หลกั สูตรและการเรียนรู้ ฐานสมรรถนะ ดร.วัฒนาพร ระงบั ทุกข์ WRangubtook
การนเิ ทศการศึกษา • การนิเทศ (Supervision) หมายถงึ การให้ความชว่ ยเหลือแนะนา หรอื ปรับปรุง • การนิเทศการศกึ ษา เปน็ ความพยายามของผ้ทู าหนา้ ท่ีนเิ ทศทจ่ี ะช่วยในการให้ คาแนะนาแก่ครูหรือผู้อน่ื ทท่ี าหน้าท่ีเกยี่ วข้องกับการศกึ ษาใหส้ ามารถปรับปรงุ การสอนของตนใหด้ ขี ้ึน ช่วยให้เกดิ ความเจรญิ งอกงามในดา้ น อาชีพ ชว่ ยพัฒนา ความสามารถของครู (Good 1973) WRangubtook
รูปแบบการนิเทศ • การนิเทศแบบเนน้ การใหค้ าแนะนา(Tractive Supervision) ผู้นิเทศจะให้ คาแนะนาใหผ้ ้ไู ด้รบั การนเิ ทศนาไปปรบั ปรงุ แกไ้ ข • การนิเทศแบบเน้นความเป็นพลวัต (Dynamic Supervision) ผู้นเิ ทศจะ จดุ ประกายทางด้านความคดิ เพ่ือสง่ เสรมิ ใหผ้ ูไ้ ด้รบั การนเิ ทศนาไปปฏบิ ตั ิ ผไู้ ดร้ บั การนิเทศสามารถใช้ความรู้ ความสามารถตลอดจนประสบการณ์ท่ตี นเองมีมา ปรบั ปรงุ การสอนตามความเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริง (Harris 1985) WRangubtook
ลกั ษณะการนิเทศ •การนิเทศแบบเผชญิ หนา้ •การนเิ ทศทางไกล/ออนไลน์ •การนิเทศแบบผสมผสาน WRangubtook
บทบาทหนา้ ท่ขี องศกึ ษานเิ ทศก์ •ศึกษานิเทศก์ (Supervisor) คือ ผู้ทาหน้าท่นี เิ ทศ แนะนา ชี้นา กระต้นุ ใหค้ รูและผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ให้เกดิ ความรู้ ความตระหนัก และมีทักษะในการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นการสอน รวมทงั้ สามารถเปน็ ทป่ี รึกษาทางวิชาการสาหรับผบู้ รหิ ารระดับสงู ใน องคก์ ร WRangubtook
มาตรฐานความรขู้ องศึกษานิเทศก์ มาตรฐานความรู้ สาระความรู้ สมรรถนะ ๓. การพฒั นาหลักสตู รและการสอน ๑. ความรูเ้ ก่ยี วกบั หลักสตู ร ๑. สามารถให้คาแนะนา ปรกึ ษา ๒. การสร้างหลักสูตรสถานศึกษา เกย่ี วกับการพัฒนาหลักสตู รและ ๓. หลักการพฒั นาหลักสตู ร การจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๔. การจัดการเรียนรู้ ๕. จิตวิทยาการศึกษา ๒. สามารถสาธิต แนะนาครูใหจ้ ัด ๖. การวดั และการประเมินผล กจิ กรรมทส่ี ่งเสริมการเรียนรไู้ ด้เตม็ ๗. การจัดการศึกษาพิเศษ ศกั ยภาพของผู้เรียน ๓. สามารถประเมนิ หลักสตู รและการ นาหลักสตู รไปใช้ WRangubtook
สาระของการนิเทศ •หลักสตู รและกระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร CBC •การจัดการเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น •การจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะ •หลกั สตู รฐานสมรรถนะ CBE CBI •การจัดการเรียนรฐู้ านสมรรถนะ •การวดั และประเมนิ ผลฐานสมรรถนะ WRangubtook
การเตรยี มความพร้อมในการนิเทศ การพฒั นาหลักสตู รและการจัดการเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ 1. ศกึ ษาการจัดการศกึ ษา 3. ศกึ ษาการจัดทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา ฐานสมรรถนะ ตาม (ร่าง) กรอบหลกั สตู รฯ 2. ศึกษา (ร่าง) กรอบหลกั สูตร 4. วางแผนและ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. .... ดาเนินการนเิ ทศ
การศกึ ษาฐานสมรรถนะ (Competency - Based Education: CBE) เปน็ กระบวนการสร้างสมรรถนะ เพื่อใหผ้ ู้เรียน สามารถพร้อมรับและเผชิญกับการเปล่ียนแปลง ตา่ งๆได้อย่างเหมาะสม ตอบโจทยค์ วามตอ้ งการ ของประเทศ และพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศกั ยภาพ ตามความสนใจ และความถนัดของตน WRangubtook
การศึกษาฐานสมรรถนะ (Competency - Based Education: CBE) องค์ประกอบสาคัญ CBI CBC CBE CBI Competency-Based Instruction หลกั สตู รฐาน การจัดการ การวดั และ สมรรถนะ เรยี นรู้ฐาน ประเมินผล สมรรถนะ ฐานสมรรถนะ CBC CBA Competency-Based Competency-Based Curriculum Assessment WRangubtook
หลักสตู รฐานสมรรถนะ Action Oriented CBC Contextualized มีสมรรถนะเปน็ เป้าหมายในการพฒั นา ใหค้ วามสาคญั กับบรบิ ทแวดลอ้ ม ผูเ้ รียน เป็นหลกั สตู รฐานปฏบิ ตั ิ เสริมสร้าง ท่แี ตกตา่ งกันของผเู้ รยี น ซ่งึ สง่ ผลตอ่ สมรรถนะให้ผเู้ รียนตามชว่ งวัย โดยมีการวัด พฤตกิ รรมและการเรียนรู้ของผเู้ รียน และประเมินผลเพอ่ื พฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง Multidisciplinary Learner Centric ส่งเสริมการบูรณาการความรู้ข้าม ยึดผ้เู รียนเป็นสาคญั เปิดโอกาสให้ผู้เรยี น ศาสตร์ ช่วยให้ผูเ้ รยี นสามารถใช้ ได้เรียนรู้ตามความสนใจ ความถนดั และ ความร้ใู หเ้ ปน็ ประโยชน์ไดม้ ากขน้ึ ก้าวหน้าไปตามความสามารถ รวมทง้ั พัฒนาตนเองสู่ความเช่ยี วชาญได้ Adaptive Related to Real Life ยดื หยุ่น สามารถปรับเปลีย่ นได้ ตามความตอ้ งการของผูเ้ รียน ครู มีความเชอื่ มโยงกบั ชวี ิตจริงของ สงั คม และโลก ผเู้ รยี น มคี วามหมายตอ่ ผ้เู รียน เพราะสามารถนาไปใช้ในชีวติ จรงิ ได้ WRangubtook
การจดั การเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ Competency-Based CBI Self-directed Learning กาหนดสมรรถนะและผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ เป็นเปา้ หมาย ม่งุ เนน้ การพัฒนา ใเแเแรสฝลลียร่ระะนมิู้ คแเสรพรว้ขูรือ่งา้าอบมใงงหนัสคต้ผาดณุน้เูมารเลาลอียกัรใงนจถษไสดขณกา้อรตมะงะาาตสตมรนรถุน้ค้ากควงาาวแกมารบัมถงจนกสูงนาัดใรใจจ ความสามารถการประยุกต์ใชค้ วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ ค่านิยมในการปฏิบตั งิ าน Assessment as แก้ปัญหา และใช้ชวี ติ Learning Active Learning วตใหธิน้ผเี เรอ้เู ยีรงียนรนระู้แไหดลว้ปะ่าผรงเะลรเกียมานนิ รกเเรพายีรื่อนเปรรียร้ขู นับอรปงู้ขตรองุนง สกคปจัดมาวฏรากริบฝมราตั ึกถแริ เฝนตเรอนกะยี ือ้ แตนใกา่ รหง้ปู้เ้เขชกัญองิ ิดรหงกกุผาาเู้ รตรนเียอารนไบยี ปสนเสนนรู่ ูแ้น้อลกงะาร Feedback Integration ผชใกหาเู้ว่ รข้รยียป้อเนหรมลบัลู ือปปตร้อาุงนมพกคฒั ลวบันาาแมแกตลผ่อ้ ะ้เูงรใกหยี าน้ครวขเาพอมง่ือ อเสใชน่งยื่อสเา่ สมถงรโบาิมยนรู กงณกกาาาบัรรกใชณชาีว้คร์ตติ ว่าจางรมงิๆรใู้ขใช้าน้ปมชรศวี ะาิตโสยรช์ น์ WRangubtook
การวดั ประเมินผลฐานสมรรถนะ Formative Assessment Assessment of Learning ใช้สถานการณ์เปน็ ฐาน การประเมนิ เพื่อพฒั นา เปน็ กจิ กรรม การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ใชว้ ธิ ีวดั จากพฤตกิ รรม ใช้สถานการณเ์ ป็นฐาน เพื่อใหบ้ รบิ ท ในกระบวนการเรยี นการสอน สามารถ การกระทา การปฏิบัตขิ องผูเ้ รยี นในสถานการณ์ การประเมนิ เป็นไปตามสภาพจริง หรือ ประเมินตนเองระหว่างเรยี น เพือ่ ปรบั ปรุง ตา่ ง ๆ ที่แสดงถึงความสามารถในการประยกุ ต์ใช้ ใกล้เคยี งสภาพจรงิ มากท่สี ดุ วธิ ีการเรยี นรู้ และพัฒนาการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น K S A ตามเกณฑ์ โดยประเมนิ แบบไม่องิ กลมุ่ ใหด้ ขี ึ้น (Assessment for Learning) ประเมินเมอื่ พร้อม CBA Authentic Assessment ผ้เู รยี นจะไดร้ บั การประเมินเมื่อพรอ้ ม หากไมผ่ า่ นการประเมินตามเกณฑ์ ประเมินเพอ่ื พฒั นาใช้วิธกี ารประเมนิ ต้องไดร้ ับการสอนซ่อมเสรมิ หรือได้รบั ตามสภาพจรงิ จากส่งิ ทผี่ ู้เรยี นปฏบิ ัตไิ ด้จริง ความช่วยเหลอื ทเ่ี หมาะสมกบั บริบทของ เช่น แฟม้ สะสมผลงาน ชนิ้ งาน การปฏบิ ัติ ผเู้ รยี น เพอื่ ให้ผ่านตามเกณฑ์และ รวมถึงการประเมนิ ตนเอง และการประเมิน สามารถกา้ วสูก่ ารเรยี นรูใ้ นระดบั ทส่ี ูงขึน้ โดยเพื่อน การรายงานผล Summative Assessment การให้ขอ้ มูลพฒั นาการของผเู้ รยี นในด้าน ประเมนิ ตดั สนิ ผล ม่งุ วัดสมรรถนะองค์รวม ตา่ ง ๆ ท่ชี ่วยให้ผปู้ กครองและผ้เู ก่ียวขอ้ ง ท่ีแสดงถึงความสามารถในการประยุกตใ์ ช้ ได้ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การเรียนรู้ และ Knowledge Skill Attitude and Values พัฒนาการของผู้เรียนตามความเปน็ จริง ในการปฏบิ ัตงิ านในสถานการณ์ต่าง ๆ อยา่ งรอบดา้ น ตามความเหมาะสมกับ หลกั สตู รสถานศกึ ษา WRangubtook
แนวทางการจดั การเรียนรู้และการประเมนิ การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ การจัดการเรยี นรู้ การออกแบบ การ ยึดผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ประเมนิ ผล เชงิ สมรรถนะเปน็ (Learning) การเรียนรู้ เป้าหมายการเรียนรู้ (Evaluation) (Objective)
แนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินการเรียนรู้ การจัดการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ การเรียนรู้ ผเู้ รยี นทกุ คนสามารถประสบความสาเร็จไดต้ ามความถนัด เพอื่ ให้บรรลเุ ป้าหมายการเรยี นรู้ การออกแบบการเรียนรู้ ความชอบและศักยภาพในรปู แบบของตนเอง การจดั ต้องผสานกันไปกับการประเมนิ โดยมีการวเิ คราะห์ผเู้ รียน การเรยี นรู้จงึ ต้องสนับสนุนใหผ้ เู้ รียนเปน็ เจา้ ของการเรยี นรู้ รายบคุ คลว่ามีความสามารถ ความสนใจสิ่งใด เพ่อื นาไปสู่ ท่ีเอ้ือให้ ผเู้ รียนค้นหาตัวเองเพอื่ เลอื กเสน้ ทางการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรทู้ ส่ี อดคล้องและเหมาะสมกับการพฒั นา (Learning Pathways) ตอบสนองความแตกต่างของผเู้ รยี น สมรรถนะของผเู้ รียนแต่ละบคุ คล ผู้เรียนจะไดร้ บั ข้อมลู ป้อนกลับ (Different Instruction) มีความยดื หยุน่ เพอื่ สนับสนนุ การ จากการประเมินตนเองและผู้อน่ื ประเมิน ทง้ั ในขณะท่ปี ฏิบตั ิ เรียนรูข้ องผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล (Individual Support) กิจกรรมและหลงั จากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม นาไปสู่ คานงึ ถงึ จังหวะในการเรียนรขู้ องผู้เรยี น (Self-Pacing) การปรับปรุงและพฒั นาการเรียนร้ขู องตน รวมทั้งไดร้ บั สอดคลอ้ งกบั บริบทของผเู้ รยี น ชุมชนแวดล้อม และจุดเนน้ การสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื ท่สี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการบนเสน้ ทาง ของสถานศกึ ษา การเรียนรูข้ องตนเองในระยะเวลาทแี่ ตกตา่ งกนั ตามความจาเปน็ ของแต่ละคน เพือ่ เออ้ื ให้ผู้เรยี นได้พัฒนา สมรรถนะเต็มตามศกั ยภาพสู่ระดบั ความสามารถท่สี งู ขน้ึ
แนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินการเรียนรู้ การตดั สินผลการเรียน ส่วนที่ 1 ตดั สนิ ผลการเรยี นตามผลลพั ธก์ ารเรียนรูโ้ ดยกาหนดเป็นระดบั ผลการเรยี นซง่ึ สะทอ้ น ถงึ ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น เช่น กาหนดเป็นระบบสญั ลกั ษณ์ ระบบตวั อกั ษร หรอื คาสาคญั อ่ืนท่ีสถานศกึ ษากาหนด ซง่ึ พิจารณาจากขอ้ มลู หรอื หลกั ฐานท่ีเป็นผลจากการ เรยี นรู้ ส่วนท่ี 2 ตดั สินผลการพฒั นาสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี น ตามระดบั ความสามารถท่ีสว่ นกลาง กาหนด (ระดบั ตน้ กาลงั พฒั นา สามารถ และเหนือความคาดหวงั ) ซง่ึ พิจารณาจากขอ้ มลู หรอื หลกั ฐานท่ีเป็นผลจากการเรยี นรู้ กรณีท่ีสถานศกึ ษากาหนดสมรรถนะเพม่ิ เติมใหส้ ถานศกึ ษา กาหนดเกณฑร์ ะดบั ความสามารถใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวทางท่ีสว่ นกลางกาหนดดว้ ย
(รา่ ง) กรอบหลกั สูตรการศกึ ษา ขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ....
องคป์ ระกอบของ (รา่ ง) กรอบหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. .... 1 แนวคิดพน้ื ฐานของการพัฒนาหลักสตู ร 7 สาระการเรียนรู้ 2 วิสัยทัศน์ 8 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมรรถนะหลกั กับสาระการเรียนรู้ 7 สาระการเรียนรู้ ชว่ งช้นั ท่ี 1 3 หลกั การของหลกั สตู ร 4 จดุ หมายของหลักสูตร 9 โครงสร้างเวลาเรยี น 5 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 10 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร 6 สมรรถนะหลัก 6 ด้าน และ 11 แนวทางการจัดการเรียนรู้ และ ระดับสมรรถนะ 10 ระดับ การประเมนิ การเรียนรู้
1. แนวคดิ พืน้ ฐาน ของการพฒั นาหลกั สตู ร
สภาวการณ์ของโลก โลกทีเ่ ปลี่ยนแปลง และพลิกผนั อยา่ งรวดเรว็ (VUCA WORLD) WRangubtook
สมรรถนะสาคัญของโลกศตวรรษที่ 21 WRangubtook
WRangubtook
วฒั นWาRaพnรg/uรb่าtoงoกkรอบหลักสตู ร
ทักษะใหม่ในอนาคต วฒั นWาRaพnรg/uรb่าtoงoกkรอบหลักสตู ร
มาตรฐานการศกึ ษาไทย ในระดับสากล วฒั นWาRaพnรg/uรb่าtoงoกkรอบหลักสตู ร
หลักสูตรการศึกษาของชาติจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดรับกับความ เปลี่ยนแปลง เพอ่ื สร้าง “คนไทยใหม้ คี ุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ มคี วามสามารถและศักยภาพใน การดารงชีวติ ปรับตนใหพ้ ร้อมรับการเปลย่ี นแปลง พร้อมทจ่ี ะแข่งขัน และร่วมมอื อย่างสร้างสรรคใ์ นเวทโี ลก” สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ จงึ ดาเนินงานพัฒนาหลักสูตรการศกึ ษาของชาติ ชอื่ ว่า “(ร่าง) กรอบหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช .... ซงึ่ พฒั นาขึน้ ตามแนวคดิ การจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะ”
เป้าหมายของ (ร่าง) กรอบหลักสูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช …. 1 พฒั นาสมรรถนะหลักของผู้เรียนท่เี หมาะสมตามช่วงวยั 2 จัดสภาพแวดลอ้ มและเส้นทางการเรียนรู้ (Learning Pathways) ทห่ี ลากหลาย 3 จัดระบบสนบั สนนุ การเรยี นร้ทู ส่ี อดคลอ้ งกับธรรมชาตขิ องผเู้ รียน (Differentiated Learning) 4 ใชก้ ระกระบวนการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ 5 ใชส้ ่ือและสถานการณก์ ารเรียนรู้ทีร่ ว่ มสมยั หลากหลายและยดื หยนุ่ ตามความสนใจและ ความถนัดของผู้เรยี น บรบิ ท และจดุ เน้นของสถานศกึ ษาและชุมชนแวดลอ้ ม 6 เน้นประเมินการเรียนรู้เพื่อพัฒนาและสะท้อนสมรรถนะของผู้เรียนตามเกณฑ์การปฏิบัติท่ีเป็นธรรม เชื่อถือได้ เอื้อต่อการถ่ายโยงการเรียนรู้และพัฒนาในระดับท่ีสูงข้ึนตามความเชี่ยวชาญของผู้เรียนอย่าง ต่อเนือ่ ง
2 วสิ ัยทศั น์ ผู้เรียนมีสมรรถนะหลัก ความรู้ ทักษะ และเจตคติ เพ่อื การเปน็ ผู้เรียนรู้ ผู้รว่ มสร้างสรรคน์ วตั กรรม และเปน็ พลเมอื งท่เี ข้มแขง็ 3 หลักการของหลักสูตร 1 เปน็ หลกั สูตรท่มี ีเป้าหมาย 2 เปน็ หลักสตู รท่เี ชอ่ื มโยง 4 เป็นหลกั สตู รทมี่ ี 3 เป็นหลักสตู รที่จดั 5 เปน็ หลักสูตรทมี่ งุ่ ใช้ ในการพฒั นาสมรรถนะของ ระหวา่ งสมรรถนะหลักและ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ผเู้ รียนทเ่ี หมาะสมตามช่วงวัย สมรรถนะเฉพาะ สภาพแวดล้อม เชิงรุก (Active Learning) การประเมนิ เพื่อการพฒั นา เน้นการพัฒนาผเู้ รียน ในการกาหนดผลลพั ธ์ และเสน้ ทางการเรียนรู้ การใช้สอ่ื และสถานการณ์ การเรียนรูแ้ ละสะท้อน รายบุคคล (Personalization) การเรียนรู้ (Learning (Learning Pathway) การเรยี นรรู้ ว่ มสมัย มีความ สมรรถนะของผเู้ รยี น อยา่ งเปน็ องค์รวม (Holistic Outcome) เพ่อื การพฒั นา ที่หลากหลาย และระบบ หลากหลาย และยืดหยุน่ ตามเกณฑ์การปฏิบัติ Development) เพอ่ื การ ผเู้ รียนให้สามารถนาไปใช้ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ ตามความสนใจ ความถนดั (Performance) ทเี่ ป็นธรรม เปน็ เจ้าของ การเรียนรู้และ ประโยชนใ์ นชวี ิตและการ ทส่ี อดคล้องกับพหุปญั ญา ของผูเ้ รียน เชือ่ ถอื ได้ เอ้ือตอ่ การถา่ ยโยง พัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง ทางาน และธรรมชาตขิ องผูเ้ รยี น (Differentiated Instruction) การเรียนรู้และพฒั นาใน (Life-Long Learning) บริบท จุดเนน้ ของสถานศึกษา ระดับทสี่ งู ข้นึ ตามระดบั และชุมชนแวดล้อม ความสามารถ วฒั นาพร/ร่างกรอบหลักสูตร
4 จดุ หมายของหลักสูตร 1 รจู้ ัก รกั เหน็ คุณค่าในตนเองและผอู้ น่ื จัดการอารมณแ์ ละความเครียด ปญั หาและภาวะวกิ ฤต สามารถฟนื้ คืนสูส่ ภาวะสมดุล (Resilience) และมสี ุขภาวะและมีสมั พนั ธภาพทด่ี กี บั ผอู้ ่นื 2 มที กั ษะการคดิ ขั้นสงู อย่างมคี ุณธรรม มคี วามสามารถในการนาและกากับการเรยี นรขู้ องตนเองอยา่ งมีเปา้ หมาย 3 ส่ือสารอย่างฉลาดรู้ สร้างสรรค์ มีพลงั ด้วยความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสงั คม 4 จดั ระบบและกระบวนการทางานให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย มคี วามเปน็ ผ้ปู ระกอบการ ภาวะผู้นา และ จัดการความขัดแย้งภายใตส้ ถานการณท์ ่ีมคี วามซบั ซอ้ น 5 ปฏิบัติตนอย่างรับผดิ ชอบ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก 6 เข้าใจพนื้ ฐานเกยี่ วกับปรากฏการณ์ของโลกและจกั รวาล เข้าถึงและรู้เทา่ ทันวทิ ยาการเทคโนโลยี เพอ่ื การดารงชีวิตและอยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาติอยา่ งยัง่ ยืน วัฒนาพร/ร่างกรอบหลักสตู ร
5 มจี ติ สาธารณะ 5 1 รักชาติ ศาสน์ 4 อยอู่ ย่างพอเพียง กษัตริย์ คุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ 2 ซื่อสตั ยส์ ุจรติ 3 มวี ินยั วฒั นาพร/ร่างกรอบหลักสตู ร
6. สมรรถนะหลักตาม (รา่ ง) กรอบหลักสตู รฯ สมรรถนะหลกั (Core Competencies) ตาม (รา่ ง) กรอบหลกั สูตรฯ o หมายถงึ สมรรถนะที่กาหนดให้เปน็ พ้ืนฐานทีน่ ักเรยี นทกุ คนต้องไดร้ ับ การพัฒนา (Minimum Requirement) ใหเ้ ปน็ ความสามารถตดิ ตวั เมือ่ จบการศึกษา o มีลักษณะเปน็ สมรรถนะขา้ มสาระการเรียนรหู้ รอื ครอ่ มวิชา o สามารถพัฒนาใหเ้ กิดขน้ึ แก่ผู้เรียนไดใ้ นสาระการเรียนรตู้ ่าง ๆ ท่ี หลากหลาย หรือสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในการพฒั นาผู้เรียนใหเ้ รยี นรู้ สาระตา่ ง ๆ ไดด้ ขี ้ึน
สมรรถนะหลกั 6 ด้าน ตาม (ร่าง) กรอบหลกั สตู ร การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช .... วฒั นาพร/รา่ งกรอบหลักสูตร
1. สมรรถนะการจดั การตนเอง (Self-Management: SM) ตวั อยา่ ง นยิ าม องค์ประกอบ 1. การเห็นคุณค่าในตนเอง การรจู้ ัก รกั เห็นคณุ คา่ ในตนเองและ 2. การมเี ป้าหมายในชีวติ ผูอ้ ื่น การพฒั นาปัญญาภายใน ตัง้ เป้าหมายใน 3. การจดั การอารมณ์และความเครียด ชีวติ และกากบั ตนเองในการเรียนร้แู ละใช้ชีวติ 4. การจดั การปญั หาและภาวะวกิ ฤต การจัดการอารมณแ์ ละความเครยี ด รวมถึง การจดั การปัญหาและภาวะวิกฤต สามารถฟ้นื คืนสู่สภาวะสมดลุ (Resilience) เพ่ือไปสู่ ความสาเร็จของเปา้ หมายในชีวิต มีสุขภาวะทด่ี แี ละมีสมั พนั ธภาพกบั ผอู้ น่ื ได้ดี วฒั นาพร/รา่ งกรอบหลักสูตร
ระดบั สมรรถนะหลกั วัฒนาพร/รา่ งกรอบหลกั สตู ร
1. ระดบั สมรรถนะการจัดการตนเอง ตวั อยา่ ง
7. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรียนรูใ้ น (ร่าง) กรอบหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. .... o หมายถึง สมรรถนะเฉพาะทสี่ าคัญจาเป็นในศาสตร์พน้ื ฐานทีก่ าหนดใหผ้ ู้เรยี นทุกคนเรยี นรู้ ฝึกฝน ผ่านการจดั การศึกษาฐานสมรรถนะ จนเกิดความสามารถและความเชยี่ วชาญตามระดับท่ีกาหนด o สมรรถนะเฉพาะ จะช่วยเสริมสรา้ งและพฒั นาสมรรถนะหลกั ผา่ นการเชือ่ มโยงกับสมรรถนะหลัก เพอ่ื กาหนดผลลัพธก์ ารเรียนรู้ และการจดั การเรยี นร้ทู ี่บูรณาการข้ามสาระ สาระการเรยี นรู้ทีก่ าหนดใน (รา่ ง) กรอบหลกั สตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ฯ ชว่ งชน้ั ท่ี 1 (ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 - 3) กาหนดสาระการเรียนรู้ 7 สาระการเรียนรู้ ซึง่ ประกอบด้วย o สมรรถนะเฉพาะ o ผลลพั ธ์การเรียนรเู้ มื่อจบชว่ งชน้ั
(รา่ ง) กรอบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช .... ชว่ งช้นั ท่ี 1 (ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3) กาหนดสาระการเรยี นรู้ 7 สาระการเรยี นรู้ ประกอบด้วย สมรรถนะเฉพาะ และผลลัพธก์ ารเรยี นรู้เมอ่ื จบช่วงช้นั ดังน้ี 1 ภาษาไทย 2 คณิตศาสตร์ 3 ภาษาอังกฤษ 4 ศิลปะ 5 6สุขศึกษา และพลศึกษา สังคมศึกษา ประวตั ศิ าสตร์ หนา้ ท่ีพลเมือง และศีลธรรม 7 วทิ ยาศาสตรแ์ ละระบบธรรมชาติ
องคป์ ระกอบสาระการเรยี นรู้ 1. สมรรถนะเฉพาะ (Specific Competencies) เป็นสมรรถนะเฉพาะสาระการเรยี นรูท้ ่ีประกอบดว้ ย ความรู้ Knowledge ทกั ษะ Skills เจตคติ Attitudes ค่านิยม Values ของแตล่ ะสาระการเรยี นรูท้ ่ีกาหนดสาหรบั นกั เรยี นในแต่ละช่วงชนั้
องค์ประกอบสาระการเรียนรู้ 2. ผลลัพธ์การเรยี นรู้เมื่อจบช่วงชั้น (Learning Outcomes) o เปน็ เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้เมือ่ จบช่วงช้นั o ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย พฤติกรรม ทส่ี ะท้อน สมรรถนะหลกั และ สมรรถนะเฉพาะ ท่ีครูผู้สอนตอ้ งนาไปใช้เปน็ กรอบแนวคดิ ในการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ และการวัด และประเมินผลเพื่อพฒั นาผเู้ รยี น o ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้เมือ่ จบช่วงช้ัน จึงเป็นภาพรวมความสามารถ ของนักเรียนตามสาระการเรยี นรู้ วัฒนาพร/ร่างกรอบหลกั สตู ร
8. ความสมั พนั ธ์ระหว่างสมรรถนะหลกั กับสาระการเรยี นรู้ เป็นการวิเคราะหค์ วามเช่ือมโยงเพ่ือพัฒนา สมรรถนะหลัก 6 ดา้ น ผา่ น 7 สาระการเรียนรู้ โดย ผสมผสานระหวา่ งสมรรถนะหลัก (ระดับพฤติกรรม) กบั สมรรถนะ เฉพาะ (KSA) ของแต่ละสาระการเรยี นรู้ เพ่อื กาหนดเปน็ ผลลัพธ์การเรยี นรู้เมอื่ จบช่วงช้ันท่ี 1 ของแต่ละสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ช่วงชัน้ ท่ี 1 ตัวอย่าง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสมรรถนะหลกั และสมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก สมรรถนะเฉพาะ 1. การจัดการตัวเอง 2. การคิดขัน้ สงู 1. การแก้ปัญหา 3. การสือ่ สาร 1.1 มคี วามอยากรู้อยากเห็น สามารถมองเห็นปญั หาทางคณติ ศาสตร์ในชีวติ จริง 4. การรวมพลังทางานเป็นทมี 5. การเปน็ พลเมืองทเ่ี ขม้ แขง็ ดว้ ยมุมมองของตนเอง (Thinking mathematically) 6. การอย่รู ่วมกับธรรมชาตแิ ละ วิทยาการอยา่ งยัง่ ยนื 1.2 แก้ปญั หาในชีวติ จรงิ ผ่านการลงมือแก้ปญั หาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ และเรียนรู้ คณิตศาสตร์ผา่ นการสะทอ้ นความคิด (reflect) จากประสบการณ์ 1.3 มคี วามมมุ านะในการทาความเขา้ ใจและแก้ปญั หาทางคณติ ศาสตร์
คณิตศาสตร์ ชว่ งช้ันที่ 1 (ต่อ) ตัวอยา่ ง ผลลพั ธ์การเรียนรู้เม่ือจบช่วงชน้ั ท่ี 1 1. ส่อื สาร ส่อื ความหมายเกยี่ วกบั จานวนนับ และเศษสว่ นอย่างงา่ ยได้อย่างถูกตอ้ ง และนาไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ 2. อธิบายความสัมพนั ธ์ของจานวนโดยใชก้ ารรวม (compose) หรอื การแยก (decompose) ของจานวน เปรียบเทยี บและเรยี งลาดบั จานวน 3. อธิบายความสมั พนั ธข์ องแบบรปู ซา้ ของจานวน รปู เรขาคณิตและรูปอ่นื ๆ และแบบรูปของจานวนนบั ทเ่ี พิม่ ข้นึ หรอื ลดลงทีละเทา่ ๆ กัน สรา้ งขอ้ สรปุ และขยายแนวคดิ เพื่อสรา้ งแบบรปู และแกป้ ญั หาในสถานการณต์ ่าง ๆ 4. เขา้ ใจสถานการณ์ในชีวิตจรงิ ทจี่ ะนาการบวก การลบ การคูณ และการหาร มาใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม คานวณและ เลอื กใชเ้ ครือ่ งมือในการบวก การลบ การคูณ และการหาร โดยเชอ่ื มโยงกบั ความสมั พนั ธแ์ ละสมบัตติ า่ ง ๆ ของการ ดาเนินการได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ และแปลความหมายภาษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตรเ์ ป็นสถานการณใ์ นชีวิตจรงิ 5. แก้ปัญหาเกี่ยวกับจานวนนบั และเศษสว่ นในสถานการณต์ า่ ง ๆ
ตวั อย่าง แนวทางการจัดการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ คณิตศาสตร์ ความรู้และสมรรถนะทเ่ี ช่ือมโยงกัน ตวั อยา่ งสถานการณ์ กจิ กรรม และเครื่องมือทใ่ี ช้สาหรับนักเรียน 5. แกป้ ัญหาเกยี่ วกับจานวนนับและเศษส่วนในสถานการณต์ า่ ง ๆ 1. แกป้ ัญหาเก่ียวกบั จานวนนบั และ • สารวจสถานการณป์ ัญหาเก่ียวกบั จานวนนบั หรอื เศษสว่ นและใช้ เศษสว่ นในชวี ติ จรงิ โดยเลือกใช้ กระบวนการหรอื ยทุ ธวิธีตา่ ง ๆ ในการแกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์ โดย เครอ่ื งมือการเรยี นรูท้ ่ีเหมาะสม เลือกใชเ้ ครอ่ื งมือท่ีเหมาะสมชว่ ยในการแกป้ ัญหาจนสาเรจ็ เช่น การใชบ้ าร์ ชว่ ยในการแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง โมเดลชว่ ยในการวิเคราะหแ์ ละหาคาตอบ และรว่ มกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งมมุ านะ • ใชค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั จานวนและการดาเนินการชว่ ยในการแกป้ ัญหาท่ีเกิดขนึ้ ในชีวติ ประจาวนั เชน่ โครงการจดั การขยะในโรงเรยี น บนั ทกึ จานวนสนิ คา้ ท่ีขายไดใ้ นสหกรณโ์ รงเรยี น WRangubtook
9. โครงสรา้ งเวลาเรยี น
วฒั นาพร/รา่ งกรอบหลักสตู ร
10. แนวทางบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร
แนวทางการบริหารจัดการหลกั สตู รสถานศึกษาฐานสมรรถนะ 1. เตรยี มความพร้อม 2. ร่างหลักสตู รและ 3. นาไปใช้และปรับปรงุ 4. ประเมินหลักสูตร - ความพรอ้ มของบคุ ลากร ตรวจสอบคุณภาพ - สรา้ งความเข้าใจ และวางระบบ - เกบ็ รวบรวมข้อมูลการใช้ การนาหลักสตู รไปใช้ หลักสูตร - ขอ้ มลู บริบท - ร่างหลักสูตรตามองคป์ ระกอบ - ออกแบบโครงสรา้ งรายวชิ า - ประเมนิ ผลการใช้หลกั สูตร - ตรวจสอบความถูกตอ้ ง กิจกรรม หนว่ ยการเรียนรู้ - ปรับปรุงหลักสูตรใหส้ มบูรณ์ - แนวคิดสาคัญ เหมาะสมของหลักสตู ร แผนการจัดการเรยี นรู้ - ตรวจสอบเพื่อให้การรบั รอง - จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ และ - รา่ งกรอบหลักสตู รฯ ปรับปรงุ WRangubtook
ขัน้ ตอนที่ 1 เตรียมความพร้อมในการจัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษา ฐานสมรรถนะ 1. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ 3. ศกึ ษาการจดั การศึกษา ฐานสมรรถนะ 2. จดั ทาข้อมลู ความตอ้ งการจาเป็ น 4. ศกึ ษา (ร่าง) กรอบหลักสูตร การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช .... ตามบริบทของสถานศกึ ษา ชุมชน ทอ้ งถน่ิ และสถานการณป์ ัจจุบนั
ข้ันตอนที่ 2 รา่ งหลักสตู รสถานศกึ ษาฐานสมรรถนะ และตรวจสอบคณุ ภาพหลักสตู ร จดั ทา (ร่าง) หลักสตู ร ตรวจพจิ ารณา เสนอคณะกรรมการ สถานศกึ ษา คุณภาพหลักสตู ร สถานศกึ ษา/ คณะกรรมการ ฐานสมรรถนะ ขับเคลือ่ นพื้นทน่ี วัตกรรม และรายละเอียด การศกึ ษา พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ
Search