Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์แบบครัวเรือน

คู่มือ การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์แบบครัวเรือน

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-06-08 11:20:42

Description: มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษา

Search

Read the Text Version

การเล้ยี งปลาดกุ ในบอ ซเี มนตแ บบครวั เรือน มกราคม 2558

บทนํา ปลาดุกในประเทศไทยที่นยิ มนาํ มาเพาะเล้ียงในอดีตนั้นแต เดิมมี 2 ชนิด แตที่นิยมในการเพาะเลี้ยง อยา งมากไดแ ก ปลาดุกอยุ (Clarias macrocephalus) เปนปลาพน้ื บานของไทยชนิด ไมมเี กล็ด รูปรางเรียวยาว มีหนวด 4 เสนท่ีริมฝปาก ผิวหนังมี สีนํ้าตาล เนื้อมีสีเหลือง รสชาติอรอยนุมนวล สามารถนํามา ปรุงแตงเปนอาหารชนิดตาง ๆ ไดมากมาย ในประเทศไทยมีพันธุ ปลาดุกอยูจํานวน 5 ชนิด แตที่เปนที่รูจัก ทวั่ ๆ ไปคือ ปลาดกุ อุย และปลาดุกดา น (Clarias batrachus) ซง่ึ ในอดีตทงั้ ปลาดกุ อยุ และปลาดกุ ดานไดมีการ เพาะเล้ียงกันอยางแพรหลาย เมื่อมีการ นําปลาดุกชนิดใหมเขามาเลี้ยงในประเทศไทย อธิบดีกรมประมง ไดมคี าํ ส่ังใหก ลุมวิจยั การเพาะเล้ียงสัตวน้ํา สถาบันวิจัยการ เพาะเล้ียงสัตวนํ้าจืดดําเนินการศึกษา พบวาเปน ปลาในตระกูล แคทฟช เชนเดียวกับปลาดุกอุย มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกา มีชื่อวา Clarias gariepinus, African sharptooth catfish เปนปลาที่มี การเจริญเติบโตรวดเร็วมาก สามารถกินอาหารไดแทบทุกชนิด มีความตานทานโรคและสภาพแวดลอมสูง เปนปลาที่มีขนาดใหญ เม่ือเจริญเติบโตเต็มที่ ปลาดุกสามารถ เจริญเติบโตไดดีท้ังในบอดิน บอพลาสติก และบอซีเมนต สวนชนิดปลาดุกท่ี เหมาะสมในการเล้ียงในบอ ซีเมนตนั้น ปลาดุกเทศ และปลาดุกเทศอุยเทศ (ลูกผสม ระหวางแมปลาดุกอุยกับพอปลาดุกเทศ) เหมาะสม มากทีส่ ดุ โดยใชระยะเวลา ประมาณ 2 - 3 เดอื น (แลว แตข นาดลูกปลาท่ีปลอย) ก็สามารถจาํ หนา ยไดแลว ขอ แตกตา งของปลาดุกอยุ และปลาดกุ เทศ ตารางแสดงความแตกตางระหวา ปลาดกุ อยุ และปลาดกุ เทศ ลักษณะ ปลาดุกอุย ปลาดกุ เทศ 1. หวั เล็กคอนขางรีไมแบน กระโหลกจะลื่น ใหญและแบนกระโหลกจะเปนตุมๆ ไม มีรอยบมุ ตรง กลางเล็กนอ ย เรยี บมีรอยบุมตรงกลางเล็กนอย 2. ใตคาง มีสีคล้ําไมข าว สีขาว 3. หนวด มี ๔ คู โคนหนวดเล็ก มี ๔ คู โคนหนวดใหญ 4. กระโหลก โคง มน หยักแหลม มี ๓ หยัก ทายทอย 5. ปาก ไมป า นคอ นขา งมน ปา น แบนหนา 6. ครบี หู มีเงย่ี งเลก็ ส้นั แหลมคมมาก ครบี แขง็ ย่นื มีเงย่ี งใหญ สั้นนม่ิ ไมแหลมคม และสว น ยาวเกินหรือเทากับครบี ออน ของครีบออ นหุมถึง ปลายครบี แข็ง 7. ครบี หลงั ปลายครีบสเี ทาปนดาํ ปลายครีบสีแดง 8. ครบี หาง กลมไมใ หญมากนกั สีเทาปนดํา กลมใหญ สเี ทา ปลายครบี มสี แี ดง และ มีแถบสีขาวลาด บรเิ วณคอดหาง 9. สัดสวนระหวาง 1 : 4 1:3

ลกั ษณะ ปลาดกุ อยุ ปลาดกุ เทศ หัว : ตวั 10. สขี องลําตัว ดํา นํ้าตาลปนดําที่บริเวณดานบนของ เทา เทาอมเหลอื ง 11. จดุ ทล่ี ําตวั ลําตวั 12. ผนงั ทอ ง ขณะที่ปลามีขนาดเล็กจะปรากฏจุดขาว ไมมีจุด เมื่อปลาโตขึ้น จะปรากฏลาย เรียงขวางเปนทางประมาณ ๙ - ๑๐ แถว คลายหนิ ออน อยทู ัว่ ตวั เมื่อปลามีขนาดใหญ จุดจะ เลือน หายไป มีสีขาวถึงเหลืองเฉพาะบริเวณอกถึง ผนงั ทองมีสขี าวตลอดจนถึง โคนหาง ครีบทอง การอนุบาลลูกปลาดกุ ลูกปลาดุกทีฟ่ กออกเปนตัวใหมๆ จะใชอาหารในถุงไขแดงท่ี ติดมากับตัว เม่ือถุงไขแดงที่ติดมากับ ลูกปลายุบใหไขไกตมสุกเอา เฉพาะไขแดงบดผานผาขาวบาง เมื่อลูกปลาอายุครบ 2 วัน สามารถขนยายได ดวยความ ระมัดระวังโดยใชสายยางดูด แลวบรรจุในถุงพลาสติกขนาด 18 น้ิว ไมควรเกิน 10,000 ตัว/ถุง หากขนสงเกิน 8 ชัว่ โมง ใหล ดจาํ นวนลกู ปลาลง การอนุบาลลูกปลาดุกในบอซีเมนต สามารถดูแลรักษาไดงาย ขนาดของบอซีเมนตควรมีขนาด ประมาณ 2 - 5 ตารางเมตร ระดับความลึกของน้ําท่ีใชอนุบาลลึก ประมาณ 15 – 30 เซนติเมตร การอนุบาล ลกู ปลาดุกที่มขี นาดเลก็ (อายุ 3 วนั ) ระยะแรกควรใสน ้ําในบอ อนุบาลลึกประมาณ 10 - 15 เซนติเมตร เมื่อลูก ปลามีขนาดใหญขึ้นจึงคอยๆเพ่ิม ระดับน้ําใหสูงข้ึน การอนุบาลใหลูกปลาดุกมีขนาด 2 - 3 เซนติเมตร จะใชเวลาประมาณ 10 - 14 วัน นํ้าที่ใชในการอนุบาล จะตองเปลี่ยนถายทุกวัน เพื่อเรงใหลูกปลาดุกกิน อาหารและมี การเจริญเติบโตดีอีกท้ังเปนการปองกันการเนาเสียของน้ําดวย การอนุบาลลูกปลาดุกจะปลอย ในอัตรา 3,000 – 5,000 ตัว/ตรม. อาหารที่ใชคือ ไรแดงเปนหลัก ซึ่งหากใหอาหารเสริม เชน ไขตุน หรือ เตา หูจะตองระวังเก่ยี วกบั การยอ ยของลกู ปลาและการ เนาเสยี ของนาํ้ ในบออนุบาลใหด ดี ว ย การอนุบาลลูกปลาดุกในบอดนิ บอดินที่ใชอนุบาลลุกปลาดุกควรมีขนาด 200 - 800 ตรม. บอดินท่ีจะใชอนุบาล จะตองมีการกําจัด ศัตรูของลูกปลากอน และพื้นกนบอควรเรียบ สะอาดปราศจาก พืชพรรณไมน้ําตางๆ ควรมีรองขนาดกวาง ประมาณ 0.5 - 1 เมตร ยาวจากหัวบอ จรดทายบอ และลึกจากระดับพื้นกนบอประมาณ 20 เซนติเมตร เพ่ือความสะดวก ในการรวบรวมลูกปลา และตรงปลายรองควรมีแองลึก มีพื้นที่ประมาณ 2 - 4 ตรม. เพ่ือเปนแหลงรวบรวมลูกปลา การอนุบาลลูกปลาดุกในบอจะตองเตรียมอาหาร สําหรับลูกปลา โดยการ เพาะไรแดงไวลวงหนาเพื่อเปนอาหารใหแกลูกปลากอนท่ีจะ ปลอยลูกปลาดุกลงอนุบาลในบอ การอนุบาล

ในบอดินจะปลอยในอัตรา 300 - 500 ตัว/ตรม. การอนุบาลลูกปลาใหเติบโตไดขนาด 3 - 4 เซนติเมตร ใชเวลาประมาณ 14 วัน แตการอนุบาลลูกปลาดุกในบอดินนั้น สามารถควบคุมอัตราการเจริญเติบโต และ อตั รารอดไดยากกวา การอนบุ าลในบอ ซเี มนต ปญหาในการอนุบาลลกู ปลา นา้ํ เสียเกิดขึน้ จากการใหอาหารลูกปลามากเกินไป หากลูกปลาปวยให ลดปริมาณอาหารลง 30 - 50 % ดูดตะกอนถายนํ้า แลวคอยๆ เติมนํ้าใหม หลังจากน้ันใชยาปฏิชีวนะออกซี เตตราซัยคลิน แชลูกปลาในอัตรา 10 - 20 กรัม/น้ํา 1 ลูกบาศกเมตร หรือไนโตรฟุราโชน 5 - 10 กรัม/นํ้า 1 ลูกบาศกเมตร วันตอๆ มาใชยา 3/4 เทา ปลาจะลดจํานวนการตายภายใน 2 - 3 วัน ถาปลาตาย เพิ่มข้ึน ควรกาํ จัดลกู ปลาท้งิ ไป เพ่อื ปอ งกนั การติดเชื้อไปยงั บอ อ่ืนๆ ข้นั ตอนการเลีย้ ง การเลย้ี งในบอ ซเี มนต 1. อตั ราปลอ ยปลาดกุ ควรปรับสภาพของนํ้าในบอที่เล้ียงใหมีสภาพเปนกลาง หรือเปนดางเล็กนอย แตตองแนใจวาบอซีเมนตจะตองหมดฤทธ์ิของปูน ลูกปลา ขนาด 2 - 3 ซม. ควรปลอยในอัตราประมาณ 100 ตวั /ตรม. เพ่ือปอ งกันโรคซ่ึงอาจ จะตดิ มากับลูกปลา ใชน้าํ ยาฟอรม าลนิ ใสในบอเลี้ยง อัตราความเขมขน ประมาณ 30 สวนในลาน (30 มิลลิลิตร/นํ้า 1 ตัน ในวันที่ปลอยลูกปลาไมจําเปนตองใหอาหาร ควรเริ่มให อาหารในวนั รงุ ขน้ึ 2. การใหอาหาร เม่ือปลอยลูกปลาดุกลงในบอแลว อาหารที่ใหในชวงท่ี ลูกปลาดุกมีขนาดเล็ก (2 – 3 ซม.) ควรให อาหารผสมคลุกน้ําปนเปนกอนใหลูกปลากิน โดยใหกินวันละ 2 คร้ัง หวานใหกิน ทั่วบอ โดยเฉพาะในบรเิ วณขอบบอ เมื่อลูกปลามีขนาดโตข้ึนความยาวประมาณ 5 - 7 ซม. สามารถฝกใหกิน อาหารเม็ดได หลังจากนั้นเมื่อปลาโตข้ึนจนมีความยาว 15 ซม. ข้ึนไป จะใหอาหารเม็ดเพียงอยาง เดียวหรือ อาหารเสริมชนิดตางๆ ไดเชน ปลาเปดผสมรําละเอียดอัตรา 9 : 1 หรือ ใหอาหารที่ลดตนทุน เชน อาหาร ผสมบดจากสวนผสมตางๆ เชน กระดูกไก ไสไก เศษขนมปง เศษเสนหมี่ เศษเลือดหมู เลือดไก เศษเก้ียว หรือเศษอาหารเทาท่ีสามารถหาได นํามาบดรวมกัน แลวผสมใหปลากิน แตการใหอาหารประเภทน้ีจะตอง ระวัง เร่ือง คุณภาพของน้ําในบอเลี้ยงใหดีเมื่อเลี้ยงปลาไดประมาณ 2 เดือน ปลาจะมีขนาดประมาณ 125 กรัม/ตัว ซ่ึงผลผลติ ท่ไี ดจะ ประมาณ 10 กก./บอ อตั รารอดตายประมาณ 80 % 3. การถา ยเทนํ้า เม่อื ตอนเรม่ิ เล้ียงใหมๆ ระดับความลึกของ น้ําในบอควรมีคาประมาณ 30 - 40 ซม. เม่ือลูกปลาเจริญเติบโต ขึ้นในเดือนแรกจึงเพ่ิมระดับน้ําสูงเปนประมาณ 50 ซม. การถายเทน้ําควรเร่ิมต้ังแต การเลี้ยงผานไปประมาณ 1 เดือน โดยถายน้ําประมาณ 20 % ของนํ้าในบอ 3 วัน/คร้ัง หรือถานํ้า ในบอเร่ิม เสยี จะตอ งถายนาํ้ มากกวาปกติ 4. การปอ งกันโรค การเกิดโรคของปลาดุกท่ีเลี้ยงมักจะเกิดจากปญหาคุณภาพ ของนํ้าในบอเลี้ยงไม ดี ซ่ึงอาจเกิดจากสาเหตุของการใหอาหารมากเกินไปจนอาหารเหลือเนาเสีย เราสามารถปองกันไมใหเกิด โรคไดโ ดยตอ งหมัน่ สังเกตวาเม่อื ปลาหยดุ กนิ อาหารจะตอ งหยดุ ใหอ าหารทนั ที เพราะปลาดุกลูกผสมมีนิสัย

ชอบกนิ อาหาร ท่ใี หใ หม โดยถึงแมจะกินอิม่ แลว ถา ใหอาหารใหมอีกก็จะคายหรือสํารอกอาหารเกา ท้ิงแลว กนิ อาหารใหใ หมอ กี ซง่ึ ปริมาณอาหารทีใ่ หไ มค วรเกนิ 4 - 5 % ของนาํ้ หนักตัวปลา โรคของปลาดุก ในกรณีท่ีมีการปองกันอยางดีแลวแตปลาก็ยังปวยเปนโรค ซ่ึงมักจะแสดงอาการ ใหเห็น โดยแบง อาการของโรคเปนกลุมใหญๆ ดังน้ี 1. การติดเชื้อจากแบคทีเรีย จะมีการตกเลือด มีแผลตามลําตัว และครีบกรอน ตาขุน หนวดหงิก กกหูบวม ทองบวม มีนํา้ ในชองทอ ง กินอาหารนอ ยลงหรอื ไมก ิน อาหาร ลอยตวั 2. อาการจากปรสติ เขาเกาะตัวปลา จะมีเมือกมาก มีแผลตามลําตัว ตกเลือด ครีบเปอย จุดสีขาวตาม ลาํ ตวั สีตามลาํ ตัวซีดหรอื เขม ผดิ ปกตเิ หงือกซีดวายนํ้าทุรน ทรุ าย ควงสวานหรอื ไมต รงทศิ ทาง 3. อาการจากอาหารมีคุณภาพไมเ หมาะสม คอื ขาดวิตามนิ บีกระโหลกรา ว บริเวณใตคางจะมีการตก เลอื ด ตัวคด กินอาหารนอ ยลง ถา ขาดวติ ามนิ บปี ลาจะ วา ยนาํ้ ตัวเกรง็ และชกั กระตุก 4. อาการจากคุณภาพนํ้าในบอไมดี ปลาจะวายน้ําขึ้นลงเร็วกวาปกติครีบ กรอนเปอย หนวดหงิก เหงือกซีดและบวม ลําตัวซีด ไมกินอาหาร ทองบวม มีแผล ตามตัว อน่ึง ในการรักษาโรคปลาควรจะได พิจารณาใหรอบคอบกอนการตัดสินใจเลือก ใชยาหรือสารเคมีสาเหตุของโรค ระยะรักษา คาใชจายในการ รกั ษา วิธีการปองกันเกดิ โรคในปลาดุกลูกผสมทเ่ี ล้ียง 1. ควรเตรยี มบอและนํา้ ตามวิธีการท่ีเหมาะสมกอ นปลอยลูกปลา 2. ซ้ือพนั ธุป ลาจากแหลง ที่เชอ่ื ถอื ไดว าแขง็ แรงและปราศจากโรค 3. หมั่นตรวจดูอาการของปลาอยางสม่ําเสมอ ถาเห็นอาการผิดปกติตองรีบหา สาเหตุและแกไข โดยเรว็ 4. หลังจากปลอยปลาลงเลี้ยงแลว 3 - 4 วัน ควรสาดน้ํายาฟอรมาลิน 2 - 3 ลิตร/ปริมาตร นํ้า 100 ตัน และหากปลาท่ีเล้ียงเกิดโรคพยาธิภายนอกใหแกไขโดย สาดนํ้ายาฟอรมาลินในอัตรา 4 - 5 ลิตร/ปริมาตรนํ้า 100 ตนั 5. เปล่ยี นถา ยนํ้าจากระดบั กน บออยางสมาํ่ เสมอ 6. อยาใหอาหารจนเหลือ การลงทุน ตน ทุน คา พันธปุ ลาดกุ 100 ตวั ๆ ละ 0.2 บาท รวม 20.00 บาท คา อาหารปลาดกุ 15 กก.ๆ ละ 22.50 บาท รวม 337.50 บาท รวมตนทุน 357.50 บาท รายได ปลาดุก 10 กก.ๆ ละ 45 บาท กาํ ไร (9.25 ตอ กโิ ลกรัม) รวม 450.00 บาท 92.50 บาท

ท้ังน้ี หากใชอาหารที่ผลิตเองจะตองใชตนทุนประมาณ 10 บาทตอกิโลกรัม ผลกําไรจะเพ่ิมขึ้นเปน 250 - 280 บาท (25 - 28 บาท/กิโลกรมั ) ในเกษตรกรที่ตองการเล้ียงเพ่ือเปนรายไดเสริมอาจจะตองใชอาหารท่ีผลิตเอง เพ่ือลดตนทุน และ แนะนําใหเลย้ี งในบอซีเมนตขนาดกวา ง 2 เมตร ยาว 4 เมตร ขน้ึ ไป จะไดผ ลผลิตเพ่ิมข้ึน และคุมคากับเวลาท่ี ดูแลระหวางการเลี้ยง ตนทุน คา พนั ธุป ลาดุก 800 ตวั ตัวละ 0.2 บาท รวม 160.00 บาท คาอาหารปลาดุก (ทําเอง) 120 กก.ๆ ละ 10 บาท รวม 1,200.00 บาท รวมตน ทนุ 1,360.00 บาท รายได ปลาดุก 80 กก.ๆ ละ 45 บาท รวม 3,600.00 บาท กําไร (28 บาทตอกโิ ลกรมั ) 2,240.00 บาท สตู รอาหารปลาดุกอยางงา ย สตู รอาหารปลาดกุ อยา งงายท่เี กษตรกรสามารถหาวัตถุดิบไดในพ้ืนท่ี สามารถ ทําไดเอง จะสามารถ ลดตนทุนการเล้ียงไดกวารอยละ 50 โดยมีข้ันตอนงายๆ ใน การทําอาหารปลาดุกจํานวน 10 กิโลกรัม มีอัตราสว นผสมของวตั ถุดิบดงั น้ี ปลาปน 1 กิโลกรมั รําออน 5 กิโลกรัม ขา วโพดบด 2 กโิ ลกรมั ปลายขาวบด 2 กโิ ลกรมั ประโยชนการเลี้ยงปลาดุกในบอซเี มนต 1. ใชพ น้ื ทีน่ อย สามารถเลย้ี งไดทุกที่ 2. ใชเ วลาเลย้ี งสั้น รุน ละประมาณ 90 - 120 วนั 3. ปลาดุกเปน ปลาท่อี ดทนตอสภาพน้าํ ไดดี 4. สามารถเลีย้ ง ดแู ลรกั ษาไดส ะดวก บรโิ ภคในครวั เรอื นและสวนทเี่ หลือนําไปจาํ หนายได การเลือกสถานท่ีสรา งบอ 1. การเลอื กสถานทีส่ รา งบอ - บอ ควรอยใู กลบ าน หรอื ทส่ี ามารถดแู ลไดสะดวก - ควรอยูในรมหรือมีหลังคา เพราะปลาดุกไมชอบแสงแดดจัด และปองกันเศษใบไมลงสูบอจะทําให นาํ้ เสียได - มแี หลงนาํ้ สาํ หรับเปลี่ยนถายนํ้าไดส ะดวกพอสมควร 2. การสรา งบอ - บอขนาดเสนผานศนู ยก ลาง 1 เมตร สูงประมาณ 40 ซม.

- ควรมี 2 บอ เพ่ือใชค ดั ขนาดปลาและสํารองนา้ํ ไวถา ยเท - ผนังและพ้ืนบอ ควรใสส ารกันรัว่ ซึม - มที อ ระบายน้าํ เพ่อื ชวยในการถายเทนํา้ การเตรียมบอ กอนการเลีย้ ง 1. การเตรียมบอกอนการเลี้ยงปลา ใหตัดตนกลวยเปนทอใสลงไปในบอ เติมน้ําใหทวม แชไว 3 - 5 วัน เปลีย่ นตนกลวยแลวแชไวอ ีกคร้ังเพอ่ื ใหห มดฤทธ์ิปูนขาว แลวลางบอใหสะอาด 2. ตรวจสอบสภาพน้ําใหเปน กลางหมดฤทธ์ิของปนู ถา มตี ะใครนํา้ เกาะติดท่ขี า งบอ ปนู ถงึ จะดี 3. น้ําที่จะใชเล้ียงคือน้ําจากคลอง หนอง บึง ตองตรวจสอบวามีศตั รูปลาเขา มาในบอดวยหรอื เปลา 4. นาํ้ ฝน นํ้าบาดาล นาํ้ ประปา ควรพกั นา้ํ ไวป ระมาณ 3 - 5 วัน กอนนํามาใชได อตั ราการปลอยปลาและเลี้ยง 1. ปลาเริ่มเลยี้ งความยาว 5 -7 ซม. 2. อตั ราการปลอยลงเล้ียงในถังซเี มนตกลมเสนผา นศนู ยก ลาง 1 เมตร ถึก 40 ซม. ประมาณ 80 - 100 ตัว 3. กอ นปลอยปลาลงเลี้ยงควรใสเกลอื แกลงประมาณ 2 - 3 ชอนแกง เพอ่ื ชว ยปรบั สภาพนํ้า 4. ระดับนํ้าทป่ี ลอยปลาครั้งแรก 10 -15 ซม. 5. การปลอยปลาควรปลอยในตอนเชา 6. ควรนําถุงปลาที่จะปลอยลงเลี้ยงแชในบอประมาณ 30 นาที เพ่ือใหอุณหภูมิน้ําในถุงปลาและนํ้าใน บอไมแตกตา งกันปอ งกนั ปลาตายได 7. ควรมีวัสดุใหปลาหลบซอน เชนทอพีวีซีตัดเปนทอนหรือกระบอกไมไผ เพราะปลาตัวใหญจะกวน ปลาตวั เลก็ 8. ควรมกี ารคัดขนาดปลา เม่อื มีอายุประมาณ 15 -20 วัน โดยนาํ ตัวเลก็ แยกไวอ กี บอหนึง่ 9. ควรมีวัสดุชว ยบังแสงแดด การถายนาํ้ 1. เร่มิ เลยี้ งระดับนา้ํ ลึก 10 - 15 ซม. 2. เพมิ่ ระดบั นาํ้ อกี 5 - 10 ซม. เม่ือเลีย้ งไปได 10 - 15 วนั ของน้ําในบอ 3. ระดบั น้าํ สูงสดุ ไมเกิน 40 ซม. 4. ถา ยเทนํ้าทุก 5 -7 วนั 5. ถายเทน้ําแตละครั้งไมควรถายจนหมด ถายน้ําประมาณ 1 สวน 3 6. ขณะถา ยเทน้าํ ไมค วรรบกวนใหป ลาดกุ ตกใจเพราะปลาจะไมกินอาหาร 2-3 วนั

อาหารและการใหอาหาร 1. อาหารสาํ เรจ็ รปู ชนดิ เมด็ ลอยน้ํา - ปลอ ยปลาขนาด 5-7 ซม. ใหอาหารปลาดุกเลก็ - ปลาขนาด 7 ซม. ข้ึนไป ใหอาหารปลาดุกรุน 2. อาหารสด เชน เศษปลา ไสไก ปลวก โครงไก การใหอาหารควรใหอาหารวันละประมาณ 3 ครั้ง ในชวงเชา-เยน็ ใหอาหารประมาณ 3-5 เปอรเซ็นตของน้าํ หนักตวั ปลาตอ วัน (หรอื ใหกินจนอม่ิ ) แนวโนมตลาด 1. ปลาดกุ เปนปลาเล้ียงงา ยเจรญิ เตบิ โตเร็วจึงมีเกษตรกรนิยมลี้ยงเปนจํานวนมากสงผลใหราคาปลา ดกุ ไมเ คลือ่ นไหวมากนัก 2. เน่อื งจากอุปนิสัยของคนไทยซึ่งนิยมบริโภคเนอ้ื ปลาอยูแลว ถาสามารถลดตนทุนการผลิตเพื่อให ราคาต่ําลงไดแลว จะทําใหการบรโิ ภคสงู ขึ้น 3. ผลผลติ จากแหลง า้ํ ธรรมชาติลดลงอันเนื่องมาจากแหลงนํ้าธรรมชาติเส่ือมโทรมก็จะมีผลทําใหมี การบรโิ ภคปลาจากการเพาะเล้ยี งมากข้นึ 4. ในปจจบุ นั มกี ารรณรงคบรโิ ภคอาหารโปรตนี จากเนื้อปลาเพราะใหโปรตีนสูงยอยงายและมีราคา ถกู

มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพธนบรุ ี