Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยาเสพติด

ยาเสพติด

Published by Thankhun Jaimon, 2022-08-23 05:08:43

Description: ยาเสพติด

Search

Read the Text Version

ยาเสพติด

คำนำ ปั ญหายาเสพติดเป็ นปั ญหาสังคมและมีผลกระทบโดยตรงตอ ทังตัวผู้ติด/ผู้เสพยาเสพติด ชุมชน สังคม และประเทศชาติ จึงทําให้รัฐบาลในทุกยุคทุกสมัยให้ความสําคัญและกําหนด เป็ นวาระแห่งชาติ เพือแก้ไขปั ญหายาเสพติดและจะต้อง ควบคุม ป้ องกัน และปราบปรามปั ญหายาเสพติด ซึงการ แก้ไขปั ญหายาเสพติดทีมุ่งเน้นตัวผู้ติด ผู้เสพยาเสพติดทีเป็ น ตัวการหลักในการใช้ยาเสพติดนัน ถือเป็ นทางหนึงในการ แก้ไขปั ญหายาเสพติด โดยการนําผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเห ล่านันเข้าสู่ กระบวนการบําบัดรักษายาเสพติดระบบแบบ สมัครใจในรูปแบบค่ายปรับเปลียนพฤติกรรม ภายใต้ ชือ “ศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัดนครสวรรค์” เพือปลูกฝั งจิตสํานึก ให้ผู้เข้ารับการบําบัดรักษาได้มี ส่วนร่วมและสมัครใจเข้ารับ การปรับเปลียนพฤติกรรมได้เห็นคุณค่าในตนเอง เลิกใช้ยา เสพติดและ กลับเป็ นคนดีของสังคมก็จะทําให้ชุมชน หมู่บ้าน สังคมและประเทศชาติ มีความมันคงและ ปลอดภัยจากยา เสพติดมากยิงขึน และจากการดําเนินงานจัดทําค่ายศูนย์ขวัญ แผ่นดินจังหวัด นครสวรรค์ ตังแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๘ พบว่า ปั ญหา ยาเสพติดในพืนทีจังหวัดนครสวรรค์เบาบางลง และ ศูนย์ ขวัญแผ่นดินยังเป็ นต้นแบบ การแก้ไขปั ญหายาเสพติดทีใช้ ระบบบําบัดแบบสมัครใจไป ทัวประเทศ

สารบัญ หน้า เรื่อง 1 2 คำนำ 3 สารบัญ 4-5 สารเสพติด 6 7 ประเภทของยาเสพติด 8 9 ข้อเสียของยาเสพติด อาการของยาเสพติด วิธีการป้ องกันตัวเองจากยาเสพติด อ้างอิง

ยาเสพติด หมายถึง ยา หรือสารเคมี หรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ ร่างกายแล้วจะติด และต้องเสพอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดพิษเรื้อรัง มี ผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ เช่น เฮโรอีน โคเคน ฝิ่น กัญชา ยาบ้า ยาแก้ปวด สุรา และ สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่ สังเคราะห์ขึ้น เมี่อนำเข้าสู้ ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ท าให้เกิดผลต่อร่างกายและ จิตใจ นอกจากนี้ยังจะทำให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็น ประจำทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้ง ลักษณะสำคัญของสารเสพติด จะทำให้เกิดอาการ

ประเภทของยาเสพติด มีอยู่ 4 ประเภท 1. ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่ น มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และยากล่อมประสาท 2. ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม และ โคเคน

3. ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย 4. ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กล่าวคือ อาจกดกระตุ้น หรือ หลอนประสาทได้พร้อม ๆ กัน ตัวอย่างเช่น กัญชา

อาการของยาเสพติด ผู้เสพติดจะมีกลิ่นสารระเหยทางลมหายใจ และตามเสื้อผ้า มัก ง่วงเหงาหาวนอน ขาดสติสัมปชัญญะ มีอาการเหมือนคนเมา เหล้า พูดจาอ้อแอ้ เดินโซเซ น้ำมูกไหล มักมีแผลในปาก ในที่ ส่วนตัว อาจพบภาชนะ หรือวัสดุใส่สารระเหยซุกซ่อนไว้ หาก พบขณะกำลังเสพอาจเห็นที่นิ้วมือมีผ้าสำลี ซึ่งชุบสารระเหย พันอยู่ และผู้เสพยกนิ้วนั้นขึ้นสูดดมอยู่ตลอดเวลา

วิธีการป้องกันตัวเองจากยาเสพติด 1. ไม่ทดลองเสพสิ่งที่รู้ว่ามีภัย เพราะอาจจะทำให้ ติดได้ง่าย 2. เลือกคบเพื่อนที่ดี พยายามหลีกเลี่ยงเพื่อนที่ ชอบชักจูงไปในทางเสื่อมเสีย 3. รู้จักใช้วิจารณญาณในการแก้ปัญหา แต่ หากว่าไม่สามารถแก้ไขเองได้ ก็ควรจะปรึกษากับ พ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ่ที่ไว้ใจได้ 4. การสร้างทักษะชีวิต โดยเฉพาะทักษะการ ปฏิเสธเมื่อถูกเพื่อนชักชวนให้เสพสิ่งเสพติดต้อง รู้จักปฏิเสธอย่างนุ่มนวล โดยการชี้แจงผลเสียของ สิ่งเสพติดต่อการเรียนและอนาคต การรู้จักปฏิเสธ อย่างจริงจังและจิตใจแน่วแน่จะทำให้เพื่อนเกรงใจ ไม่กล้าชวนอีก

แหล่งอ้างอิง https://webportal.bangkok.go.th/lab/pa ge/main/2162/0/1/info/60062/%E0%B8 %A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8% AA%E0%B8%9E%E0%B8%95%E0%B8%B 4%E0%B8%94 http://bangtakean.go.th/public/news/d ata/detail/news_id/62/menu/132 http://www.thatoomhsp.com/userfiles/ %E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80% E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%95%E 0%B8%B4%E0%B8%9401.pdf http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFO CENTER24/DRAWER070/GENERAL/DAT A0000/00000032.PDF

Thyoaun!k ขอบคุณครับ :\")


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook