเก็บสารเคมีโดย เฉพาะที่แยกออกจากบ้านพักอาศัย เป็นห้องปิดมิดชิดไม่ ให้แสงแดดส่องถึงแต่ควรมีระบบการถ่ายเทอากาศได้ดี พอสมควรเพอื่ ไม่ให้อุณหภมู หิ ้องไมส่ งู เกนิ ไป มกี ารจัดสาร เคมใี หเ้ ปน็ หมวดหมู่ ไมค่ วรซอื้ สารเคมมี าเกบ็ ไวน้ านเกนิ ไป เพราะสารเคมอี าจจะหมดอายไุ ด้ 2. การปฏบิ ตั งิ านทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การใชส้ ารเคมี อนั ตราย ไม่ควรสูบบุหรี่เม่ือเข้าไปในห้องเก็บสารเคมี ภาชนะบรรจุสารเคมีที่ใช้หมดแล้วควรทำ�ลายให้ถูกวิธี ไม่ควรนำ�มาใช้ในกิจกรรมอ่ืนๆ ขณะใช้สารเคมีผู้ใช้จะ ต้องสวมใส่เสื้อผ้าให้มิดชิด ควรใส่ถุงมือและแว่นตาเพื่อ หลีกเล่ียงการสัมผัสถูกสารเคมีโดยตรง หลีกเลี่ยงการใช้ สารเคมีในขณะที่มีลมแรง และควรเดินฉีดตามทิศทางลม ถ้าจำ�เป็นต้องใช้ขณะมีลมควรจะเปล่ียนหัวฉีดให้ละออง สารเคมีขนาดใหญ่ และกดหัวฉีดให้อยู่ในระดับตํ่ามาก ที่สุดที่เครื่องฉีดสามารถฉีดได้ ผู้ใช้สารเคมีไม่ควร สูบบุหรี่ ด่ืมน้ํา หรือรับประทานอาหารในขณะฉีดสาร เคมี หรือชั่งตวงสารเคมี เมื่อใช้สารเคมีเสร็จแล้วควร อาบนาํ้ ช�ำ ระร่างกายทันที ทำ�ความสะอาดอุปกรณ์และ ซักเสื้อผ้าที่สวมใส่ทันที สารเคมที ่เี หลอื ใชไ้ ม่ควรเทท้งิ ลง ยงั แมน่ าํ้ หรอื ล�ำ คลอง อปุ กรณพ์ น่ สารเคมคี วรลา้ งท�ำ ความ สะอาดไม่ให้มีสารเคมเี หลือตกค้าง 3. การปฏิบตั ติ นเม่ือได้รบั สารเคมีอันตราย ถา้ ผใู้ ชส้ มั ผสั ถกู สารเคมโี ดยตรงหรอื กระเดน็ เขา้ ตา ควรรบี ล้างด้วยสบู่และนํ้าสะอาดหลาย ๆ คร้ัง ถ้าผู้ใช้หรือผู้อ่ืน กินสารเคมีเข้าไปให้รีบทำ�ให้อาเจียนออกมาทันที แล้วนำ� ผปู้ ว่ ยสง่ โรงพยาบาลหรอื สถานพยาบาลทใ่ี กลท้ ส่ี ดุ โดยดว่ น กระบวนการเพมิ่ ประสิทธิภาพ การผลิตสบั ปะรด

หลกั การปฏบิ ตั เิ พ่ือความปลอดภัยในการใชส้ ารเคมีทางการเกษตร กระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสับปะรด

บทท่ี 4 การควบคมุ และการ จัดการผลผลติ คณุ ภาพ การบังคับดอกสบั ปะรด สบั ปะรดเปน็ พชื ทมี่ กี รรมวธิ ี ได้ ในกรณีหลังการหยอดแล้วเกิดมีฝนตกลงมาทันทีหลังจาก ควบคุมให้ออกดอกได้ด้วยการใช้สาร หยอดควรทำ�การหยอดซาํ้ ในวนั 2-3 หลังหยอด การใช้เอธฟิ อน เคมกี ระตนุ้ โดยมปี จั จยั ทม่ี ขี อ้ พจิ ารณา ต้องใชท้ นั ทีหลงั ผสมน้าํ ภายใน 2 ช่วั โมง การให้สารควรใส่ในชว่ ง ด้านต่างๆก่อนทำ�การกระตุ้นการ เวลาเชา้ มดื หรอื เยน็ ถงึ กลางคนื การหยอดในชว่ งฤดรู อ้ นทม่ี อี ากาศ ออกดอกเชน่ อายุและความพร้อมของ ร้อนควรมีการเพ่ิมความเข้มข้นของสารมากกว่าเดิมอีกหนึ่งเท่า ต้นสับปะรดปกติถ้าปลูกจากหน่อจะ หลังให้สารกระตุ้นประมาณ 45 วัน สับปะรดจะเริ่มแสดงจุกสี มอี ายุประมาณ 8 เดือนข้ึนไป หรอื จกุ แดง ระยะ 60-70 วันจะแทงชอ่ ดอก ระยะ 90 วนั ดอกเรมิ่ บาน อายุประมาณ 18 เดอื น ตน้ สมบูรณ์มี จนดอกสดุ ทา้ ยเหยี่ วใชเ้ วลาประมาณ 30 วนั และเกบ็ เกยี่ วผลหลงั ขนาดน้ําหนักประมาณ 2-3 กิโลกรัม ดอกบาน 150-165 วัน 29 หรอื มปี รมิ าณใบมากกว่า 80 ใบต่อตน้ 2.สารแคลเซียมคาร์ไบด์ (CaC2) นิยมใช้กระตนุ้ การ เป็นต้น การกระตุ้นจะทำ�หลังจากให้ ออกดอกของสับปะรดในช่วงฤดูฝนโดยใช้ในรูปเม็ดนํ้าหนัก 1-2 ปุ๋ยทางกาบใบแล้วประมาณ 2 เดือน กรัมต่อต้นหยอดใส่ยอดสับปะรดแล้วหยอดน้ําตาม หรืออาจใช้ สารเคมีที่ใช้กระตุ้นคือ สารเอทธิลีน สารละลายของแคลเซียมคาร์ไบด์โดยผสมสาร 200-250 กรัม/ (Ethylene : C2H4) เป็นสารควบคุม นา้ํ 20 ลิตรปล่อยใหเ้ ดือดเตม็ ทกี่ อ่ นจงึ น�ำ ไปใชไ้ ด้ น�ำ ไปหยอดท่ี การเจริญเติบโตของพืชที่อยู่ในรูป ยอดสับปะรดต้นละประมาณ 70-80 มิลลิลติ ร นยิ มหยอดซํา้ อกี ก๊าซมีคุณสมบัติเร่งการเข้าสู่ระยะการ ครงั้ หลงั จากคร้งั แรก 5-7 วนั ชราภาพของพืช กรรมวิธีท่ีนิยมใช้ใน ปัจจัยความสำ�เร็จของการชักนำ�การออกดอกใน การกระตุ้นการออกดอกของสับปะรด สับปะรดด้วยสารเคมีมีข้อคำ�นึงในการควบคุมหลายด้าน ได้แก่ มีหลายวิธี ไดแ้ ก่ ปจั จยั ภายในดา้ นอายแุ ละขนาดตน้ สบั ปะรดตอ้ งเจรญิ เตบิ โตจนมี 1.สารเอธิฟอน ความเข้ม ขนาดพอสมควรมสี ถานะทางสรรี ะทเ่ี หมาะสม ปจั จยั สภาพอากาศ ขน้ 48 % โดยใชใ้ นอตั รา 6-8 ซซี ี ผสม ควรมีสภาพอากาศเย็นและช่วงวันสั้น ปัจจัยการจัดการอ่ืน ๆ นํา้ 20 ลติ ร ผสมปุย๋ ยูเรยี 300 กรมั (3 ที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัติ เช่น ชนิด ความเข้มข้นของสารเคมี ขีด) คนให้เข้ากันทำ�การหยอดบริเวณ จำ�นวนคร้ังท่ีให้สารเคมี และช่วงเวลาท่ีให้สารเคมีจะสอดคล้อง ปลายยอดหรือใช้การพ่นท่ัวต้นๆละ กับขนาดของผลสับปะรดมีความสัมพันธ์กับขนาดของต้นที่ระยะ 50 ซซี ี ท�ำ การให้สารซ้ําคร้ังท่สี องหลัง บังคับผลเป็นไปตามเป้าหมายขนาดผลท่ีตลาดต้องการโดยทั่วไป จากคร้งั แรก 7 วัน สารเอธฟิ อนจะซึม มกั บังคบั ผลเมื่อต้นสบั ปะรดมนี ้าํ หนกั สดประมาณ 2.5 กโิ ลกรมั เข้าไปในเนื้อเยื่อสับปะรดปลดปล่อย ขึน้ ไป การทีต่ ้นสับปะรดไดร้ บั นํ้าและปุย๋ ไนโตรเจนอย่างตอ่ เนอื่ ง เอธิลีนออกมาทำ�ให้สับปะรดออกดอก มาตลอด มีการเจริญเติบโตทางลำ�ต้นอย่างรวดเร็วจะทำ�ให้การ กระบวนการเพมิ่ ประสิทธิภาพ การผลติ สับปะรด

บงั คบั ผลไดผ้ ลนอ้ ยลงหรอื ตอ้ งใชป้ รมิ าณสารเคมมี ากกวา่ ปกติ ระดบั ของไนโตรเจนในสว่ นโคนใบสขี าวของ D-leaf มีค่าประมาณ 1.3 – 1.6 เปอรเ์ ซ็นต์ (นํา้ หนกั สด) สับปะรดจะตอบสนองต่อการกระตุน้ ไดด้ ี ในทาง ปฏบิ ตั ผิ ปู้ ลกู สบั ปะรดมกั จะงดการใหน้ าํ้ และปยุ๋ ไนโตรเจนแกต่ น้ สบั ปะรดในชว่ งกอ่ นการบงั คบั ผล 2-3 เดอื น สารละลายเอทธิลิน สารแคลเซียมคารไ์ บ 30 ยอดสบั ปะรดทไ่ี ดร้ ับสารกระตนุ้ พฒั นาการของผลและการดูแลรกั ษา หลังจากต้นสับปะรดได้รับการกระตุ้น แตผ่ ลยงั สามารถขยายอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนผลดา้ นลา่ ง ด้วยสารเคมีใบสับปะรดที่อยู่ส่วนบนจะแสดงอาการ ติดกับก้านผลเริ่มเปล่ียนเป็นสีเหลืองเป็นระยะ คล่ีตัวออกและแสดงให้เห็นส่วนของกลุ่มผลรวมสีแดง การแกส่ ามารถเกบ็ เกย่ี วไดใ้ ชร้ ะยะเวลาประมาณ อยู่ภายในจะใช้เวลาประมาณ 45 วันหลังได้รับสาร 160 วันหลังได้รับสารกระตุ้น การปฏิบัติดูแล หลังจากน้ันจะเริ่มมีขยายตัวเด่นชัดมากขึ้นมีการยืด รักษาในช่วงการพัฒนาของผลจำ�เป็นต้องมีการ ก้านช่อผลสูงข้ึนและมีการแทงกลีบดอกสีม่วงออกมา ป้องกันสภาพแวดล้อมท่ีอาจมีเกิดผลเสียต่อ บริเวณปลายผลจะใช้ระยะเวลาประมาณ 60 วันหลัง คณุ ภาพของผล เชน่ สภาพอากาศรอ้ นความเขม้ ไดร้ บั สารกระตนุ้ ผลและจกุ จะมกี ารยดึ และขยายขนาด แสงแดดสูงเกินไป หรือสภาพฝนตกมีการเกิด เพมิ่ ขนึ้ จนดอกเหยี่ วทง้ั หมดใชร้ ะยะเวลาประมาณ 100 ลูกเห็บ เป็นต้น วิธีการท่ีนิยมปฏิบัติ เช่น การ วัน หลังจากนั้นผลและจุกจะมีการเจริญขยายขนาด รวบใบสับปะรดห่อหุ้มผล การใช้วัสดุพลางหรือ อย่างต่อเน่ืองจนถึงระยะหน่ึงจุกจะหยุดการเจริญ บังแสงแดด เป็นต้น กระบวนการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ การผลิตสับปะรด

การจัดการเพ่ือป้องกันผลสบั ปะรดเสียหายจากแสงแดดและ พายุลกู เหบ็ ความผิดปกตทิ างสรรี วทิ ยาของผล อาการบา้ จกุ (Multple crown or Fasciation) เกดิ จาก 31 การแบง่ ตวั ของเซลทร่ี วดเรว็ กวา่ ปกตขิ องล�ำ ตน้ หรอื ชอ่ ดอกในชว่ งระยะ การเจริญเติบโต พบเกดิ ในสว่ นลำ�ตน้ ก้านผล ผล และจุก มกี ารแสดง อาการให้เห็นที่จุกมีจำ�นวนมากว่า 1 จุก จนถึงร้อยจุกถ้ารุนแรงมาก ผลจะบิดเบี้ยวเสียรูปทรง สาเหตุของอาการบ้าจุกยังไม่ทราบสาเหตุ ท่ีแท้จริงอาจเกิดข้ึนจากหลายสาเหตุ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพ แวดล้อมกะทันหันในช่วงออกดอกอุณหภูมิสูงเกินไปหรือได้รับน้ําและ อาการบ้าจกุ ปยุ๋ อยา่ งกะทนั หนั ภายหลงั จากทผ่ี า่ นชว่ งแลง้ มาเปน็ เวลานาน พนื้ ทปี่ ลกู ผวิ ผลแหง้ ใหมด่ นิ มคี วามอดุ มสมบรู ณเ์ กดิ ไปไดร้ บั ธาตไุ นโตรเจนมากเกนิ ไปหรอื ดนิ ขาดธาตแุ คลเซยี มหรอื สงั กะสที �ำ ใหเ้ กดิ การบา้ จกุ มากกวา่ ปกตไิ ดเ้ ชน่ กนั อาการเปลอื กผลไหม้ (Sun scald or Sunburn) เปลือกผล สบั ปะรดแสดงอาการไหมผ้ วิ แหง้ สนี าํ้ ตาลเนอื่ งจากแสงแดด โดยเฉพาะ ผลทมี่ กี า้ นผลออ่ นผลโตนา้ํ หนกั มากท�ำ ใหเ้ อยี งรบั แดดในชว่ งอากาศรอ้ น จนทำ�ให้เซลแห้งตายแสดงอาการสุกเหลืองเร็วกว่าด้านที่ไม่ได้รับแดด เปลือกผลจะมีสีน้ําตาลปนดำ�และเน้ือในมีสีขาวซีดเป็นรูพรุนและฟ่าม วธิ ปี อ้ งกนั ทด่ี ที ส่ี ดุ คอื การพรางแสงใหผ้ ลอาจจะโดยการใหห้ ญา้ แหง้ หรอื ฟางข้าว ใช้พลาสตกิ เชน่ ซาแลน ไวนิวท�ำ เปน็ หมวกหุ้มผลบังแสงแดด หรอื ทนี่ ยิ มคอื การรวบใบสบั ปะรดขนึ้ มามดั ไวเ้ หนอื ผลแตเ่ ปน็ การจดั การ ทีจ่ ะทำ�ให้ต้นทนุ เพม่ิ สงู ขน้ึ กระบวนการเพ่ิมประสทิ ธิภาพ การผลิตสับปะรด

การเกบ็ เก่ยี วและวิทยาการหลงั การเก็บเกยี่ ว ผลสบั ปะรดจดั อยใู่ นกลมุ่ non climacteric fruit อตั ราการหายใจคงทไ่ี มเ่ พมิ่ สงู ขนึ้ หลังเกบ็ เกี่ยว ดัชนกี ารเก็บเกยี่ วท่นี ยิ มใช้กับสบั ปะรดคอื การเปล่ยี นสขี องเปลอื ก อายกุ ารแก่ ของสบั ปะรดเรม่ิ นบั จากวนั ออกดอกจะใชเ้ วลาประมาณ 150-160 วนั การเปลยี่ นแปลงลกั ษณะ บง่ ชภ้ี ายนอกของผล เชน่ ลกั ษณะตาหา่ งและแบนราบ กลบี เลย้ี งเปลยี่ นจากสเี ขยี วเขม้ เปน็ สสี ม้ หรอื นา้ํ ตาลอมแดง กา้ นผลเรมิ่ แสดงการเหยี่ วตามแนวยาว ผลจะมกี ลน่ิ หอม การเปลย่ี นแปลง สารประกอบภายในผลนิยมวัดปรมิ าณของแขง็ ท่ลี ะลายนาํ้ ได้มักมีค่าตงั้ แต่ 12 % ขน้ึ ไป และ ปรมิ าณกรดรวม 0.5-1.6 % โดยทว่ั ไปมกั จะเกบ็ เกย่ี วไมพ่ รอ้ มกนั เนอ่ื งจากการออกดอกไมพ้ รอ้ ม ประเทศไทยไดม้ กี ารกำ�หนดมาตรฐานสบั ปะรดแบง่ เปน็ 2 มาตรฐาน ได้แก่ 1.มาตรฐานสบั ปะรดโรงงาน ข้อกำ�หนดเฉพาะเร่ืองขนาด (Size Specification) สับปะรดในแตล่ ะชนั้ คุณภาพต้องเป็นไปตามข้อก�ำ หนดเฉพาะ ดงั น้ี 32 1/ เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางผลวดั ท่บี ริเวณทก่ี วา้ งทีส่ ุดของผล 2. มาตรฐานสบั ปะรด (ส�ำ หรบั บรโิ ภค) มขี ้อกำ�หนดเฉพาะเร่ืองขนาดของผลสบั ปะรด ชนิดมจี กุ และไม่มจี ุก กระบวนการเพม่ิ ประสิทธภิ าพ การผลิตสบั ปะรด

สักษณะเนื้อของผลสับปะรด คุณภาพการบริโภค ผลเน้ือ 1 เนือ้ ผลฉ่ําทัง้ ผล ผลสเี หลือง รสหวานมากกว่าเปรี้ยว เก็บผลไว้ได้ประมาณ 3 วัน ผลเนื้อ 2 เน้ือผลฉํ่า 1/2 หรอื 3/4 ของผล ผลสเี หลือง รสหวานอมเปรยี้ ว เกบ็ ผลไดน้ านกวา่ เน้ือ 1 ผลเนื้อ 3 เนอื้ ผลธรรมดา สเี นอื้ ถึงเหลืองไมฉ่ ํา่ รสหวานอมเปรย้ี ว ผลเก็บไว้ได้นาน การกำ�หนดเกณฑ์มาตรฐานความแก่ของ สบั ปะรดในทางการคา้ ไดม้ กี ารก�ำ หนดการสกุ ของสบั ปะรด พันธุ์ปัตตาเวีย (Smooth cayenne) ที่แตกต่างกัน เช่น การจดั จำ�แนกของบริษทั Dole โดยเบอร์ที่เหมาะส�ำ หรับ ส่งขายต่างประเทศคือ 0-2, เบอร์ที่เหมาะส่งเข้าโรงงาน คือ 3-4, และท่ีเหมาะสำ�หรับรับประทานสดและส่งขาย ในประเทศคือ 5-6 ดงั น้คี อื (0) ตามสี เี ขยี วท้งั หมด (1) ตา เหลืองไม่เกิน 20 % (2) ตาเหลือง ไม่น้อยกวา่ 20% แต่ไม่ เกิน 40% (3) ตาเหลือง ไม่นอ้ ยกว่า 40% แต่ไมเ่ กนิ 55% (4) ตาเหลอื ง ไมน่ อ้ ยกว่า 55% แต่ไมเ่ กิน 90% (5) ตาสี เหลอื งมากกวา่ 90% แต่มสี สี ้มน้อยกว่า 20% (6) ตาสสี ้ม แดงประมาณ 20-100% (7) เปลอื กน้าํ ตาลอมแดง แสดง อาการเนา่ (อายุมากกว่า 165 วัน) เป็นต้น (ทีม่ า Dole, ตัวอยา่ งเกณฑ์ข้อกำ�หนดลักษณะ 1998) ความแก่ของผลสบั ปะรดท่ตี ลาด ตอ้ งการ กระบวนการเพม่ิ ประสิทธภิ าพ การผลิตสับปะรด

ตัวอยา่ งเกณฑ์ข้อกำ�หนดลักษณะความแก่ของผล สบั ปะรดทตี่ ลาดต้องการ 34 วทิ ยาการหลงั การเกบ็ เกย่ี ว ในการผลิตสับปะรดส่งออกเชิงการค้าจะ มีกระบวนการอย่างเป็นระบบมีการเก็บและคัดบรรจุในแปลง หรืออาจจะเก็บ จากแปลงแล้วขนส่งมาทำ�ความสะอาดในโรงงานคัดบรรจุก็ได้ สับปะรดที่ส่ง ออกขายเพื่อรับประทานผลสดจะต้องล้างทำ�ความสะอาดก่อนเคลือบไขพร้อม ผสมน้ํายาป้องกันเชื้อรา ทำ�ให้แห้งโดยการเป่าลมร้อน จากนั้นทำ�การคัดเกรด โดยใชเ้ กณฑน์ าํ้ หนกั กอ่ นจะบรรจกุ ลอ่ งตามเกรดตา่ งๆ เพอ่ื สง่ จ�ำ หนา่ ย การเกบ็ รกั ษาผลสบั ปะรดทเ่ี กบ็ เกย่ี วมาแลว้ ควรจะเกบ็ ทอี่ ณุ หภมู ิ 8-11๐C โดยสบั ปะรด เบอร์ 0-1 จะเก็บได้ 3 สปั ดาห์ที่อณุ หภูมิ 11๐C แต่ถา้ เก็บไวใ้ นอณุ หภูมิห้องจะ เกบ็ ได้ประมาณ 8 วนั ในขณะท่ีเบอร์ 2-4 จะเกบ็ ได้ 3 สปั ดาห์ทีอ่ ณุ หภมู ิ 8๐C สบั ปะรดทส่ี กุ มากจะทนอณุ หภมู ติ าํ่ ไดด้ กี วา่ ทส่ี กุ นอ้ ยซงึ่ สามารถเกบ็ ไดป้ ระมาณ 2-3 สัปดาห์ แต่ไม่ควรเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํากว่า 7๐C เพราะจะเกิดอาการ สะท้านหนาว (chilling injury) การใช้เอธิฟอนที่ความเข้มข้น 1,000-6,000 ppm ประมาณ 2 วนั ก่อนเกบ็ เกยี่ วจะช่วยให้ผิวเปลอื กมสี ีเหลืองมากข้ึน กระบวนการเพ่ิมประสิทธิภาพ การผลิตสบั ปะรด

เอกสารอา้ งอิง 35 กรมวิชาการเกษตร. มปป. การจัดการความรู้สับปะรดผลสดเชิงการค้าพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง. สำ�นักวิจัย และพัฒนาการ เกษตรเขตท8ี่ , กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ กติ ชิ ยั รตั นะ. 2549. การมสี ว่ นรว่ มในการจดั การลมุ่ นา้ํ . ภาควชิ าอนรุ กั ษว์ ทิ ยา คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. จนิ ดารฐั วรี ะวฒุ .ิ 2541. สบั ปะรดและสรรี วทิ ยาการเจริญเติบโตของสับปะรด. ส�ำ นกั พิมพม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 196 น. จริ ภา พงษจ์ นั ตา, อณั ณก์ าญจน์ นวลบญุ เรอื ง, ลชนิ ี ปานใจ และ ธญั ลกั ษณ์ บวั ผนั . 2553. การเปลยี่ นแปลง| ปรมิ าณกรดอนิ ทรยี แ์ ละนา้ํ ตาลในนา้ํ สบั ปะรดพนั ธป์ุ ตั ตาเวยี (Ananas comosus cv. Smooth Cayenne) ทตี่ า่ งพน้ื ทลี่ กู และระดบั ความสกุ . รายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณ.์ สถาบนั วจิ ยั เทคโนโลยี การเกษตรลำ�ปาง, มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา. ชชั รี นฤทมุ . 2551. การพฒั นาการเกษตรแบบมสี ว่ นรว่ ม. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรก์ �ำ แพงแสน, นครปฐม. 185 น. ชติ ิ ศรตี นทพิ ย์ สนั ติ ชา่ งเจรจา ยทุ ธนา เขาสเุ มรุ ปรญิ ญาวดี ศรตี นทพิ ย์ บรรจง วไิ ลรตั นแ์ ละอศั วนิ แกว้ เทพ. 2554. การเปรียบเทียบความแตกต่างของคุณภาพผลต่อลักษณะทางสัณฐานวิทยาและทางเคมีของ สับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งท่ี 10 จัดประชุมโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย. ณ โรงแรมมิราเคลิ แกรนด์ คอนแวนชั่น กรงุ เทพฯ. ระหว่าง วันท่ี 18 - 20 พฤษภาคม 2554. นิอร โฉมศรี. 2559. สบั ปะรดนางแลตัดแต่งพร้อมบรโิ ภค (Fresh-cut Nangleg Pineapple) สถาบันวิจัย เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา. 80 หน้า. ประธาน โพธิสวสัด์ิ. 2554. การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและคุณภาพผลผลิตสับปะรดพันธุ์ ปตั ตาเวียและพนั ธล์ุ ูกผสม. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,์ กรุงเทพ ทิศนา แขมมณี. 2545. กลุ่มสมั พนั ธ์เพ่อื การทำ�งานและการจัดการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ. รงุ่ นภา ชา่ งเจรจา. 2553. ผลของระยะเวลา ระยะดอกและระดบั นา้ํ ตาลตอ่ เปอร์เซน็ ต์การงอกของละออง เกสรของสับปะรดพนั ธป์ุ ัตตาเวยี . การประชุมวชิ าการพืชสวนแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 9. รุ่งนภา ช่างเจรจา. 2554. ผลของพนั ธ์แุ ละความเขม้ ข้นของโบรอนตอ่ การงอกของละอองเกสรสับปะรด. การประชมุ วิชาการพชื สวนแห่งชาติ ครงั้ ที่ 10. วจิ ารณ์ พานิช. 2548. องคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้และการจัดการความร้.ู จาก http://nokkrob.org/. สันติ ช่างเจรจา ยุทธนา เขาสุเมรุ ชิติ ศรีตนทิพย์ และรุ่งนภา ช่างเจรจา. 2551. ผลของจเิ บอเรลลนิ ตอ่ การชะลอการออกดอกของสบั ปะรด. ใน เอกสารประกอบการประชมุ วชิ าการ พชื สวนแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 7. จดั ประชมุ โดย คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม มหาวิทยาลัยนเรศวร พษิ ณุโลก. ระหว่าง 26-30 พฤษภาคม 2551. สันติ ช่างเจรจา ชิติ ศรีตนทิพย์ ยุทธนา เขาสุเมรุ และศิริศักดิ์ บุตรกระจ่าง. 2554. การตัดใบต่อการ ออกดอกและคุณภาพของผลสบั ปะรดทป่ี ลกู ในกระถาง. ใน เอกสารประกอบการประชมุ วชิ าการพชื สวนแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 10 จดั ประชุมโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสมาคมพืชสวนแห่ง ประเทศไทย. ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนแวนชั่น กรุงเทพฯ. ระหว่าง วันท่ี 18 - 20 พฤษภาคม 2554.

สันติ ช่างเจรจา นริศ กำ�แพงแก้ว ยุทธนา เขาสุเมรุ ศิริศักดิ์ บุตรกระจ่างและชิติ ศรีตนทิพย์ 2554. การสำ�รวจและติดตามข้อมูลด้านการผลิตของเกษตรกรต่อการใช้ประโยชน์เพ่ือการประเมิน ผลผลิตล่วงหน้าของสับปะรดในจังหวัดลำ�ปาง. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการพืชสวน แห่งชาติ ครั้งท่ี 10 จัดประชุมโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสมาคมพืชสวนแห่ง ประเทศไทย. ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนแวนชั่น กรุงเทพฯ. ระหว่าง วันที่ 18 - 20 พฤษภาคม 2554. สันติ ช่างเจรจา ชิติ ศรีตนทิพย์ ยุทธนา เขาสุเมรุ และรุ่งนภา ช่างเจรจา. 2555. การเปลี่ยนแปลงปริมาณธาตุ อาหารในใบช่วงการพัฒนาดอกและผลของสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย. วารสารเกษตรนเรศวร. 14(2). 175-180.สำ�นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2558. สารสนเทศเศรษฐกจิ การเกษตรรายสนิ คา้ ปี 2558. เอกสารสถิตกิ ารเกษตร เลขที่ 402 ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร, กรงุ เทพฯ. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ 2558. ทศิ ทางของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 . กรงุ เทพฯ. 47 น. สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน.์ 2544. สรรี วทิ ยาของพืช. สำ�นกั พิมพ์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร,์ กรุงเทพฯ. อดศิ กั ดิ์ จมู วงษ.์ 2548. การประเมนิ คณุ ภาพทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ บั ระยะการแกแ่ ละฤดกู าลปลกู ของผลสบั ปะรดพนั ธ์ุ ปตั ตาเวียในภาคเหนือของไทย. วิทยาศาสตร์ดุษฎบี ณั ฑิต (ชีววทิ ยา). คณะวทิ ยาศาสตร.์ มหาวิทยาลัย เชยี งใหม.่ Lincoln C., J. H. Britton and M. Estell. 1990. Growth and development of the axr1 mutants of Arabidopsis. Plant Cell 2: 1071–1080 Murashige, T. and F. Skoog, 1962. A revised medium for rapid growth and bioassay with tobacco tissue culture. Physiologia Plantarum., 15:473–497.

ผ้เู ขียน ชือ่ – นามสกุล : สนั ติ ชา่ งเจรจา ต�ำ แหนง่ ปจั จุบนั : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ การศึกษา : ปริญญาโท สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ (พืชสวน) มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ Email : [email protected] ชื่อ – นามสกลุ : รุ่งนภา ช่างเจรจา ต�ำ แหน่งปจั จบุ นั : ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ การศึกษา : ปริญญาเอก สาขาวิชาพืชสวน มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ Email : [email protected] ชื่อ – นามสกุล : นอิ ร โฉมศรี ตำ�แหน่งปจั จบุ นั : ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ การศึกษา : ปรญิ ญาเอก สาขาวิชา Food Science and Technology Giessen University Email : [email protected] ชือ่ – นามสกุล : ยทุ ธนา เขาสเุ มรุ ตำ�แหนง่ ปัจจุบนั : ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ การศกึ ษา : ปรญิ ญาโท สาขาวิชาปฐพีศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ Email : [email protected] ช่ือ – นามสกุล : ชิติ ศรตี นทพิ ย์ ตำ�แหนง่ ปัจจบุ ัน : รองศาสตราจารย์ การศึกษา : ปรญิ ญาเอก สาขาวชิ าพืชสวน มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ Email : [email protected] สถานท่ีติดตอ่ : สถาบันวิจัยเทคโนโลยเี กษตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 202 หมู่ 17 ตำ�บลพชิ ัย อำ�เภอเมอื งล�ำ ปาง จงั หวัดล�ำ ปาง 52000

กองบรรณาธกิ าร กระบวนการเพิม่ ประสิทธภิ าพการผลติ สับปะรด ISBN : 978-974-625-824-1 (Print) ISBN : 978-974-625-825-8 (E-Book) ที่ปรึกษา ผ้ชู ่วยศาสตราจารยป์ ระพัฒน ์ เชื้อไทย ดร.ภาสวรรธน ์ วัชรดำ�รงค์ศักดิ์ ผู้เขียน ผู้ชว่ ยศาสตราจารยส์ นั ติ ชา่ งเจรจา ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุ่งนภา ช่างเจรจา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์นอิ ร โฉมศรี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ยุทธนา เขาสเุ มรุ รองศาสตราจารยชติ ิ ศรีตนทิพย์ กองบรรณาธกิ าร นายภฤศพงศ ์ เพชรบุล ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยย์ ทุ ธนา เขาสเุ มรุ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี นายนริศ ก�ำ แพงแก้ว ว่าที่ ร.ต.รชั ต์พงษ์ หอชยั รัตน์ วา่ ที่ ร.ต.เกรยี งไกร ศรีประเสริฐ นายพษิ ณ ุ พรมพราย นายจกั รรนิ ทร ์ ชน่ื สมบัติ นางสาวรัตนาภรณ ์ สารภี นางสาวอารีรตั น ์ พิมพ์นวน นายเจษฎา สภุ าพรเหมนิ ทร์ นางสาวสธุ าสิน ี ผู้อยสู่ ุข นางสาวฉัตวณัฐ มโนพฤกษ์ นางสาวหนึ่งฤทยั แสงใส นางสาวเสาวลกั ษณ์ จนั ทรพ์ รหม นางสาวทิน ออ่ นนวล นางสาววราภรณ์ ตน้ ใส นายวีรวิทย ์ ณ วรรณมา จัดทำ�โดย สถาบนั ถ่ายทอดเทคโนโลยสี ู่ชุมชน มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 6 ต�ำ บลปา่ ปอ้ ง อำ�เภอดอยสะเก็ด จังหวดั เชยี งใหม่ 50220 พิมพท์ ่ี เอ็ม ดี ดี กรปุ๊ 28/3 หมู่ 10 ต�ำ บลปา่ ไผ่ อ�ำ เภอสนั ทราย จงั หวดั เชยี งใหม่ 50210 โทร. 09-9226-1953, 09-9239-1771


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook