Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทฤษฏีสี

ทฤษฏีสี

Published by ชาร์ฟีอีห์ บูละ, 2021-03-05 08:05:21

Description: ผู้จัดทำ
นายมูฮำหมัดชาร์ฟีอีห์ บูละ เลขที่9
ปวช2 เเผนกศิลปกรรม สาขา คอมพิวเตอร์กราฟิก

Search

Read the Text Version

ทฤษฎีสี ส(ี COLOUR) หมายถึง ลักษณะกระทบตอสายตาใหเห็นเป็นสมี ีผลถงึ จิตวิทยา คือมีอาํ นาจใหเกดิ ความเขมของแสงทอี่ ารมณและความรูสึกได การทีไ่ ดเห็นสจี ากสายตาสายตาจะสง ความรูส ึกไปยงั สมองทาํ ใหเกิดความรูส ึก ตางๆตามอิทธิพลของสี เชน สดช่นื รอน ต่นื เตน เศรา สมี คี วามหมายอยางมากเพราะศลิ ปินตองการใชส ีเป็นส่ือสรางความประทับ ใจในผลงานของศลิ ปะและสะทอนความประทับใจนัน้ ใหบงั เกดิ แกผ ูด ูมนษุ ยเ กยี่ วขอ ง กบั สตี า งๆ อยตู ลอดเวลาเพราะทุกสง่ิ ท่อี ยูร อบตัวนัน้ ลวนแตมีสีสนั แตกตางกัน มากมาย สีเป็นส่ิงท่คี วรศึกษาเพ่อื ประโยชนกับตนเองและ ผสู รา งงานจิตรกรรมเพราะ เร่ืองราวองสนี ัน้ มหี ลักวิชาเป็นวิทยาศาสตรจึงควรทําความเขา ใจวทิ ยาศาสตร ของสี จะบรรลผุ ลสําเรจ็ ในงานมากข้ึน ถาไมเขาใจเร่อื งสดี พี อสมควร ถา ไดศกึ ษาเร่อื งสดี ี พอแลว งานศลิ ปะกจ็ ะประสบความสมบรู ณเป็นอยา งยิ่ง

คาํ จาํ กัดความของสี 1. แสงทีม่ คี วามถี่ของคล่ืนในขนาดทต่ี ามนษุ ยส ามารถรบั สมั ผสั ได 2. แมส ที ่ีเป็นวตั ถุ (PIGMENTARY PRIMARY) ประกอบ ดว ย แดง เหลอื ง น้ําเงนิ 3. สที ่ีเกดิ จากการผสมของแมส ี สีแท (HUE) คอื สีทีย่ งั ไมถูกสีอ่นื เขา ผสม เป็นลักษณะของสีแทท ่มี ีความสะอาดสดใส เชน แดง เหลือง น้ําเงิน สีออนหรอื สจี าง (TINT) ใชเรียกสีแทท่ถี กู ผสมดวยสขี าว เชน สเี ทา, สีชมพู สีแก (SHADE) ใชเรียกสแี ทท ่ถี ูกผสมดว ยสดี ํา เชน สนี ้ําตาล สสี ามารถแยกออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. สีธรรมชาติ 2. สที ีม่ นุษยสรา งข้ึน สธี รรมชาติ เป็นสที ี่เกดิ ข้นึ เองธรรมชาติ เชน สขี องแสงอาทติ ย สขี องทอ งฟ า ยามเชา เย็น สีของรงุ กินน้ํา เหตุการณทีเ่ กดิ ข้ึนเองธรรมชาติ ตลอดจนสีของ ดอกไม ตนไม พ้ืนดนิ ทอ งฟ า น้ําทะเล สีท่มี นุษยส รางข้ึน หรอื ไดส ังเคราะหข ้นึ เชน สวี ิทยาศาสตร มนษุ ยไดท ดลอง จากแสงตา งๆ เชน ไฟฟ า นํามาผสมโดยการทอแสงประสานกนั นํามาใช ประโยชนในดา นการละคร การจดั ฉากเวที โทรทัศน การตกแตง สถานที่

ประวัตคิ วามเป็นมาของสี มนุษยเร่ิมมีการใชส ีตัง้ แตสมยั กอ นประวัติศาสตร มีทงั้ การเขยี นสีลง บนผนังถ้าํ ผนังหิน บนพ้นื ผิวเคร่ืองปั้นดนิ เผา และทอี่ ่นื ๆภาพเขยี นสี บนผนังถ้าํ (ROCK PAINTING) เรม่ิ ทําตัง้ แตสมัยกอนประวัตศิ าสตร ในทวีปยุโรป โดยคนกอนสมัยประวัติศาสตรในสมยั หนิ เกาตอนปลาย ภาพเขียนสีทีม่ ชี ่ือเสียงในยคุ นี้พบทีป่ ระเทศฝรงั่ เศษและประเทศสเปน ในประเทศ ไทย กรมศลิ ปากรไดส ํารวจพบภาพเขียนสสี มยั กอน ประวัติศาสตรบ นผนังถ้าํ และ เพงิ หนิ ในทต่ี า งๆ จะมีอายุระหวาง 1500-4000 ปี เป็นสมยั หินใหมและยุคโลหะไดค น พบตัง้ แตป ี พ.ศ. 2465 ครัง้ แรกพบบนผนังถ้าํ ในอาวพังงา ตอ มากค็ นพบอกี ซ่ึงมอี ยูทวั่ ไป เชน จังหวดั กาญจนบุรี อทุ ัยธานี เป็นตน สีท่ีเขยี นบนผนังถ้ําสว นใหญ เป็นสแี ดง นอกนัน้ จะมสี ีสม สเี ลอื ดหมู สีเหลือง สนี ้ําตาล และสีดาํ สบี น เคร่อื งปั้นดินเผา ไดคนพบการเขยี นลายครงั้ แรกที่บา นเชยี งจงั หวดั อดุ รธานีเม่ือปี พ.ศ.2510 สีท่ีเขียนเป็นสีแดงเป็นรูปลายกา นขดจิต กรรมฝาผนังตามวัดตา งๆสมยั สุโขทัยและอยุธยามีหลักฐานวา ใชส ีใน การเขยี นภาพหลายสี แตก็อยใู นวงจํากดั เพยี ง 4 สี คอื สีดํา สขี าว สี ดินแดง และสีเหลืองในสมัยโบราณนัน้ ชางเขยี นจะเอาวัตถุตางๆใน ธรรมชาตมิ าใชเป็นสีสาํ หรบั เขยี นภาพ เชน ดนิ หรือหินขาวใชท ําสีขาว สดี ําก็เอามาจากเขมา ไฟ หรือจากตัวหมึกจีน เป็นชาติแรกทพี่ ยายาม คนควา เร่ืองสธี รรมชาติไดม ากกวา ชาติอ่นื ๆ คอื ใชห ินนํามาบดเป็นสี ตางๆ

แมสี (PRIMARIES) สีตางๆนัน้ มอี ยูมากมายแหลง กําเนิดของสีและวธิ กี ารผสมของสีตลอดจน รูสึกทมี่ ตี อสขี องมนษุ ยแ ตล ะกลุมยอ มไมเหมอื นกนั สตี า งๆที่ปรากฎนัน้ ยอ มเกดิ ข้ึนจากแมสใี นลกั ษณะทแี่ ตกตางกันตาม ชนิดและประเภทของสนี ัน้ แมสี คือ สที ่ีนํามาผสมกนั แลวทําใหเ กดิ สใี หม ทีม่ ลี ักษณะแตกตา งไป จากสีเดมิ แมส ี มอื ยู 2 ชนิด คือ 1. แมสีของแสง เกดิ จากการหกั เหของแสงผานแทงแกวปรซิ มึ มี 3 สี คอื สแี ดง สเี หลอื ง และสนี ้ําเงิน อยใู นรปู ของแสงรงั สี ซ่งึ เป็นพลงั งานชนิดเดยี วที่ มสี ี คุณสมบัติของแสงสามารถนํามาใช ในการถายภาพ ภาพโทรทศั น การจดั แสงสี ในการแสดงตาง ๆ เป็นตน (ดูเร่อื ง แสงสี ) 2. แมสีวัตถธุ าตุ เป็นสที ไี่ ดมาจากธรรมชาติ และจากการสงั เคราะหโ ดย กระบวน ทางเคมี มี 3 สี คือ สแี ดง สีเหลอื ง และสีน้ําเงนิ แมสีวตั ถธุ าตุเป็นแมสีที่ นํ ามาใช

วงจรสี(Colour Circle) สีขนั้ ท่ี 1 คอื แมส ี ไดแ ก สีแดง สีเหลือง สนี ้ําเงนิ สีขนั้ ท่ี 2 คอื สที ่ีเกดิ จากสีขนั้ ท่ี 1 หรอื แมสผี สมกนั ในอัตราสว นที่เทากนั จะ ทาํ ให เกิดสใี หม 3 สี ไดแ ก สแี ดง ผสมกับสเี หลือง ไดสี สม สีแดง ผสมกับสนี ้ําเงนิ ไดส ีมว ง สเี หลอื ง ผสมกับสนี ้ําเงนิ ไดสเี ขยี ว สขี ัน้ ที่ 3 คือ สที ี่เกิดจากสขี ัน้ ท่ี 1 ผสมกับสีขัน้ ที่ 2 ในอตั ราสว นทีเ่ ทา กัน จะได สอี ่นื ๆ อีก 6 สี คอื สแี ดง ผสมกบั สีสม ไดส ี สมแดง สีแดง ผสมกับสมี วง ไดสีมว งแดง สเี หลือง ผสมกับสเี ขียว ไดส เี ขยี วเหลือง สีน้ําเงิน ผสมกบั สีเขียว ไดสีเขียวน้ําเงิน สีน้ําเงิน ผสมกบั สมี ว ง ไดสีมว งน้ําเงนิ สเี หลอื ง ผสมกบั สสี ม ไดส ีสมเหลอื ง

วรรณะของสี คือสที ่ีใหความรูสกึ รอน-เย็น ในวงจรสีจะมสี รี อน 7 สี และ สเี ย็น 7 สี ซ่ึงแบงท่ี สมี ว งกับสเี หลือง ซ่งึ เป็นไดทัง้ สองวรรณะ สีตรงขา ม หรือสีตัดกัน หรือสีคปู ฏปิ ักษ เป็นสีที่มคี า ความเขม ของสี ตดั กันอยาง รนุ แรง ในทางปฏิบัติไมนิยมนํามาใชรว มกนั เพราะจะทาํ ใหแตละสไี มสดใส เทาท่ีควร การนําสีตรงขามกันมาใชรวมกนั อาจกระทําไดด งั นี้ 1. มีพ้นื ท่ขี องสหี น่ึงมาก อกี สหี น่ึงน อย 2. ผสมสอี ่นื ๆ ลงไปสสี ใี ดสีหน่ึง หรือทงั้ สองสี 3. ผสมสีตรงขามลงไปในสีทงั้ สองสี สีกลาง คือ สีทเี่ ขาไดก ับสีทกุ สี สกี ลางในวงจรสี มี 2 สี คือ สีน้ําตาล กับ สีเทา สีน้ําตาล เกดิ จากสีตรงขามกันในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนทเี่ ทากนั สนี ้ําตาลมี คณุ สมบตั สิ ําคัญ คอื ใชผ สมกับสีอ่นื แลว จะทําใหสนี ัน้ ๆ เขมข้นึ โดยไมเปลี่ยน แปลงคาสี ถาผสมมาก ๆ เขา ก็จะกลายเป็นสนี ้ําตาล สเี ทา เกดิ จากสีทุกสี ๆ สใี นวงจรสีผสมกนั ในอตั ราสวนเทา กนั สเี ทา มคี ณุ สมบตั ิ ที่สาํ คญั คอื ใชผสมกบั สอี ่นื ๆ แลวจะทําให มืด หมน ใชในสว นที่เป็นเงา ซ่งึ มนี ้ําหนัก ออนแกในระดับตา ง ๆ ถาผสมมาก ๆ เขาจะกลายเป็นสีเทา

แมสีวัตถธุ าตุ (PIGMENTARY RRIMARIES) แมส ีวตั ถุธาตุนัน้ หมายถงึ “วัตถุท่ีมีสีอยูใ นตวั ” สามานํามาระบาย ทา ยอม และผสมไดเ พราะมเี น้ือสแี ละสเี หมอื นตวั เอง เรยี กอีกอยางหน่ึงวา แมส ขี องชา งเขยี นสตี า งๆจะเกดิ ข้ึนมาอกี มากมาย ดว ยการผสมของแมสี ซ่ึงมีอยดู วยกัน 3 สีคอื 1. น้ําเงิน (PRUSSIAN BLUE) สะทอนรังสีของสีน้ําเงนิ ออกมาแลว ดงึ ดูดเอาสีแดงกบั สเี หลืองเขามา แลวผสมกนั ก็จะกลายเป็นสีสม ซ่งึ เป็นคูสขี องสนี ้ําเงนิ 2. แดง (CRIMSON LEKE) สะทอนรังสขี องสแี ดงออกมาแลวดึงดดู เอา สนี ้ําเงนิ กับสเี หลอื ง ซ่งึ ตา งผสมกนั ในตัวแลว กลายเป็นสเี ขียวอันเป็นคสู ีของสแี ดง 3. เหลือง (GAMBOGE TINT) สะทอ นรังสีของสีเหลอื งออกมาแลวดงึ ดดู เอาสแี ดงกับสนี ้ําเงินซ่ึงผสมกัน ในตัวแลว กลายเป็นสมี วง อนั เป็นคูส ขี องสเี หลือง

ระบบสี RGB ระบบสีRGB เป็นระบบสีของแสง ซ่ึงเกิดจากการหักเหของ แสงผา นแทงแกวปรซิ ึม จะเกิดแถบสีท่เี รียกวา สีรงุ ( Spectrum ) ซ่งึ แยกสตี ามท่ี สายตามองเห็นได7 สีคอื แดง แสด เหลือง เขยี ว น้ําเงิน คราม มวง ซ่งึ เป็นพลังงานอยใู นรูปของ รังสีที่มีชว งคล่ืนทสี่ ายตา สามารถมองเห็นไดแสงสมี วงมคี วามถค่ี ล่ืนสูงทีส่ ุด คล่นื แสงท่ี มคี วามถีส่ งู กวา แสงสีมวง เรยี กวา อุลตราไวโอเลต ( Ultra Violet ) และคล่นื แสงสแี ดง มคี วามถค่ี ล่ืนต่าํ ทส่ี ดุ คล่นื แสง ทต่ี ่ํากวาแสงสีแดงเรยี กวา อินฟราเรด ( InfraRed) คล่นื แสงท่ี มคี วามถ่สี งู กวาสมี ว ง และต่ํา กวา สีแดงนัน้ สายตาของมนษุ ยไมส ามารถรับไดแ ละเม่อื ศึกษา ดแู ลว แสงสีทงั้ หมดเกดิ จาก แสงสี 3 สคี ือ สีแดง ( Red ) สนี ้ําเงิน ( Blue)และสเี ขียว ( Green )ทัง้ สามสถี อื เป็นแมสี ของแสง เม่อื นํามาฉายรวมกันจะทําใหเ กิดสีใหมอ ีก 3 สคี ือ สี แดงมาเจนตา สฟี  าไซแอน และสีเหลือง และถา ฉายแสงสีทัง้ หมดรวมกันจะไดแ สงสีขาว จากคณุ สมบตั ขิ องแสงนี้เรา การผสมสีวตั ถธุ าตุ

ขนั้ ที่ 1 คอื สี 1. น้ําเงิน (PRUSSIAN BLUE) 2. แดง (CRIMSOM LEKE) 3. เหลอื ง (GAMBOGE TINT) แมสีทัง้ สามถานํามาผสมกัน จะไดเั ป็นสกี ลาง (NEUTRAL TINT) สีขนั้ ท่ี 2 (SECONTARY HUES) เกิดจากการนําสีแท 2 สีมาผสมกนั ในปรมิ าณ เทากนั จะเกิดสใี หมข ้นึ น้ําเงนิ ผสม แดง เป็น มวง (VIOLET) น้ําเงนิ ” เหลือง ” เขยี ว (GREEN) แดง ” เหลอื ง ” สม (ORANGE) สีขัน้ ที่ 3 (TERTIARY HUES) เกิดจากการผสมสขี นั้ ที่ 2 กับแม (สขี นั้ ที่ 1) ได สีเพิม่ ข้ึนอกี คือ เหลือง ผสม เขียว เป็น เขียวออ น (YELLOW – GREEN) น้ําเงิน ” เขยี ว ” เขยี วแก (BLUE – GREEN) น้ําเงิน ” มว ง ” มวงน้ําเงิน (BLUE – VIOLET) แดง ” มวง ” มว งแก (RED – VIOLET) แดง ” สม ” แดงสม (RED – ORANGE) เหลอื ง ” สม ” สมเหลอื ง (YELLOW – ORANGE)

แผนภาพสรุปวงจรสี การผสมกันของแมส ีชางเขียนไดส ีอยู 3 ขนั้ ดังนี้ สขี ัน้ ที่ 1 (Primary Color) ไดแ ก                         สแี ดง                           สเี หลอื ง                สนี ้ําเงนิ สขี นั้ ที่ 2 (Secondary Hues) เป็นการนําเอาแมส มี าผสมกนั ในปริมาณเทา  ๆ กนั จะไดส ีใหม อกี  3 สี ดงั นี้     สีแดง ผสมกับ สีเหลอื ง เป็น   สีสม สแี ดง ผสมกบั สีน้ําเงนิ เป็น    สมี วง สเี หลืองผสมกบั สนี ้ําเงิน เป็น สีเขียว  สขี นั้ ที่ 3 (Tertiary Hues) เกิดจากนําเอาแมสีมาผสมกบั สขี นั้ ท ี่ 2 โดยจะไดสใี หมเพมิ่ อีก 6 สี ดงั นี้  สแี ดง     ผสม สมี วง    เป็น สีมวงแดง สีแดง     ผสม สีสม     เป็น สสี มแดง สเี หลือง ผสม สสี ม      เป็น สีสมเหลือง สเี หลือง ผสม สเี ขียว  เป็น สีเขียวเหลือง สนี ้ําเงิน ผสม สมี ว ง   เป็น  สมี ว งน้ําเงนิ สีน้ําเงนิ ผสม สเี ขยี ว  เป็น  สีเขยี วน้ําเงิน วรรณะของสี

เพราะสีในธรรมชาตยิ อมมสี แี ตกตางไปกวา สใี นวงจรสี ธรรมชาติอีกมาก ถาหากวาสใี ด  คอนขา งไปทางสีแดงหรอื สสี ม เชน สนี ้ําตาลหรอื สเี ทาอมทอง ก็ถือวาเป็นสีวรรณะรอน 2.วรรณะสเี ยน็ (COOL TONE) ประกอบดว ย สเี หลอื ง สีเขียว เหลือง สีเขยี ว สีเขียวน้ําเงิน สนี ้ําเงนิ สมี ว งน้ําเงนิ และสมี วง สวนสอี ่ืนๆ ถา หนักไปทางสีน้ําเงนิ และสเี ขยี วก็เป็นสีวรรณะเยน็ ดงั เชน สเี ทา สดี าํ สเี ขยี วแก เป็นตน จะสงั เกตไดวาสีเหลือง และสีมวงอยทู งั้ วรรณะรอนและวรรณะเยน็ ถาอยใู นกลมุ สี วรรณะรอ นกใ็ หความรสู ึกรอนและถา อยใู นกลมุ สวี รรณะเย็นก็ ใหความรสู กึ เย็นไปดว ย สเี หลอื งและสมี ว งจงึ เป็นสีไดท ัง้ วรรณะรอนและวรรณะเยน็ สีเพมิ่ น้ําหนักข้ึนดวยการใชสีดาํ ผสม ( shade)

 วรรณะสีรอ น                  วรรณะสเี ยน็ เหลอื ง มวง เหลอื งสม มว งน้ําเงนิ สม น้ําเงิน แดงสม น้ํ าเงินเขียว แดง เขยี ว มว งแดง เขยี วเหลือง

  ตารางแสดงความหมายของสี   Yellow-Green การเจบ็ ปวย – ความอจิ ฉา – ขขี้ ลาด – การแตกแยก   Yellow ความสุข – พลงั งาน – ความเจรญิ – การเรียนรู – การสรา สรรค   White ความบรสิ ุทธิ์ – ความดี – ความดีพรอม – ความเงยี บสงบ – ความยตุ ธิ รรม   Red พลัง – อนั ตราย – สงคราม – อาํ นาจ   Purple ความหยงั่ รู – ความทะเยอทะยาน – ความกา วหน า – คาม สงางาม – อาํ นาจ   Pink เป็นมิตร – ความรกั – ความโรแมนตกิ – ความเคารพ   Orange


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook