Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล (4)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล (4)

Published by Kanokkhwan Sirirumran, 2022-09-01 02:39:06

Description: การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล (4)

Search

Read the Text Version

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลในอาชีพของการเป็น พลเมืองยุคดิจิทัล (Digital Citizenship)

ความหมายพลเมืองดิจิทัล พลเมืองผู้ใช้งานสื่อดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลน์ที่ เข้าใจบรรทัดของการปฏิบัติตนให้เหมาะสมและมีความ รับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยีโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ สื่อสารในยุคดิจิทัลเป็นการสื่อสารที่ไร้พรมแดน

มิติของพลเมืองดิจิทัล มิติด้านความรู้เกี่ยวกับสื่อและสารสนเทศ พลเมืองยุคใหม่จึงต้องมีความรู้ด้านเทคนิคในการเข้าถึงและใช้ เครื่องมือดิจิทัล เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ตได้อย่าง เชี่ยวชาญ (Expert) รวมถึงทักษะ (Skill) ในการรู้คิดขั้นสูง เช่น ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ๊ ซึ่งเป็นการต่อการเลือกจัด ประเภท วิเคราะห์ ตีความ และเข้าใจข้อมูลข่าวสาร

มิติของพลเมืองดิจิทัล มิติด้านจริยธรรม พลเมืองที่ดีจะต้องรู้จักคุณค่าและจริยธรมจากการใช้ เทคโนโลยี ไม่มีการล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลอื่น และ ไม่มีการให้ร้าย และการกล่าวหาที่ไม่มีข้อเท็จจริง

มิติของพลเมืองดิจิทัล มิติด้านการมีส่วนร่วมทางการเมืองและสังคม พลเมืองดิจิทัลต้องรู้จักใช้ศักยภาพของอินเทอร์เน็ตในการมี ส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม อินเทอร์เน็ตเป็นได้ทั้ง เครื่องมือเพื่อการการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบบ เช่น รัฐบาล ใช้อินเทอร์เน็ตในการรับฟังความเห็นของประชาชนก่อนออก กฎหมายการลงคะแนนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Voting) หรือการยื่นคำร้องออนไลน์ (Online Petion)

แนวคิดในการเป็นพลเมืองดิจิทัล 1.ความเป็นพลเมืองชาติตามขนบธรรมเนียม (Traditional Citizenship) การเป็นสมาชิกภายใต้กฎหมายของรัฐบาลที่ตนสังกัด หรือที่เรียกว่า ความเป็น พลเมืองภายใต้กฎหมาย (Legal Citizenship) สิ่งที่สำคัญในแนวคิดนี้คือ การ มีความรู้เกี่ยวกับรัฐบาลและหน้าที่พลเมืองตามกฎหมาย เช่น การไปเลือกตั้งและ จ่ายภาษี

แนวคิดในการเป็นพลเมืองดิจิทัล 2.ความเป็นพลเมืองโลก (Global Citizenship) แนวคิดความเป็นพลเมือง โลกตระหนักถึงความเชื่อมโยงและการพึ่งพาอาศัยกันในระดับโลก และมี จิตสำนึกร่วมถึงปัญหาในระดับโลก เช่น ปัญหาโลกร้อน พลเมืองที่อาศัยในสังคม โลกจึงต้องม่ีความสามารถและความเข้าใจในระดับโลก ตัวอย่างเช่น ความ สามารถในการเชื่อมโยงปรากฎการณ์ระหว่างทอ้งถิ่นกับโลก และทักษะการ ทำงานร่วมกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างทั้งในเชิงภาษา วัฒนธรรม และเชื้อชาติ

แนวคิดในการเป็นพลเมืองดิจิทัล 3.ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) คือ ความสามารถใน การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อมีส่วนร่วมในสังคมเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบ และความปลอดภัย เช่น การสอดแนมความเป็นส่วนตัว อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ดังนั้นในฐานะพลเมืองดิจิทัลจึงต้องตระหนักถึงโอกาส และความเสี่ยงในโลกดิจิทัล พัฒนทักษะและความรู้ที่จำเป็นในโลกใหม่ และ เข้าใจถึงสิทธิและความรับผิดชอบในโลกออนไลน์

ประเภทของพลเมืองดิจิทัล กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มที่ชอบการตลาดออนไลน์ คือ การขาย (Sales) การตลาด (Marketing) นักรีวิว (Reviewer) บล็อกเกอร์ (Blogger) ยูทูบเบอร์ (Youtuber)

กลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มที่มีความชอบด้านเทคโนโลยี (Technology) คนกลุ่มนี้มีองค์ความรู้และถนัดด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ เขียนโปรแกรมได้ นักพัฒนาแอปพลิเคชัน (Application Creator) นักสร้างเนื้อหา (Content Editor) คนดูแลเฟชบุ๊ก (Facebook)

คุณลักษณะที่ดีของ พลเมืองดิจิทัล

1. การตระหนักถึงความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยี ดิจิทัลของผู้อื่น พลเมืองดิจิทัลที่ดีจึงไม่ควรเลือกปฏิบัติและดูหมิ่่นบุคคลผู้ ขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หากแต่จะต้องช่วยกัน แสวงหามาตรการต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างความเสมอภาคในการเข้า ถึงเทคโนโลยีดิจิทัล อาจจะทำให้สังคม และประเทศนั้ัน ๆ ก้าวสู่ ยุคดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. การเป็นผู้ประกอบการและผู้บริโภคที่มีจริยธรรม ผู้ประกอบการและผู้บริโภคนั้นจะต้องมีความซื้อสัตย์และมีศีล ธรรมในการทำนิติกรรมและธุรกรรมทุกประเภทบนโลกออนไลน์ เช่น ไม่ซื้อขายและทำธุรกรรมที่ผิดกฎหมาย เช่น การ ดาวน์โหลดสิ่งที่ขัดต่อกฎหมาย ตลอดจนการใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีเพื่อหลอกลวงผู้อื่นให้ซื้อสินค้า และบริการท่ี่ไม่มี คุณภาพ

3. การเป็นผู้ส่งสารและรับสารที่มีมารยาท เช่น การส่งสารที่มีเจตนาหมิิ่นประมาทผู้อื่น และการส่งสารที่มี เจตนาให้สังคมเกิดความแตกแยก ทั้งที่กระทำไปโดยเจตนาหรือ รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ดังนั้น พลเมืองดิจิทัลที่ดีจะต้องมีมารยาท และ ความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนในโลกออนไลน์ หรือรู้จัก กันดีในนามของ Digital Etiquette ที่จะเป็นเครื่องมือในการย้ำ เตือนสติตลอดจนการกระทำที่เหมาะสมในการสื่อสารทุกประเภท ในยุคดิจิทัล

4. การเคารพต่อกฎหมายและกฎระเบียบ พลเมืองดิจิทัลที่ดีจะต้องตระหนักและรับทราบถึงกฎหมายและ กฎระเบียบ ที่อาจก่อได้จากการเป็นอาชญากรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ เช่นการลักขโมยและการจรากรรมข้อมูลประเภท ต่าง ๆ เช่น ข้อมูลทางธุรกิจและข้อมูลส่วนบุคคล ตลอดจน มาตรการคุ้มครองเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาในรูปแบบต่าง ๆ

5. การใช้เทคโนโลยีให้มีความเหมาะสมและไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่ขาดความเหมาะสมอาจส่งผลเสียต่อ สุขภาพโดยรวม เช่น ความเครียดต่อสุขภาพและสุขภาพจิต ตลอด จนการทำให้เกิดการสูญเสียสัมพันธภาพในสังคมได้ พลเมืองยุค ดิจิทัลจะต้องควบคุมการใช้อุปกรณ์์อิเล็กทรอนิกส์ให้มีความเหมาะ สมเพื่อป้องกันมิให้เกิดอาการเสพติดสิ่งดังกล่าวจนเกิดผลเสียต่อ สุขภาพโดยรวมได้

6. เรียนรู้วิธีการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยี เช่น การติดตั้งระบบป้องกันการจารกรรมและการทำลายข้อมูล ให้กับอุปกรณ์ทางการสื่อสารทุกประเภทตลอดจนรู้เท่าทันต่อรูปแบบ และกลอุบายขอาชกรอิเล็กทรอนิกส์ที่มักมีการพัฒนารูปแบบของ การกระทำผิดอยู่เสมอ

ทักษะของ พลเมืองยุคดิจิทัล

1.ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ต้องมีความสามารถในการสร้างสมดุล บริหารจัดการ รักษาอัตลักษณ์ที่ของ ตนเองไว้ให้ได้ ทั้งในส่วนของโลกออนไลน์และโลกความจริง โดยตอนนี้ ประเด็นเรื่องการสร้างอัตลักษณ์ออนไลน์ถือเป็นปรากฎการณ์ใหม่ที่ทำให้ บุคคลสามารถแสดงออกถึงความเป็นตัวตนต่อสังคมภายนอก โดยอาศััยช่อง ทางการสื่อสารผ่านเว็บไวต์เครือข่ายสังคมในการอธิบายรูปแบบใหม่ของการ สื่อสารแบบมีปฏิสัมพันธ์ทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการแสดงออกเกี่ยวกับตัวตน ผ่านเว็บไซต์เครือข่ายสังคมต่าง ๆ

2.ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) ต้องมีการบริหารจัดการข้อมูลส่วนตัว โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลน์ เพื่อป้องกันความเป็นส่วนตัวทั้งของตนเองและผู้อื่นเป็นสิ่งสำคััญที่ต้องประกอบ อยู่ในพลเมืองดิจิทัลทุกคน และพวกเขาจะต้องมีความตระหนักในความเท่า เทียมกันทางดิจิทัลเคารพในสิทธิของคนทุกคน และต้องมีวิจารณญาณในการ รักษาความปลอดภัยของข้อมูลตนเองในสังคมดิจิทัล

3.ทักษะในการคิดวิเคราะห์วิจารณญาณที่ดี (Critical Management) มีความสามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างข้อมูลที่ถูกต้องและข้อมูลที่ ผิด ข้อมูลที่มีเนื้อหาดีและข้อมูลที่เข้าข่ายอันตราย รู้ว่าข้อมูลลักษณะใดที่ถูก ส่งผ่านมาทางออนไลน์แล้วควรตั้งข้อสงสัย หาคำตอบให้ชัดเจนก่อนเชื่อและ นำไปแชร์ ต้องมีความรู้ความสามารถในการเข้าถึง ใช้ สร้างสรรค์ ประเมิน สังเคราะห์ รวมไปถึงการมีทักษะในการรู้คิดขั้นสูง เช่น ทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณ

4.ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen time Management) ต้องมีทักษะในการบริหารเวลากับการใช้อุปกรณ์ดิจิทัล รวมไปถึงการ ควบคุมเพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างโลกออนไลน์และโลกภายนอกนับเป็นหนึ่ง ความสามารถที่บ่งบอกถึงความเป็นพลเมืองดิจิทัลได้อย่างดี เป็นที่รู้จักกันอยู่ ว่าการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่ขาดความเหมาะสมย่อมส่งผลเสียต่อสุขภาพโดย รวม ทั้งความเครียดต่อสุขภาพจิตและเป็นสาเหตุก่อให้เกิดความเจ็บป่วยทาง กาย ซึ่งนำไปสู่การสูญเสียทรัพย์สินใช้เพื่อรักษาและเสียสุขภาพในระยะยาว โดยรู้เท่าไม่ถึงกาารณ์

5.ทักษะในการรับมือกับการคุุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) ไม่ด่าทอกันด้วยข้อความหยาบคาย การตัดต่อภาพ สร้างข้อมูลเท็จ รวมไป ถึงการตั้งกลุ่มออนไลน์ ฯลฯ ดังนั้นพลเมืองดิจิทัลทุกคน จึงควรมีความสามารถ ในการรับรู้และรับมือการคุกคามข่มขู่บนโลกออนไลน์ได้อย่างชาญฉลาด เพื่อ ป้องกันตนเองและคนรอบข้างจากการคุกคามทางโลกออนไลน์ให้ได้

6. ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลที่ผู้ใช้งานทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ไม่หลงเหลือร่องรอยข้อมูลทิ้งไว้เสมอ ควรลบรหัสผ่านหรือประวัติส่วนบุคค 7. ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ถ้าต้องทำธุรกรรมกับธนาคารหรือซื้อสินค้าออนไลน์ควรเปลี่ยนรหัสบ่อยๆ และควรหลีกเลี่ยงการใช้คอมพิวเตอร์สาธรณะ หากสงสัยว่าข้อมูลถูกนำไปใช้ หรือสูญหาย ควรแจ้งความและแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทันที

8. ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) ความสามารถในการเห็นอกเห็นใจและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นบน โลกออนไลน์ พลเมืองดิจิทัลที่ดีจะต้องรู้ถึงคุณค่าและจริยธรรมจากการใช้ เทคโนโลยี ต้องตระหนักถึงผลพวงทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรมที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต การกดไลค์ การแชร์ ข้อมูลข่าวสาร ออนไน์ รู้จักเคารพทรัพย์สินทางปัญหาของผู้อื่น และการปกป้องตนเองและ ชุมชนจากความเสี่ยงออนไลน์ เช่น การกลั่นแกล้งออนไลน์ ภาพลามกอนาจาร ฯลฯ

ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะของ หรือ Digital Literacy หมายถึง ทักษะใน พลเมืองยุคดิจิทัล การนำเครื่องมืออุปกรณ์ และเทคโนโลยี ดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แท็ปเล็ต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่ออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงานร่วมกัน หรือใช้ เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงาน ในองค์กรให้มีความทันสมัยและมี ประสิทธิภาพ

ความคล่องแคล่วทางเทคนิคที่จำเป็นใน ใช้ การใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ทักษะ (User) และความสามารถที่เกี่ยวข้องกับคำว่า ใช้ ตั้งแต่ใช้เทคนิคขั้นพื้นฐาน คือ การใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประมวล ผลคำ เว็บบราวเซอร์ อีเมล์ สู่เทคนิคขั้นสูง เช่น โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้น และฐาน ข้อมูลออนไลน์รวมถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น cloud Computing

ชุดทักษะที่จะช่วยผู้เรียนให้เข้าใจบริบท เข้าใจ และประเมินสื่อดิจิทัล เพื่อให้สามารถตัดสิน (Understand) ใจเกี่ยวกับอะไรที่ทำและพบบนโลกออนไลน์ เข้าใจและรวมถึงการตระหนักว่าเทคโนโลยี เครือข่ายมีผลกระทบต่อพฤติกรรมและมุม มองของผู้เรียนอย่างไร มีผลกระทบต่อความ เชื่อและความรู้สึกเกี่ยวกับโลกอย่างไร และ ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อติดต่อ สื่อสาร ประสานงานร่วมมือ และแก้ไขปัญหา

ความสามารถในการผลิตเนื้อหาและการ สร้าง สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพผ่านเครื่องมือสื่ือ (Create) ดิจิทัลที่หลากหลายการสร้างด้วยสื่อดิจิทัล ความสามารถในการดัดแปลงสิ่งที่ผู้เรียน สร้างสำหรับบริบทและผู้ชมที่แตกต่างและ หลากหลายความสามารถในการสร้างและ สื่อสารด้วยการใช้ Rich Media เช่น ภาพ วิดีโอ และเสียง

การเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จาก เข้าถึง เทคโนโลยีดิจิทัล และข้อมูลข่าวสารเป็น (Access) รากฐานในการพัฒนา การสร้างความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ ผู้เรียนจำเป็นต้อง เข้าใจอินเทอร์เน็ตและการเข้าถึง อินเทอร์เน็ตด้วยช่องทางต่าง ๆ รวมถึงข้อดี และข้อเสียของแต่ละช่องทางได้

1. การรู้สื่อ (Media Literacy) 2. การรู้เทคโนโลยี (Technology Liteacy) 3. การรู้สารสนเทศ ( Information Literacy) 4. การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual Literacy) 5. การรู้การสื่อสาร (Communication Literacy) 6. การรู้สังคม (Social Literacy)

1. Digital Transformation เทคโนโลยี 2. Big Data ดิจิทัลในอาชีพที่ 3. Artificial Intelligence : AI 4. 5G ควรรู้ 5. บล็อกเชน (Blockchain) 6. NDID (National Digital ID) 7. IT Security/Data Privacy 8. FinTech/Mobile Payment

จบแล้วจ้า