Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะการเรียนรู้ ประถม

ทักษะการเรียนรู้ ประถม

Published by yinyin3007tanwarat, 2020-05-28 03:01:19

Description: ทักษะการเรียนรู้ ประถม

Search

Read the Text Version

~ 51 ~ การจัดการความรู การจัดการความรู (Knowledge Management) หมายถึง การจัดการกับ ความรูและ ประสบการณ ที่มีอยูในตัวตน และความรูเดนชัดนํามาแบงปนใหเกิดประโยชน ตอตนเองและ องคกร ดวยการผสมผสานความสามารถของคนเขาดวยกันอยางเหมาะสม มี เปาหมายเพอื่ การ พัฒนางาน พฒั นาคน และพัฒนาองคกรใหเปนองคกรแหงการเรียนรู ในปจจุบันและในอนาคต โลกจะปรับตัวเขาสูการเปนสังคมแหงการเรียนรู ซึ่ง ความรู กลายเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาคน ทําใหคนจําเปนตองสามารถแสวงหาความรู พัฒนา และสรางองคความรูอยางตอเนื่อง เพื่อนําพาตนเองสูความสําเร็จ และนําพา ประเทศชาตไิ ปสู การพฒั นา มคี วามเจริญกาวหนาและสามารถแขงขันกบั ตางประเทศได คนทุกคนมีการจัดการความรูในตนเอง แตยังไมเปนระบบ การจัดการความรู เกิดขึ้น ไดในครอบครัวที่มีการเรียนรูตามอัธยาศัย พอแมสอนลูก ปูยา ตายาย ถายทอด ความรู ภูมิปญญาใหแกลกหลานในครอบครัว ทํากันมาหลายชัว่ อายุคน โดยใชวิธีธรรมชาติ เชน พูดคุย สั่งสอน จดจํา ไมมีกระบวนการทีเ่ ปนระบบแตอยางใด วิธีดังกลาวถือเปนการ จัดการ ความรูรูปแบบหนึง่ แตอยางไรก็ตามในโลกยุคปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเรว็ ในดาน ตางๆ การใชวิธีการจัดการความรูแบบธรรมชาติอาจกาวตามโลกไมทัน จึง จําเปนตองมี กระบวนการที่เปนระบบ เพื่อชวยใหองคกรสามารถทําใหบุคคลไดใชความรู ตามทีต่ องการได ทันเวลา ซึ่งเปนกระบวนการพัฒนาคนใหมีศักยภาพ โดยการสรางและใช ความรูในการปฏิบัติ งานใหเกิดผลสัมฤทธิ์ดึขึน้ กวาเดิม การจัดการความรูหากไมปฏิบัติจะ ไมเขาใจเรื่องการจัดการ ความรู นั่นคือ \" ไมทํา ไมรู \" การจัดการความรูจึงเปนกิจกรรม ของนักปฏิบัติกระบวนการ จัดการความรู จึงมีลักษณะเปนวงจรเรียนรูที่ตอเนื่องสม่าํ เสมอ เปาหมายคือ การพัฒนางาน และพัฒนาคน การจัดการความรูที่แทจริง เปนการจัดการความรูโดยกลุมปฏิบัติงาน เปนการ ดําเนิน กิจกรรมรวมกันในกลุมผูทํางาน เพือ่ ชวยกันดึง \" ความรูในคน \" และควาความรู ภายนอกมา ใชในการทํางานทาํ ใหไดรบั ความรมู ากขึน้ ซึ่งถือเปนการยกระดับความรูและนํา ความรูท่ี ไดรับ การยกระดับไปใชในการทํางานเปนวงจรตอเนื่องไมจบสิ้น การจัดการ ความรูจึงตองรวมมือ กันทําหลายคน ความคิดเห็นแตกตางในแตละบุคคลจะกอใหเกิดการ สรางสรรคดวยการใช กระบวนการแลกเปลย่ี นความรู มีปณธิ านมุงมน่ั ทจี่ ะทํางานใหประสบ ผลสําเรจ็ ดีขน้ึ กวาเดมิ เมอื่ ดาํ เนินการจัดการความรแู ลวจะเกิดนวัตกรรมในการทํางาน น่ัน

~ 52 ~ คือเกิดการตอยอดความรู และมีองคความรูเฉพาะเพือ่ ใชในการปฏิบัติงานของตนเอง การจดั การความรมู ิใชการเอา ความรูท่ีมอี ยูในตํารา หรือจากผูเชีย่ วชาญมากองรวมกันและจัด หมวดหมูเผยแพร แตเปน การดึงเอาความรูเฉพาะสวนที่ใชงานมาจดั การใหเกิดประโยชนกับ ตนเอง กลมุ หรือชุมชน การจัดการความรูเปนการเรียนรูจากการปฏิบัติ นําผลจากการปฏิบัติมาแลกเปลี่ยน เรียนรู กัน เสริมพลังของการแลกเปลี่ยนเรียนรูดวยการชืน่ ชม ทําใหเปนกระบวนการ แหงความสุข ความภูมิใจ และการเคารพเห็นคุณคาซึ่งกันและกัน ทักษะเหลานี้ นาํ ไปสูการสรางนิสัยคิดบวก ทําบวก มองโลกในแงดี และสรางวัฒนธรรมในองคกร ที่ผูคนสัมพันธกันดวยเรื่องราวดีๆ ดวยการ แบงปนความรู และแลกเปลี่ยนความรูจาก ประสบการณซึง่ กันและกัน โดยที่กิจกรรมเหลานี้ สอดคลอง แทรกอยูในการทํางาน ประจาํ ทกุ เร่ือง ทกุ เวลา…… ศ.นพ.วิจารณวานชิ ความสาํ คัญของการจดั การเรยี นรู หัวใจของการจัดการความรูคือ การจัดการความรูทีอ่ ยูในตัวบุคคล โดยเฉพาะ บุคคล ทีม่ ีประสบการณในการปฏิบัติงานจนประสบผลสําเร็จ กระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรูระหวาง คนกับคน หรือกลุมกับกลุม จะกอใหเกิดการยกระดับความรูท่ีสงผลตอ เปาหมายของการ ทํางาน นัน่ คือ เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพของงาน คนเกิดการพัฒนา และสงผลตอเนือ่ งไปถึง องคกร เปนองคกรแหงการเรยี นรู ผลทีเ่ กิดขึน้ กับการจัดการความรู จึงถือวามีความสําคัญตอ การพัฒนาบุคลากรในองคกร ซึ่งประโยชนที่จะเกิดขึ้นตอบุคคล กลมุ หรอื องคกร มอี ยางนอย 3 ประการ คือ 1. ผลสัมฤทธ์ิของงาน หากมีการจัดการความรูในตนเอง หรือในหนวยงาน องคกร จะเกิดผลสําเร็จทีร่ วดเร็วยิง่ ขึน้ เนือ่ งจากความรูเพื่อใชในการพัฒนา งาน นั้นเปนความรูทไี่ ดจากผทู ผี่ านการปฏิบัติโดยตรง จึงสามารถนํามาใชใน การ พัฒนางานไดทันที และเกิดนวัตกรรมใหมในการทํางานทัง้ ผลงานที่

~ 53 ~ เกิดขึ้น ใหม และวัฒนธรรมการทํางานรวมกันของคนในองคกรทีม่ ีความเอือ้ อาทร ตอกนั 2. บุคลากร การจัดการความรูในตนเองจะสงผลใหคนในองคกรเกิดการพัฒนา ตนเองและสงผลรวมถงึ องคกร กระบวนการเรียนรูจากการแลกเปลี่ยนความรู รวมกัน จะทําใหบุคลากรเกิดความมัน่ ใจในตนเอง เกิดความเปนชุมชนใน หมูเพื่อนรวมงาน บุคลากรเปนบุคคลเรียนรูและสงผลใหองคกรเปนองคกร แหงการเรียนรูอกี ดวย 3. ยกระดับความรูของบุคลากรและองคกร การแลกเปลี่ยนเรียนรู จะทําให บุคลากรมีความรูเพิ่มข้ึนจากเดิม เห็นแนวทางในการ พัฒนางานทีช่ ัดเจนมาก ขึ้น และเมือ่ นําไปปฏิบัติจะทําใหบุคคลและองคกรมีองคกรความรูเพื่อใชใน การปฏิบัติงานในเรือ่ งทีส่ ามารถนําไปปฏิบัติได มีองคความรูทีจ่ ําเปนตอการ ใชงาน และจัดระบบใหอยใู นสภาพพรอมใช

~ 54 ~ การที่เรามีการจัดการความรูในตนเอง จะพบวาความรูในตัวเราที่คิดวาเรามีเยอะแลว นั้น จริงๆ แลวยังนอยมากเมือ่ เทียบกับบุคคลอื่น และหากเรามีการแบงปนแลกเปลีย่ น ความรูกับบุคคลอื่น จะพบวามีความรูบางอยางเกิดขึน้ โดยที่เราคาดไมถึง และหากเราเห็น แนวทางมีความรแู ลวไมนําไป ปฏิบัติ ความรูนัน้ ก็จะไมมีคุณคาอะไรเลย หากนําความรูนั้น ไป แลกเปลี่ยนและนําไปสูการปฏิบัติ ที่เปนวงจรตอเนื่องไมรูจบ จะเกิดความรูเพิ่มขึ้นอยาง มาก หรือทเี่ รยี กวา \" ย่งิ ให ยิง่ ได \" หลักการของการจดั การความรู การจัดการความรู ไมมีสูตรสําเร็จในวิธีการของการจัดการเพือ่ ใหบรรลุ เปาหมายใน เรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ แตขึน้ อยูกับปณิธานความมุงมั่นทีจ่ ะทํางานของตนหรือ กิจกรรมของกลุมให ดีข้ึนกวาเดิม แลวใชวิธีการจัดการความรูเปนเครื่องมือหนึง่ ในการ พัฒนาหรือสรางวตั กรรม ในงาน มหี ลักการสาํ คัญ 4 ประการ ดงั นี้ 1. ใหคนหลายหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิด ทํางานรวมกันอยางสรางสรรค การ จัดการความรูที่มีพลังตองทําโดยคนที่มีพื้นฐานแตกตางกัน มีความเชือ่ หรอื วิธีคดิ แตกตางกนั (แตมีจุดรวมพลังคือ มีเปาหมายอยูที่งานดวยกัน) ถา กลมุ ที่ ดําเนนิ การจดั การความรปู ระกอบดวยคนท่ีคิดเหมือนๆ กัน การจัดการ ความรู จะไมมีพลังในการจัดการความรู ความแตกตางหลากหลาย มีคุณคา มากกวา ความเหมอื น 2. รวมกันพัฒนาวิธีการทํางานในรูปแบบใหมๆ เพื่อบรรลุประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล ที่กาํ หนดไว ประสิทธิผลประกอบดวยองคประกอบ 4 ประการ คอื 2.1 การตอบสนองความตองการ ซึ่งอาจเปนความตองของตนเอง ผูรับ บริการความตองการของสังคม หรือความตองการทีก่ ําหนดโดยผูนํา องคการ 2.2 นวัตกรรม ซึ่งอาจเปนนวัตกรรมดานผลิตภัณฑใหมๆ หรือวิธีการ ใหมๆ ก็ได 2.3 ขีดความสามารถของบุคคล และขององคกร 2.4 ประสิทธิภาพในการทาํ งาน

~ 55 ~ 3. ทดลองและการเรียนรู เนื่องจากกิจกรรมการจัดการความรูเปนกิจกรรมที่ สรางสรรค จึงตองทดลองทําเพียงนอยๆ ซึง่ ถาลมเหลวก็กอผลเสียหายไม มาก นัก ถาไดผลไมดีก็ยกเลิกความคิดนั้น ถาไดผลดีจึงขยายการทดลองคือ ปฏิบัติ มากขึน้ จนในที่สุดขยาย เปนวิธีทํางานแบบใหม หรือที่เรียกวาได วิธีการปฏิบัติ ท่ีสงผลเปนเลิศ (best practice ) ใหม น่ันเอง 4. นาํ เขาความรูจากภายนอกอยยางเหมาะสม โดยตองถือวาความรูจากภายนอก ยัง เปนความรูที่ \" ดิบ \" อยูตองเอามาทําให \" สุก \" ใหพรอมใชตามสภาพ ของเรา โดยการเติมความรูที่มีตามสภาพของเราลงไป จึงจะเกิดความรูที่ เหมาะสมกับ ทเ่ี ราตองการใช หลกั การของการจดั การความรู จึงมุนเนนไปที่การจัดการทีม่ ีประสิทธิภาพ เพราะ การจัดการความรูเปนเครือ่ งมือระดมความรูในคน และความรูในกระดาษทั้งที่เปนความรู จาก ภายนอกและความรูของกลุมผูรวมงาน เอามาใชและยกระดับความรูของบุคคล ของ ผูรวมงาน และขององคกรทําใหงานมีคุณภาพสูงขึ้น คนเปนบุคคลเรียนรูและองคกรเปน องคกรแหงการ เรียนรู การจัดการความรูจึงเปนทักษะสิบสวน เปนความรูเชิงทฤษฎีเพียง สวนเดยี ว การจดั การ ความรจู งึ อยูในลกั ษณะ \" ไมทาํ - ไมรู \"

~ 56 ~ กิจกรรม กจิ กรรมที่ 1 ใหอธบิ ายความหมายของ \" การจดั การความรู \" มาพอสังเขป …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… กจิ กรรมท่ี 2 ใหอธิบายความสําคญั ของ \" การจดั การความรู \" มาพอสังเขป …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… กจิ กรรมที่ 3 ใหอธิบายหลกั การของ \" การจดั การความรู \" มาพอสังเขป …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

~ 57 ~ เรอื่ งท่ี 2 กระบวนการจดั การความรู รูปแบบการจัดการความรู การจัดการความรูนัน้ มีหลายรูปแบบ หรือทีเ่ รียกกันวา \" โมเดล \" มีหลากหลาย โมเดล หัวใจของการจัดการความรูคือ การจัดการความรูทีอ่ ยูในฐานะผูปฏิบัติและเปนผูมี ความรู การจัดการความรูที่ทําใหคนเคารพในศักดิศ์ รีของคนอื่น การจัดการความรูนอกจาก การจัดการ ความรูในตนเองเพื่อใหเกิดการพัฒนางานและพัฒนาตนเองแลว ยังมองรวมถึง การจัดการ ความรูในกลุมหรือองคกรดวยรูปแบบการจัดการความรูจึงอยูบนพื้นฐานของ ความเชื่อที่วา ทุกคนมีความรู ปฏิบัติในระดับความชํานาญทีต่ างกัน เคารพความรูทีอ่ ยูใน ตวั คน ดร.ประพนธผาสกุ ยดื ไดคดิ คนรูปแบบการจัดการความรูไว 2 รูปแบบคือ รูปแบบ ปลาทูหรือที่เรียกวา \"โมเดลปลาทู\" และรูปแบบปลาตะเพียน หรือที่เรียกวา \"โมเดล ปลา ตะเพยี น \" แสดงใหเหน็ ถึงรูปแบบการจัดการความรูภาพรวมของการจัดการที่ครอบคลุม ท้ัง ความรูทช่ี ัดแจงและความรูท่ีฝงลกึ ดงั น้ี โมเดลปลาทู เพื่อใหการจัดการความรู หรือ KM เปนเรือ่ งที่เขาใจงาย จึงกําหนดใหการจัดการ ความรูเปรียบเหมือนกับปลาทูตัวหนึ่ง มีสิ่งที่ตองดําเนินการจัดการความรูอยู 3 สวน โดย กําหนดวา สวนหัวคือการกําหนดเปาหมายของการจัดการความรูทีช่ ัดเจน สวนตัวปลาคือ การ แลกเปลี่ยนความรูซ่ึงกันและกัน และสวนหางปลาคือความารุที่ไดรับจากการ แลกเปลย่ี น เรยี นรู

~ 58 ~ รปู แบบการจดั การความรตู าม “โมเดลปลาท”ู สวนที่ 1 “หัวปลา” หมายถึง “Knowledge Vision” หรือ KV คือ เปาหมาย ของการจัดการความรู ผูใชตอรูวาจะจัดการความรูเพื่อบรรลุเปาหมายอะไร เกี่ยวของหรือ สอดคลองกบั วสิ ยั ทัศน พันธกิจ และยทุ ธศาสตรขององคกรอยางไร เชน จัดการความรูเพื่อ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพของงาน จัดการความรูเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตดานยาเสพติด จัดการความรู เพื่อ พัฒนาทักษะชีวิตดานสิง่ แวดลอม จัดการความรูเพือ่ พัฒนาทักษะชีวิตดานชีวิตและ ทรพั ยสิน จดั การความรเู พ่อื ฟนฟูขนบธรรมเนยี มประเพณดี ัง้ เดมิ ของคนในชุมชน เปนตน สวนที่ 2 “ตัวปลา” หมายถึง “Knowledge Sharing” หรือ KS เปนการ แลกเปลีย่ นเรียนรูหรือการแบงปนความรูที่ฝงลึกในตัวตนคนผูปฏิบัติ เนนการแลกเปลี่ยน วิธีการทํางานทีป่ ระสบผลสําเร็จ ไมเนนที่ปญหา เครื่องมือในการแลกเปลีย่ นเรียนรูมี หลากหลายแบบ อาทิ การเลาเร่ือง การสนทนาเชิงลึก การชื่นชมหรือการสนทนาในเชิง บวก เพือ่ นชวยเพอื่ น การทบทวนการปฏบิ ตั งิ าน การถอดบทเรยี น การถอดองคกรความรู สวนที่ 3 “หางปลา” หมายถงึ “Knowledge Assets” หรอื KA เปนขมุ ความรูที่ ได จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู มีเครื่องมือในการจัดเก็บความรูทีม่ ีชีวิตไมหยุดนิ่ง คือ นอกจาก จดั เก็บความรแู ลวยังงายในการนําความรอู อกมาใชจริง งายในการนําความรูออกมา ตอยอด และงายในการปรับขอมูลไมใหลาสมัย สวนนี้จึงไมใชสวนทีม่ ีหนาที่เก็บขอมูลไว เฉยๆ ไมใช หองสมุดสําหรับเก็บสะสมขอมูลทีน่ ําไปใชจริงไดยาก ดังน้ัน เทคโนโลยีการ ส่ือสารและ สารสนเทศ จึงเปนเครื่องมือจัดเก็บความรูอันทรงพลังยิง่ ในกระบวนการจัดการ ความรู

~ 59 ~ ตวั อยางการจัดการความรเู รื่อง “การพฒั นากลมุ วิสาหกิจชมุ ชน” ในรปู แบบปลาทู โมเดลปาตะเพียน จากโมเ ดล “ปลาทู ” ตวั เดยี วมาสูโมเดล “ปลาตะเพียน” ทีเ่ ปนฝูง โดยเปรียบแม ปลา “ปลาตวั ใหญ” ไดกบั วิสยั ทศั น พันธกจิ ขององคกรใหญ ในขณะที่ปลาตัวเล็กหลายๆ ตวั เปรยี บไดกบั เปาหมายของการจดั การความรูท่ีตองไปตอบสนองเปาหมายใหญขององคกร จึงเปนปลาทั้งฝูงเหมือน “โมบายปลาตะเพียน” ของเลนเด็กไทยสมัยโบราณที่ผูใหญสาน เอา ไวแขวนเหนือเปลเด็ก เปนฝูงปลาที่หันหนาไปในทิศทางเดียวกัน และมีความเพียร พยายามทจ่ี ะ วายไปในกระแสนาํ้ ทเ่ี ปล่ยี นแปลงอยูตลอดเวลา ปลาใหญอาจเปรียบเหมือนการพัฒนาอาชีพตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใน ชุมชนซ่ึงการพัฒนาอาชีพดังกลาวตองมีการแกปญหาและพัฒนารวมกันไปทั้งระบบ เกิด กลุม ตางๆขึน้ ในชุมชน เพื่อการเรียนรูรวมกัน ทัง้ การทําบัญชีครัวเรือน การทําเกษตร อินทรีย การ ทําปุยหมัก การเลี้ยงปลา การเลี้ยงกบ การแปรรูปผลิตภัณฑเพื่อใชใน ครอบครวั หรอื จําหนาย เพอ่ื เพม่ิ รายได เปนตน เหลานี้ถือเปนปลาตัวเล็ก หากการแกปญหา ที่ปลาตัวเล็กประสบผล สําเร็จ จะสงผลใหปลาใหญ หรือเปาหมายในระดับชุมชนประสบ ผลสาํ เรจ็ ดวยเชนกัน น่ันคือ ปลาวายไปขางหนาอยางพรองเพรยี งกนั ที่สําคัญปลาแตละตัวไมจําเปนตองมีรูปรางและขนาดเหมือนกัน เพราะการจัดการ ความรูของแตละเรือ่ ง มีสภาพของความยากงายในการแกปญหาทีแ่ ตกตางกัน รูปแบบของ การ จัดการความรูของแตละหนวยยอยจึงสามารถสรางสรรค ปรับใหเขากับแตละที่ไดอยาง เหมาะสม ปลาบางตัวอาจจะทองใหญเพราะอาจมีสวนของการแลกเปลี่ยนเรียนรูมาก บาง ตัว อาจเปนปลาทีห่ างใหญเดนในเรื่องของการจัดระบบคลังความรูเพื่อใชในการปฏิบัติมาก แต ทกุ ตัวตองมีหัวและตาท่มี องเห็นเปาหมายท่ีจะไปอยางชดั เจน

~ 60 ~ การจัดการความรูไดใหความสําคัญกับการเรียนรูทีเ่ กิดจากการปฏิบัติจริง เปนการ เรียนรใู นทุกขน้ั ตอนของการทํางาน เชน กอนเร่ิมงานจะตองมีการศึกษาทําความเขาใจในสิ่ง ท่ี กาํ ลงั จะทาํ จะเปนการเรียนรูดวยตัวเองหรืออาศัยความชวยเหลือจากเพือ่ นรวมงาน มีการ ศกึ ษาวิธกี ารและเทคนิคตางๆ ทีใ่ ชไดผล พรอมทัง้ คนหาเหตุผลดวยวาเปนเพราะอะไร และ จะ สามารถนําส่ิงท่ีไดเรียนรูนัน้ มาใชงานทีก่ ําลังจะทํานี้ไดอยางไร ในระหวางที่ทํางานอยู เชนกัน จะตองมีการทบทวนการทํางานอยูตลอดเวลา เรียกไดวาเปนการเรียนรูที่ไดจากการ ทบทวน กจิ กรรมยอยในทกุ ๆ ขัน้ ตอน หมน่ั ตรวจสอบอยูเสมอวาจดุ มุงหมายของงานท่ีทําอยู น้ีคืออะไร กําลังเดินไปถูกทางหรือไมเพราะเหตุใด ปญหาคืออะไร จะตองทําอะไรให แตกตางไป จากเดิมหรือไม และนอกจากนั้นเมื่อเสร็จสิ้นการทํางานหรือเมื่อจบโครงการก็ จะตองมีการ ทบทวนสิ่งตางๆ ทีไ่ ดมาแลววามีอะไรบางที่ทําไดดี มีอะไรบางทีต่ องปรับปรุง แกไขหรือ รับไวเปนบทเรียน ซึ่งการเรียนรูตามรูปแบบปลาทูนี้ ถือเปนหัวใจสําคัญของ กระบวนการ เรยี นรทู ่ีเปนวงจรอยูสวนกลางของรปู แบบการจัดการความรูนั่นเอง กระบวนการจดั การความรู กระบวนการจัดการความรู เปนกระบวนการแบบหนึง่ ทีจ่ ะชวยใหองคกรเขาใจถึง ขั้นตอนทีท่ ําใหเกิดกระบวนการจัดการความรู หรือพัฒนาการของความรูทีจ่ ะเกิดขึน้ ภายใน องคกร มขี น้ั ตอน 7 ข้นั ตอน ดงั นี้ 1. การบงชี้ความรู เปนการพิจารณาวา เปาหมายการทํางานของเราคืออะไร และ เพื่อใหบรรลุเปาหมายเราจําเปนตองรูอะไร ขณะนีเ้ รามีความรูอะไร อยู ใน รปู แบบใด อยทู ่ใี คร 2. การสรางและแสวงหาความรู เปนการจัดบรรยากาศและวัฒนธรรมการ ทํางาน ของคนในองคกรเพื่อเอื้อใหคนมีความกระตือรือรนในการแลกเปลีย่ น ความรู ซึ่งกันและกัน ซึ่งจะกอนใหเกิดการสรางความรูใหมเพื่อใชในการ พฒั นาอยู ตลอดเวลา 3. การจัดความรูใหเปนระบบ เปนการจัดทําสารบัญและจัดเก็บความรูประเภท ตางๆ เพือ่ ใหการเก็บรวบรวมและการคนหาความรู นํามาใชไดงายและ รวดเรว็

~ 61 ~ 4. การประมวลและกลัน่ กรองความรู เปนการประมวลความรูใหอยูในรูป เอกสาร หรอื รปู แบอื่นๆ ท่ีมีมาตรฐาน ปรับปรุงเนือ้ หาใหสมบูรณ ใหภาษาท่ี เขาใจงาย และใชไดงาย 5. การเขาถึงความรู เปนการเผยแพรความรูเพือ่ ใหผูอื่นไดใชประโยชน เขาถึง ความรูไดงายและสะดวก เชน ใชเทคโนโลยี เว็บบอรด หรือบอรด ประชาสัมพนั ธ เปนตน 6. การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ทําไดหลายวิธีการ หากเปนความรูเดนชัด อาจ จัดทําเปนเอกสาร ฐานความรูทีใ่ ชเทคโนโลยีสารสนเทศ หากเปน ความรูท่ี ฝงลึกทีอ่ ยูในตัวคน อาจจัดทําเปนระบบแลกเปลี่ยนความรูเปนทีม ขามสายงาน ชุมชนแหงการเรียนรู พีเ่ ลี้ยงสอนงาน การสับเปลี่ยนงาน การ ยมื ตัว เวที แลกเปลย่ี นเรยี นรู เปนตน 7. การเรยี นรู การเรียนรูของบุคคลจะทําใหเกิดความรูใหมๆ ขึ้นมากมาย ซ่ึงจะ ไปเพิ่มพูนองคความรขู ององคกรท่ีมีอยแู ลวใหมากขน้ึ เรอื่ ยๆ ความรเู หลาน้ีจะ ถูกนําไปใชเพือ่ สรางความรูใหมๆ เปนวงจรทีไ่ มสิ้นสุด เรียกวาเปน “วงจร แหง การเรยี นรู”

~ 62 ~ ตวั อยางของกระบวนการจัดการความรู “วสิ าหกิจชุมชน” บานทงุ รวงทอง 1. การบงชค้ี วามรู หมูบานทุงรวงทองเปนหมูบานหนึง่ ที่อยูในอําเภอจุน จังหวัดพะเยา จากการที่ หนวยงานตางๆ ไดไปสงเสริมใหเกิดกลุมตางๆ ขึ้นในชุมชน และเห็นความสําคัญของการ รวมตัวกันเพื่อเกือ้ กูลคนในชุมชนใหมีการพึง่ พาอาศัยซึ่งกันและกัน จึงมีเปาหมายจะพัฒนา หมูบานใหเปนวิสาหกิจชุมชน จึงตองมีการาบงชีค้ วามรูทีจ่ ําเปนทีจ่ ะพัฒนาหมูบานใหเปน วิสาหกิจชุมชน นัน่ คือหาขอมูลชุมชนในประเทศไทยมีลักษณะเปนวิสาหกิจชุมชน และ เม่ือ ศึกษาขอมูลแลวทําใหรูวาความรูเรือ่ งวิสาหกิจชุมชนอยูทีไ่ หน น่ันคืออยูท่ีเจาหนาท่ี หนวยงาน ราชการทีม่ าสงเสริม และอยูในชุมชนที่มีการทําวิสาหกิจชุมชนแลวประสบ ผลสาํ เร็จ 2. การสรางและแสวงหาความรู จากการศกึ ษาหาขอมูลแลววา หมูบานที่ทําเรือ่ งวิสาหกิจชุมชนประสบผลสําเร็จ อยู ที่ไหนไดประสานหนวยงานราชการ และจัดทําเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อเตรียมการในการ ไปศกึ ษาดงู าน เม่อื ไปศึกษาดงู านไดแลกเปลยี่ นเรยี นรู ทาํ ใหไดรบั ความรูเพ่ิมมากข้ึน เขาใจ รปู แบบ กระบวนการของการทาํ วสิ าหกจิ ชุมชน และแยกกันเรียนรูเฉพาะกลุมเพื่อนําความรู ทีไ่ ดรับมาปรับใชในการทําวิสาหกิจชุมชนในหมูบานของตนเอง เมือ่ กลับมาแลว มีการทํา เวทีหลายครัง้ ทั้งเวทีใหญทีค่ นทัง้ หมูบานและหนวยงานหลายหนวยงานมาใหคําปรึกษา ชุมชนรวมกันคิด วางแผน และตัดสินใจ รวมท้ังเวทียอยเฉพาะกลุมจากการแลกเปลี่ยน เรียนรู ผานเวทีชาวบานหลายครั้ง ทําใหชุมชนเกิดการพัฒนาในหลายดาน เชน ความสมั พนั ธของคน ในชุมชน การมีสวนรวมทง้ั รวมคดิ รวมวางแผน รวมดําเนนิ การ รวม ประเมนิ ผล และรวมรบั ผลประโยชนท่ีเกิดข้ึนในชมุ ชน 3. การจัดความรใู หเปนระเบยี บ การทําหมบู านใหเปนวิสาหกจิ ชุมชน เปนความรูใหมของคนในชุมชน ชาวบานได เรยี นรไู ปพรอมๆ กนั มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูกันอยางเปนทางการและไมเปนทางการ โดยมี สวนราชการและองคกรเอกชนตางๆ รวมกันหนุนเสริมการทํางานอยางบูรณาการ และจาก

~ 63 ~ การ ถอดบทเรยี นหลายคร้ัง ชาวบานมคี วามรเู พ่ิมมากขึ้นแลบันทึกความรูอยางเปนระบบนั่น คือ มคี วามรูเฉพาะกลุมสวนใหญจะบันทึกในรูปเอกสาร และมกี ารทาํ วจิ ัยจากบุคคลภายนอก 4. การประมวลและกล่ันกรองความรู มีการจัดทําขอมูล ซึ่งมาจากการถอดบทเรียน และการจัดทําเปนเอกสารเผยแพร เฉพาะกลุมเปนแหลงเรียนรูใหกับนักศึกษา กศน. และนักเรียนในระบบโรงเรียน รวมทั้งมี นาํ ขอมูลมาวิเคราะหเพือ่ จดั ทาํ เปนหลักสตู รทองถน่ิ ของ กศน. อาํ เภอจนุ ดวย 5. การเขาถงึ ความรู นอกจากการมขี อมูลในชุมชนแลว หนวยงานตางๆ โดยเฉพาะองคการบริหารสวน ตําบลไดจัดทําขอมูลเพื่อใหคนเขาถึงความรูไดงาย ไดนําขอมูลใสไวอินเทอรเน็ต และใน แตละตําบลจะมอี ินเทอรเนต็ ตําบลใหบรกิ าร ทาํ ใหคนภายนอกเขาถงึ ขอมลู ไดงาย และมีการ เขาถึงความรูจากการแลกเปล่ียนเรียนรรู วมกันมาศึกษาดูงานคนภายนอก 6. การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ในการดําเนินงานกลุม ชุมชน ไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูกันในหลายรูปแบบ ท้ัง การ ไปศึกษาดูงาน การศึกษาเปนการสวนตัว การรวมกลุมในลักษณะชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ท่แี ลกเปลี่ยนเรยี นรูรวมกนั ทง้ั เปนทางการและไมเปนทางการ ทําใหกลุมไดรับความรู มากขึน้ และบางกลุมเจอปญหาอุปสรรค โดยเฉพาะเรื่องการบริหารจัดการกลุม ทําใหกลุม ตองงมา ทบทวนรวมกันใหม สรางความเขาใจรวมกัน และเรยี นรเู รอ่ื งการบรหิ ารจัดการจาก กลุมอ่นื เพิม่ เติม ทําใหกลุมสามารถดาํ รงอยูไดโดยไมลมสลาย 7. การเรยี นรู กลุมไดเรียนรูหลายอยางจากการดําเนินการวิสาหกิจชุมชน การที่กลุมมีการ พัฒนาขึ้น นั่นแสดงวากลุมมีความรูมากขึ้นจากการลงมือปฏิบัติและแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมกัน การพัฒนา นอกจากความรูทีเ่ พิ่มขึ้น ซึ่งเปนการยกระดับความรูของคนในชุมชน แลว ยังเปนการพัฒนา ความคิดของคนในชุมชนดวย ชุมชนมีความคิดทีเ่ ปลี่ยนไปจากเดิม มีการทํากิจกรรมเพื่อ เรียนรูรวมกันบอยขึ้น มีความคิดในการพึ่งพาตนเอง และเกิดกลุม ตางๆ ขน้ึ ในชุมชน โดยการ มีสวนรวมของคนในชมุ ชน

~ 64 ~ กจิ กรรม กจิ กรรมที่ 1 รูปแบบของการจดั การความรมู ีอะไรบาง และมลี ักษณะอยางไร …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… กจิ กรรมที่ 2 กระบวนการจัดการความรูมีก่ีข้ันตอน อะไรบาง …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… กจิ กรรมท่ี 3 ใหผเู รียนยกตวั อยางกลุม หรอื ชมุ ชนที่มกี ารจัดการความรปู ระสบผลสาํ เร็จ และอธิบายดวยวา สําเร็จอยางไร เพราะอะไร …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

~ 65 ~ เรื่องท่ี 3 กระบวนการจัดการความรดู วยตวั เอง การจัดการความรูเปนเรอื่ งท่เี ริ่มตนทีค่ น เพราะความรูเปนสงิ่ ทเี่ กิดมาจากคน มา จาก กระบวนการเรียนรกู ารคิดของคน คนจึงมีบทบาททงั้ ในแงของผสู รางความรู และเปนผู ที่ใช ความรู ซึง่ ถาจะมองภาพกวางออกไปเปนครอบครัว ชุมชน หรือแมแตในหนวยงาน ก็ จะเหน็ ไดวา ทัง้ ครอบครัวชมุ ชน หนวยงานลวนประกอบขึน้ มาจากคนหลายๆ คน ดังนนั้ หากระดบั ปจเจกบุคคลมคี วามสามารถในการจัดการความรู ยอมสงผลตอความสามารถใน การ จดั การความรูของกลุมดวย วิธีการเรียนรูทีเ่ หมาะสมเพื่อใหเกิดการจัดการความรูดวยตนเอง คือ ใหผูเรียนได เร่ิม กระบวนการเรียนรูตัง้ แตการเริ่มคิด คิดแลวลงมือปฏิบัติ และเมื่อปฏิบัติแลวจะเกิด ความรูจาก การปฏิบัติ ซึง่ ผูปฏิบัติจะจดจําทัง้ สวนทีเ่ ปนความรูฝงลึกและความรูทีเ่ ปดเผย มี การบันทึก ความรูในระหวางเรียนรูกิจกรรมหรือโครงการลงในสมุดบันทึก ความรูปฏิบัติที่ บนั ทกึ ไวใน รปู แบบตางๆ จะเปนประโยชนสาํ หรบั ตนเองและผูอื่นในการนําไปปฏิบัติแกไข ปญหาทีช่ ุมชน ประสบอยูใหบรรลุเปาหมายและขัน้ สุดทายคือ ใหผูเรียนไดพัฒนาปรับปรุง ส่ิงที่กําลังเรียนรูอยู ตลอดเวลา ยอนดูวาในกระบวนการเรียนรูนั้น มีความบกพรองใน ขนั้ ตอนใด กล็ งมือพัฒนา ตรงจดุ นั้นใหดี การจะเรียนรไู ดดนี ัน้ ผูเรยี นจะตองพัฒนาตนเอง ใหมีความสามารถและมีทักษะใน การจัดการความรดู วยตนเองใหมีความรูท่ีสูงขน้ึ ซง่ึ สามารถฝกทักษะเพื่อการเรียนรไู ดดงั น้ี ฝกสังเกต ใชสายตาและหูเปนเครื่องมือ การสังเกตจะชวยใหเขาใจในเหตุการณ หรือ ปรากฏการณนั้นๆ ฝกตัง้ คําถาม คําถามจะเปนเครื่องมืออยางหนึ่งในการเขาถึงความรูได เปนการตัง้ คําถามใหตนเองตอบ หรือจะใหใครตอบก็ได ทําใหไดขยายขอบขายความคิด ความรู ทํา ให รูสึก และรูกวางยิง่ ขึน้ ไปอีก อันเนือ่ งมาจากการทีไ่ ดศึกษาคนควาในคําถามทีส่ งสัยนัน้ คําถาม ควรจะถามวา ทาํ ไม อยางไร ซงึ่ เปนคาํ ถามระดับสูง ฝกแสวงหาคําตอบ ตองรูวาความรู หรือคําตอบทีต่ องการนั้นมีแหลงขอมูลให คนควา ไดจากทีไ่ หนบาง เปนความรูทอ่ี ยูในหองสมุด ในอินเทอรเน็ต หรือเปนความรูที่อยู ในตวั คน ทีต่ องไปสัมภาษณไปสกัดความารอู อกมา เปนตน

~ 66 ~ ฝกบันทึก จะบันทึกแบบจดลงสมุด หรือเปนภาพ หรอื ใชเครอื่ งมือบันทึกใดๆ กไ็ ด ตองบนั ทึกไว บนั ทกึ ใหปรากฏรองรอยหลกั ฐานของการคดิ การปฏิบตั ิ เพอ่ื การเขาถงึ และ การ เรยี นรขู องบคุ คลอนื่ ดวย ฝกการเขยี น เขียนงานของตนเองใหเปนประโยชนตอการเรียนรูของตนเองและ ผอู ืน่ งานเขียนหรือขอเขียนดังกลาวจะกระจายไปเพ่อื แลกเปล่ียนเรียนรูกบั ผคู นในสังคม ทม่ี าอาน งานเขียน ตัวอยางการจัดการความรูดวยคนเอง “เกษตรประณีต” ทางเลือกท่ีถกู ตองของคุณพอจันทรที เมอื่ กอนทาํ เกษตรเชงิ เดย่ี วทาํ นาอยางเดยี วพอฝนแลงนาไมขาวก็ไมมีรายไดจะ ซื้อขาวปลาอาหารก็ตองติดหนีเ้ ขาคยเปนหนี้พวกนายทุนถึงแสนกวาบาทจายดอกเบีย้ วันละ 114บาทกลมุ ใจมากไมมที างออกตองจากครอบครัวไปขายแรงงานที่มาเลเซีย ได เงินกลับมาแสนกวาบาท เอาไปไถที่นาคืนแตเครือ่ งมือทํานาไมมีแลว ตองกูเงินมาซือ้ เครื่องมือแลวกข็ าดทุนเหมอื นเดมิ เลยมานั่งคดิ กันในครอบครัววาส่ิงที่กําลังทํามันไมใช คนที่เขาไมเปนหนีค้ นที่เขามีความสุขเขาทํายังไงกันไปดูงานที่ไรดูการใชชีวิตของพอ ผายสรอยสระกลางที่จังหวัดบุรีรัมยก็เห็นวาเขามีกินมีเก็บพราะทําเกษตรแบบ ผสมผสาน คุณพอจันทรทีจึงเริ่มตนดวยการสรางแหลงน้าํ บนทีด่ ินของตนเองซึง่ ตอนนั้น ไมมีเงินจางรถขุดดิตองใชสองมือของคนทัง้ ครอบครัวชวยกันขุด“ชวยกันขุดทั้งบาน ขุนตอนกลางวนั ถาคนื ไหนเดอื นหงายกข็ ุดตอนกลาวคนื ดวยราไมมีเงินแตมีแรงมีความ ตัง้ ใจอยากใหครอบครัวอยูรอด พอ3 เดือนก็ไดบอน้าํ สําหรับเริม่ ตนทําเกษตรประณีต หรือเกษตรแบบผสมผสานเริ่มจากทีด่ ินแคงานขุดบอเลี้ยงปลาปลูกผักสวนครัวไม ผลไมยืนตนพชื ผกั สวนครวั ผลไมและปลาพอกินท้ังบานแลวยังเหลือพอแจกจายพีน่ อง สรางความรกั ใครกลมเกลียวในชมุ ชน” คุณพอจันทรทีบอกวา“ตอนทําเกษตรเชิงเดี่ยวใชปุยเคมีดินเลวลงทุกวัน คาใชจายสูงราคาผลผลิตก็ผันผวนตามตลาดตตอนทําเกษตรประณีตไมยาฆาแมลงใช

~ 67 ~ ปุยคอกราคาถูกแถมดินยังดีขึ้นดวยทํามา4ปแลวจากงานกลายเปนทําเต็มพื้นที่22ไร แบงเปนปลกู ขาว10ไรปลกู ไมผลไมยืนตนพชื ผกั สวนครัว5ไรปนที่อยูอาศัยหองน้ําและ ทาํ ศนู ยอบรมปราชญชาวบาน 2อกี ไร” นอกจากผลตอบแทนทีเ่ ปนพืชผลและรายไดแลวเกษตรประณีตยังให ผลตอบแทนเปนความอบอุนของครอบครัวอีกดวยเมื่อกอนลูกหลานเรียนจบก็ไป ทํางานที่กรุงเทพฯไดเงินเดือนหมื่นกวาบาทแตไมมีเหลือก็เริม่ หันกลับมามองวาพอ จันทรทีใชชวี ิตอยางไรทําอยางไรจงึ มเี งนิ เหลือเก็บปละเปนแสนทัง้ ๆที่ไมมีเงินเดือนลย พากนั กลับบานแลว ชวยกนั ทาํ งานในไร “เกษตรประณีตทําใหครอบครัวไดอยูดวยกันมีอยูมีกินมีเก็บและมีสุขภาพดี ถาเกษตรกรทําไดอยางนี้ทุกคนหายจนแนนอนผมลองมาแลวขุดบอมาเองกับมือรูดีวา ทําไดขอแคใจสูและตั้งใจจริงคนที่ลมเหลวก็เพราะไมสูหยุดกอนสําเร็จ ใจรอนอยาก ห็นผลเร็วๆหลักของเกษตรประณีตคือทําแบบคอยเปนคอยไปตามกําลังของตนอยาคิด ใหญเกนิ ตวั เนนเกบ็ เลก็ ผสมนอยทาํ แบบนํ้าซมึ บอทรายท่ีสําคัญทํางานแบบยึดความสุข และความพอเพยี งปนท่ีตงั้ อยายดึ ท่ตี ัวตนแลวจะพบกับความสขุ ทยี่ ัง่ ยนื ” การจดั การความรดู วยตนเอง ของคณุ พอจันทรที ประทุมภา วยั 69 ป ปราชญชาวบานแหงตาํ บลตลาดไทร อาํ เภอชุมพวง จงั หวัดนครราชสมี า การกาํ หนดความรหู ลักทจ่ี ําเปน หรอื สาํ คญั ตองานและกจิ การ การกําหนดความรูหลักทีจ่ ําเปน คือการคืนหาความรูเพื่อการแกปญหาและพัฒนา ตนเอง ดงั เชน พอจันทรที ประทุมภา มีปญหาจากการทําเกษตรเชิงเดี่ยว อาศัยฝนอยางเดียวใน การ ทํางาน เมื่อฝนแลง ไมมีน้ํา ทําใหทํานาไมได ไมมีรายได และเปนหนีน้ ายทุน จึงหา แนวทางใหมในการทําการเกษตร ความรูหลักทีจ่ ําเปนของพอจันทรที คือ การทําเกษตร ประณตี หรือทําเกษตรผสมผสาน

~ 68 ~ การเสาะแสวงหาความรู เมื่อไดระบุความรูที่ตองการแลว ก็ดําเนินการเสาะแสวงหาความรูโดยจําเพาะ เจาะจง ใชวิธีการหาความรูใหลึกซึง้ จากผูมีประสบการณ โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู คิด วิเคราะห เชอ่ื มโยงกบั ประสบการณของตนเอง เกิดเปนความรใู หม หรอื ความรูเดมิ เพิ่มขึ้น พอจันทรที ประทุมภา ไดเสาะแสวงหาความรูเรื่องการทําเกษตรประณีต หรือ เกษตรผสมผสาน จากพอผาย สรอยสระกลาง ปราชญชาวบาน จังหวัดบุรีรัมย เพราะเห็น วา พอผาย มีกิน มีเก็บ เพราะทํางานเกษตรแบบผสมผสาน เปนการเสาะแสวงหาความรู โดย จําเพาะเจาะจง พอผาย สรอยสระกลาง ปราชญชาวบาน นักจดั การ จ.บุรีรมั ย

~ 69 ~ การประยกุ ตใชความรู เมือ่ เสาะแสวงหาความรู และรูวาความรูที่ตองการนัน้ อยูทีไ่ หน พอจันทรที ประทุมภา ไดไปศึกษาหาความรูจากพอผาย สรอยสระกลาง เมือ่ เขาใจในหลักการจัดการ พื้นทีเ่ พือ่ ทําการ เกษตรแบบผสมผสานแลว ไดวางแผนที่จัดการในพื้นทีข่ องตนเอง นั่นคือ เกดิ ความคิดในการ ประยุกตใชความรใู หเหมาะสมกบั สภาพพน้ื ทห่ี รือส่ิงแวดลอมของตนเอง พอจันทรที ประทมุ ภา บนทนี่ าของตนเอง

~ 70 ~ การแลกเปลี่ยนความรู นอกจากแลกเปลย่ี นความรกู ารทาํ นาแบบผสมผสานกับพอผายแลว พอจันทรที ได มี การแลกเปลี่ยนความรูกับเกษตรกรอื่นๆ ที่มีความสนใจเรียนรูเกี่ยวกับการทําการเกษตร แบบ ผสมผสาน จัดพืน้ ทีส่ ําหรับการอบรมใหความรูกับผูทีส่ นใจ โดยการเปนวิทยากรให ความรู การพัฒนาความรู ยกระดับความรู และการตอยอดความรู ในการจัดการความรูของพอจันทร ประทุมภา การแลกเปลี่ยนเรียนรูการทําเกษตร ประณีต หรือเกษตรผสมผสาน ทําใหพอจันทรที มีการพัฒนาความรู และยกระดับความรู นัน่ คือมีความรูเรือ่ งการทําเกษตรประณีต และเม่ือนําความรูจากการปฏิบัติไปแลกเปลี่ยน เรียนรูกับเกษตรกรผอู ืน่ ซ่ึงเกษตรกรในหมูบานกด็ ี หรือเกษตรกรทีม่ าศึกษาดูงานก็ดี ทําให ไดรับความรูเพิ่มมากขึ้น เปนการตอยอดความรู การแลกเปลีย่ นเรียนรูเพือ่ ยกระดับความรู ของ พอจนั ทรที จงึ มี 3 รปู แบบ คอื 1. การยกระดับความรูโดยเคลื่อนความรูระหวางคนกับความรูที่อยูในกระดาษ นัน่ คือ พอจันทรทีเรียนรูจากการอานหนังสือ บทความ บันทึกผานเรือ่ งราว ท่ีผู ปฏิบัติงานไดบันทึกจากเรือ่ งเลาแหงความสําเร็จ การถายทอด ประสบการณ การทํางานบนกระดาษ เปนการยกระดับความรูของบุคคลจาก การศกึ ษาดวย ตนเองงผานกระดาษหรอื สือ่ อน่ื ๆ 2. การยกระดับความรูโดยเคลือ่ นความรูระหวางคนกับคน เปนการแลกเปลีย่ น เรียนรูระหวางกัน โดยเฉพาะคนที่มีมุมมองหรือวิธีคิดทีแ่ ตกตางกัน จะเปน ลักษณะของการเตมิ เตมความรแู ละตอยอดความรใู หแกกนั และกัน ในการพัฒนาความรู ยกระดับความรูเพื่อใหเกิดการตอยอดความรูนัน้ ความรูจะ เปลี่ยนสถานภาพสลับกันไปตลอดเวลา บางครั้งความรูท่ีชัดแจงซ่ึงอยูในกระดาษหรือส่ือ อ่ืนๆ ก็แปรสภาพเปนความรูฝงลึกที่อยูในตัวบุคคล และบางครัง้ ความรูฝงลึกทีอ่ ยูในตัว บุคคล กแ็ ปรสภาพเปนความรชู ดั แจง นั่นคือมีการถายทอดความรูออกมาและบันทึกเปนลาย ลกั ษณ อกั ษรเพอ่ื ใหคนอ่ืนไดศกึ ษา

~ 71 ~ การสรุปองคความรู เกษตรกรสวนใหญ มักเร่ิมตนดวยการทําเกษตรเชิงเด่ียว แตสุดทายก็พบวา “ เกษตร ประณตี ” คือทางเลอื กท่ใี ชและถูกตองท่ีสุด เชนเดียวกับ คุณพอจันทรที ประทุมภา ปราชญ ชาวบานทานหนง่ึ แหงเมอื งโคราช การทาํ เกษตรประณตี หลักสําคัญคอื “การออม” แตไมใชการออมท่ีใชเงินเปนตัว ต้ัง หากแตเปนการออมทรัพยากรธรรมชาติ เริ่มจาก ออมนํ้า ตองขุดบอรอบพืน้ ที่หรือขุด สระ บาดาล ตอมาคอื ออมความสมบูรณของดิน ไมเปดหนาดิน ไมทําลายไสเดือนดิน ไม ใชยาฆา แมลงหรือปยุ เคมี ใชปุยคอกและปุยหมักชีวภาพ นอกจากนั้นก็ตองออมสัตว เล้ียง กุง หอย ปู ปลา ไวในสระทีข่ ุด เลี้ยงเปด ไก โค กระบือ และสุดทาย ออมตนไม ตอง ปลูกพืชให หลากหลาย แบงพืน้ ที่นาขาว ทําโรงเพาะเห็ด ปลูกพืชสวนครัวไวบริโภค แจกจายและไวขาย โดยพืชทีป่ ลูกไวขาย ตองมีมากกวา 10 ชนิด และปลูกไมดอกเพือ่ ความ สดชน่ื ปลกพชื สมนุ ไพรไวรกั ษาโรค การทาํ เกษตรประณีตมคี วามแตกตางจากเกษตรเชงิ เดีย่ วดงั น้ี ความหมาย เกษตรเชงิ เดย่ี ว : ปลกู พืชชนิดเดยี วกนั ท้ังหมดเต็มพื้นที่ เกษตรประณตี : ปลกู พืชหลากหลายชนิด และแบงพ้ืนท่ีสําหรบั เลี้ยงสตั วและสรางแหลงน้ํา รายได เกษตรเชงิ เดย่ี ว : มีรายไดทางเดยี วจากพชื ชนดิ เดียวที่ปลกู เกษตรประณตี : มีรายไดหลายทางและมรี ายไดทกุ วัน ความเส่ียง เกษตรเชงิ เดย่ี ว : มคี วามเส่ยี งสูง ราคาพืชผลผันแปรตามตลาด เกษตรประณตี : มคี วามเสี่ยงเปนศนู ย เพราะถาผลผลิตชนิดใดราคาตกกย็ งั มพี ืชผลชนดิ อน่ื แทน และยงั ไงกไ็ มอดตายเพราะมพี ืชผักสวนครวั และปลาไวกิน ทกุ วนั

~ 72 ~ ความสุข เกษตรเชงิ เดย่ี ว : ถาปลกู มนั แลวมนั ไดราคากม็ ีความสขุ ถามันราคาตก กไ็ มมีความสขุ สรุปคือ ถากําไร ถึงจะมีความสุข เมื่อไหรทีข่ าดทุนก็ทุกข ทนั ที เกษตรประณตี : มคี วามสุขอยางยัง่ ยืน มีกิน มีเก็บ ช่นื ใจเมือ่ เหน็ พืชผลงอก การไดกินอาหารปลอดสารพษิ ไดออกกาํ ลังกาย รางกายแขง็ แรง การจัดทําสารสนเทศองคความรูในการพัฒนาเอง สารสนเทศ คือ ขอมูลตางๆ ที่ผานการกลั่นกรองและประมวลผลแลว บวกกับประสบการณ ความเชย่ี วชาญท่สี ะสมมาแรมป มกี ารจดั เก็บหรอื บนั ทกึ ไวพรอมในการนาํ มาใชงาน การจัดทาํ สารสนเทศองคความรใู นการพฒั นาตนเอง ในการจดั การความรู จะมี่การรวบรวมและสรางองคความรูทีเ่ กิดจากการปฏิบัติ ขึ้น มากมาย การจัดทําสารสนเทศจึงเปนการสรางชองทางใหคนทีต่ องการใชความรูสามารถ เขาถึงองคความรูไดและกอใหเกดิ การแบงปนความรูกันอยางเปนระบบ ในการจัดเก็บเพื่อให คนหาความรูคือไดงายนั้น ตองกําหนดสิง่ สําคัญทีจ่ ะเก็บไวเปนองคความรู และตอง พจิ ารณา ถงึ วิธกี ารในการเก็บรกั ษา และนํามาใชใหเกดิ ประโยชนตามตองการ การจัดทําสารสนเทศเปนการถายทอดความรูทมี่ ีอยอู อกมาในรปู แบบตางๆ เชน การ จดบนั ทึกเปนตวั อักษร การจัดทําเปนใบความรู การบนั ทกึ เสยี ง การบนั ทึกวดี โี อ เปนตน

~ 73 ~ กจิ กรรม ใหผเู รยี นวเิ คราะหปญหาของตนเอง และเขียนแผนการพฒั นาตนเอง สงครูผูสอน ดังนี้ 1. ปญหาของผเู รยี นคืออะไร ทาํ ไมถึงเกิดปญหาน้ัน …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… 2. ความรูหลกั ทีจ่ าํ เปนของผูเรยี น คอื อะไร ใชแกปญหาของผเู รียนไดอยางไร …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

~ 74 ~ 3. ผูเรียนมวี ิธเี สาะแสวงหาความรู ดวยการแลกเปล่ียนเรียนรจู ากผูอน่ื ท่ี ไหน อยางไร …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… 4. ผูเรยี นนําความรทู ไ่ี ดรับไปแกปญหาหรือประยุกตใชอยางไร …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

~ 75 ~ เรอ่ื งท่ี 4 กระบวนการจัดการความรูดวยการปฏิบตั ิการกลมุ ในชุมชนมีปญหาซับซอน ทีค่ นในชุมชนตองรวมกันแกไข การจัดการความรู จึง เปนเรื่องที่ทุกคนตองใหความรวมมือ และใหขอเสนอแนะในเชิงสรางสรรค การรวมกลุม เพือ่ แกไขปญหาหรือรวมมือกันพัฒนา โดยการแลกเปลีย่ นเรียนรูรวมกัน เรียกวา “กลุม ปฏิบัติการ” บุคคลในกลุมจึงตองมีเจตคติทีด่ ีในการแบงปนความรู นําความรูที่มีอยูมา พฒั นา กลมุ จากการลงมอื ปฏิบตั ิ และเคารพในความคดิ เห็นของผูอืน่ กระบวนการจัดการความรูดวยการปฏิบัติการกลุม จะทําใหบุคคลในกลุมเกิดการ เรียนรูซ่งึ กนั และกนั โดยเฉพาะการเรียนรูจากประสบการณการทํางานรวมกัน เปนความรูที่ บุคคลเคยประสบผลสําเร็จมาแลว และเมื่อนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน จะเปนการ ยกระดับ ความรูใหกับคนทีไ่ มรูและคนทีร่ ูบางสวน แลวจะเกิดการตอยอดความรู และ สามารถนาํ ความรทู ่ไี ดรบั ไปปฏิบตั ไิ ดอยางเปนรปู ธรรม บคุ คลและเครอื่ งมอื ทเี่ กีย่ วของกับการจัดการความรู บคุ คลท่เี กยี่ วของกับการจดั การความรู ใ น ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู ด ว ย วิ ธี ก า ร ร ว ม ก ลุ ม ป ฏิ บั ติ ก า ร เ พื ่อ ต อ ย อ ด ค ว า ม รู การแลกเปลี่ยน เรียนรูเพื่อดึงความรูทีฝ่ งลึกในตัวบุคคลออกมาแลวสกัดเปนขุมความรู หรือ องคความรูเพื่อใช ในการปฏิบัติงานนั้น ตองมีบุคคลทีส่ งเสริมใหเกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู ในบรรยากาศของการ มีใจในการแบงปนความรูรวมทัง้ ผูทีท่ ําหนานี่กระตุนใหคนอยากทีจ่ ะ แลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกัน และกัน บุคคลทีส่ ําคัญและเกีย่ วของกับการจัดการความรู มดี งั ตอไปนี้

~ 76 ~ “คุณเอ้อื ” ช่อื เต็มคอื “คณุ เออ้ื ระบบ ” เปนผูนําระดับสูงขององคกร ทาํ หนาที่ สําคญั คือ 1) ทําให การจดั การความรู เปนสวนหนง่ึ ของการปฏิบัติงานตามปกตขิ ององคกร 2) เปดโอกาสใหทกุ คนในองคกรเปน “ผนู าํ ” ในการพฒั นาวธิ กี ารทํางานท่ตี น รับผิดชอบ และนําประสบการณมาแลกเปลยี่ นเรยี นรกู บั เพอื่ นรวมงาน สราง วฒั นธรรมเอือ้ อาทรและแบงปนความรู 3) หากุศโลบายทาํ ใหความสําเร็จของการใชเครือ่ งมอื การจดั การความรู มีการ นําไปใชมากขึน้ “คุณอํานวย” หรือ ผูอํานวยความสะดวกในการจัดการความรู เปนผูกระตุน สงเสริม ใหเกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู และอํานวยความสะดวกตอการแลกเปลีย่ นเรียนรู นํา คนมา แลกเปลี่ยนประสบการณ ทํางานรวมกัน ชวยใหคนเหลานัน้ สือ่ สารกันใหเกิดความ เขาใจ เห็น ความสามารถของกันและกัน เปนผูเชื่อมโยงคนหรือหนวยงานเขาหากัน โดยเฉพาะอยางย่งิ เชือ่ มระหวางคนท่ีมีความรูหรอื ประสบการณกับผูตองงการเรียนรู และนํา ความรูนั้นไปใช ประโยชน คุณอํานวยตองมีทักษะทีส่ ําคัญคือ ทักษะการสื่อสารกับคนที่ แตกตางหลากหลาย รวมท้ังตองเห็นคุณคาของความแตกตางหลากหลาย และรูจักประสาน ความแตกตางเหลานน้ั ใหเปนคณุ คาในทางปฏิบตั ิ ผลกั ดนั ใหเกิดการพฒั นางาน และติดตาม ประเมินผลการ ดาํ เนนิ งาน คนหาความสําเรจ็ หรอื การเปลีย่ นแปลงทต่ี องการ “คุณกิจ” คือ เจาหนาที่ ผูปฏิบัติงาน คนทํางานที่รับผิดชอบงานตามหนาทีข่ อง คนในองคกร ถือเปนผูจัดการความรูตัวจริงเพราะเปนผูดําเนินกิจกรรมจัดการความรู มี ประมาณรอยละ 90 ของทั้งหมด เปนผูรวมกันกําหนดเปาหมายการใชการจัดการความรูของ กลุมตน เปนผูคนหาและแลกเปลีย่ นเรียนรูภายในกลุม และดําเนินการเสาะหาและดูดซับ ความรจู ากภายนอกเพอ่ื นํามาประยุกตใชใหบรรลจุ ด เปาหมายรวมกาํ หนดไวเปนผูดาํ เนินการ จดบนั ทกึ และจดั เกบ็ ความรูใหหมุนเวียนตอยอดความรไู ปไมรจู บ “คุณลิขติ ” คอื คนท่ที าํ หนาทจ่ี ดบนั ทกึ กจิ กรรมจัดการความรูตางๆ เพือ่ จัดทําเปน คลงั ความรูขององคกร

~ 77 ~ ชุมชนนกั ปฏิบตั ิหรอื ชมุ ชนแหงการเรยี น (CoP) ในชุมชนมีปญหาซับซอน ที่คนในชุมชนตองรวมกันแกไขการจัดการความรูจึงเปน เรื่องที่ทุกคนตองใหความรวมมือ และใหขอเสนอแนะในเชิงสรางสรรค การรวมกลุมเพือ่ แก ปญหาหรือรวมมือกันพฒั นาโดยการแลกเปล่ียนเรียนรรู วมกันเรียกวา “ชุมชนนักปฏิบัติ” บคุ คลในกลุมจงึ ตองมีเจตคตทิ ดี่ ีในการแบงปนความรู นําความรูที่มีอยูมาพัฒนากลุมจากการ ลงมือปฏิบตั ิ และเคารพในความคดิ เหน็ ของผอู ืน่ ชมุ ชนนักปฏบิ ตั ิคอื อะไร ชุมชนนักปฏิบัติ คือ คนกลุมเล็กๆ ซ่ึงทํางานดวยกันมาระยะหนึง่ มีเปาหมาย รวมกัน และตองการที่จะแบงปนแลกเปลีย่ นความรู ประสบการณจากการทํางาน กลุม ดังกลาวมักจะ ไมไดเกิดจากการจัดตั้งโดยองคการหรือชุมชน เปนกลุมที่เกิดจากความ ตองการแกปญหา พัฒนาตนเอง เปนความพยายามทีจ่ ะทําใหความฝนของตนเองบรรลุผล สําเรจ็ กลมุ ทเี่ กดิ ขนึ้ ไมมอี ํานาจใดๆ ไมมีการกําหนดไวในแผนภูมิโครงสรางองคกร ชุมชน เปาหมายของการ เรียนรูของคนมีหลายอยาง ดังนัน้ ชุมชนนักปฏิบัติจึงมิไดมีเพียงกลุมเดียว แตเกิดขึ้นเปนจํานวน มาก ทัง้ นี้อยูทีป่ ระเด็นเนือ้ หาทีต่ องการจะเรียนรูรวมกันนัน่ เอง และ คนคนหนึ่งจะเปนสมาชิก ในหลายชุมชนกไ็ ด ชุมชนนักปฏบิ ตั ิมคี วามสําคัญอยางไร ชุมชนนักปฏิบัติเกิดจากกลุมคนทีม่ ีเครือขายความสัมพันธที่ไมเปนทางการรวมตัว กนั เกิดจากความใกลชดิ ความพอใจจากการมีปฏิสัมพันธรวมกัน การรวมตัวกันในลักษณะ ท่ี ไมเปนทางการจะอือ้ ตอการเรียนรู และการสรางความรูใหมๆ มากกวาการรวมตัวกันอยาง เปน ทางการ มีจุดเนนคือตองการเรียนรูรวมกันจากประสบการณทํางานเปนหลักการทํางาน ในเชิง ปฏิบัติ หรือจากปญหาในชีวิตประจําวัน หรือเรียนรูเครือ่ งมือใหมๆ เพือ่ นํามาใชใน การพฒั นา งาน หรอื วิธีการทํางานทไี่ ดผลและไมไดผล การมีปฏิสัมพันธระหวางบุคคล ทํา ใหเกิดการ ถายทอดแลกเปลีย่ นความรูฝงลึก สรางความรูและความเขาใจไดมากกวาการ เรียนรูจากหนังสือ หรือการฝกอบรมตามปกติ เครือขายทีไ่ มเปนทางการในเวทีชุมชนนัก ปฏิบัติซึง่ มีสมาชิกจาก ตางหนวยงาน ตางชุมชน จะชวยใหองคกรหรือชุมชนประสบ ความสําเรจ็ ไดดกี วาการสอื่ สาร ตามโครงสรางทีเ่ ปนทางการ

~ 78 ~ การเลาเรื่อง การถอดความรฝู งลกึ ดวยกิจกรรมเร่อื งเลาเราพลงั การเลาเรื่องเปนเทคนิคของการใชเรือ่ งเลาในกลุมเพือ่ นแบงปนความรู หรือสราง แรงบันดาลใจในการพัฒนาการปฏิบัติงาน โดยใชภาษางายๆ ในชีวิตประจําวัน เลาเฉพาะ เหตุการณ บรรยากาศ ตัวละครที่เกี่ยวของกับผูเลาในขณะทีเ่ กิดเหตุการณตามจริง เลาให เห็น บุคคล พฤติกรรม การปฏิบัติ การคิด ความสัมพันธ ขอสําคัญผูเลาตองไมตีความ ระหวางเลา ไมใสความคิดเห็นของผูเลาในเรือ่ งขณะทีเ่ ลา เม่ือเลาจบแลวผูฟงสามารถ ซกั ถามผูเลาได การเลาเรื่องทดี่ ี ควรมีลักษณะดงั นี้ 1. เร่ืองท่ีเลาตองเปนเร่ืองจรงิ ทเี กิดขน้ึ อยาแตงเรอ่ื งขึ้นมาเอง 2. เรือ่ งเลาสอดคลองกบั หวั ปลาหรือประเดน็ ของกลมุ 3. มชี ื่อเรือ่ งที่บอกถึงความสําเรจ็ 4. ผเู ลาเปนเจาของเร่ือง 5. ลลี าการเลา เราพลังผูฟงใหเกิดแนวคดิ ท่จี ะนาํ ไปปฏบิ ัตหิ รือคดิ ตอ 6. เรื่องทีเ่ ลา ควรจบภายในเวลาไมเกนิ 5 นาที 7. ทาทางขณะเลา เลาอยางมีชีวติ ชีวาจะทาํ ใหเกิดพลงั ขับเคลอ่ื น 8. การเลาเรื่อง ตองใหครบทัง้ 3 สวน คือ เปนมาอยางไร แกปญหาอยางไร และ ไดผลเปนอยางไร กิจกรรมการเลาเรือ่ ง 1. ใหกคุณกิจ (สมาชิกทุกคน) เขียนเรือ่ งเลาประสบการณความสําเร็จในการ ทํางานของตนเองเพื่อใหความรูฝงลึก (Tacit Knowledge) ปรากฏออกมาเปน ความรูชัดแจง (Expicit Knowledge) ลงในกระดาษ A4 สงครูผูสอนกอนเลา เรอ่ื ง 2. เลาเรอ่ื งความสาํ เรจ็ ของตนเอง ใหสมาชิกในกลมุ ยอยฟง 3. คุณกิจ (สมาชิก) ในกลุม ชวยกันสกัดขุมความรู จากเรื่องเลา เขียนบน กระดาษ ฟลปิ ชารด

~ 79 ~ 4. ชวยกันสรุปขุมความรูที่สกัดไดจากเรือ่ ง ซึง่ มีจํานวนหลายขอ ใหกลายเปน แกนความรู ซึ่งเปนหัวใจที่ทาํ ใหงานประสบผลสําเรจ็ 5. ใหแตละกลุม คดั เลือกเรอื่ งเลาที่ดที ส่ี ดุ เพื่อนาํ เสนอในทปี่ ระชมุ ใหญ 6. รวมเรื่องเลาของทุกคน จัดทําเปนเอกสารคลังความรูของกลุม หรือเผยแพร ผาน ทางเว็บไซดเพือ่ แบงปน แลกเปลีย่ นความรู และนํามาใชประโยชนใน การ ทํางาน สกดั ขุมความรูและแกนความรู 1. ขมุ ความรู ในการฟงเรื่องเลาน้ัน ผูฟงจะตองฟงอยางตั้งใจ ฟงอยางลึกซึง้ หาก ไมเขาใจหรือไดยินไมชัดเจน สามารถซักถามเมือ่ ผุเลา (คุณกิจ) เลาจบแลว ในบางชวง บาง ตอน ท่ีไมชัดเจนได ซึ่งจะมีผูบันทึก (คุณลิขิต) ชวยบันทึกเรือ่ งเลาและอานบันทึกใหที่ ประชุมฟง อีกครั้งหนึ่งเพื่อสอบทานการจดบันทึกกับการเลาเรือ่ งของผูเลา (คุณกิจ) ให สอดคลองตรงกนั ผูอํานวยการประชมุ (คณุ อาํ นวย) จะชวยใหผฟู งสกดั เอาวิธีการปฏบิ ตั ิของ ผูเลา (คุณกจิ ) ท่ี ทาํ ใหงานสําเร็จออกมา วิธกี ารกระทาํ ท่สี กัดออกไดเรียกวา ขุมความรู ผูฟง แตละคนจะเขียน ขุมความรูออกโดยใชกระดาแผนนอยเขียน 1 ขุมความรูตอกระดาษ 1 แผน ไมจํากดั จาํ นวน วาแตละคนจะเขียนไดกข่ี ุม กแ่ี ผน ขน้ึ อยกู บั ทกั ษะการฟงและความสามารถ ในการจบั ประเด็น ของแตละคน ลักษณะของขุมความรคู วรมลี ักษณะดังน้ี 1) เปนประโยค ที่ขึน้ ดวยคํากริยา 2) เปนวธิ ีการปฏบิ ตั ิ ( How to ) 3) เปนประโยคหรือขอความท่สี ่อื ความเขาใจไดโดยทวั่ ไป 2. แกนความรู แกนความรุจะมาจากขุมความรูทีส่ กัดไดจากเรือ่ งเลา ซึ่งจะมี เปน จํานวนมาก และเมื่อวิเคราะหและพิจารณาอยางจริงจังจะเห็นวาขุมความรูเหลานัน้ สามารถ จัดกลุมได การจุดกลุมขุมความรูประเภทเดียวกันไวดวยกันแลวตัง้ ชือ่ ใหกับขุม ความรูใหมน้นั โดยใหครอบคลมุ ขมุ ความรทู ้ังหมดทีอ่ ยูในกลมุ เดียวกันเรยี กวาเปน

~ 80 ~ ตวั อยางการเลาเรอ่ื งจากชุมชนนกั ปฏบิ ัติ โลกใหมของเนต็ แน็ต เปนเด็กสาวในหมูบานและเคยอยูที่กรุงเทพฯ พอแมเสียชีวิตหมด อยูกับยาย และยายก็ไดเสียชีวิตไปแลว อยูกรุงเทพได 6-7 ป ไดกลับมาอยูในหมูบาน กลับมาไมมีใคร รูวาแน็ตติดเชื่อ HIV มาดวย เมื่อมาอยูใหมๆ ทุกคนก็สงสัยทําไมเก็บตัว ไมออกไปไหน บางครัง้ ก็ชอบเหมอมองไปขางนอกบาน โดยไมมีจุดหมาย มีหนุมๆ แวะเวียนไปหาแน็ต ก็ ออกไปกบั บางคน มีครั้งหนึง่ กองผาปาทีต่ ัง้ ไวทีห่ อประชุมหมูบานก็หายไป มีชาวบานมาแจงวา เห็น ถัง พลาสติกที่ตั้งกองผาปาแอบอยูขางหอประชุมหมูบาน เงินหายไปหมดเหลือแตถัง พลาสตกิ กับกิ่งไมท่ีใชแขวนเงนิ ขาพเจาและคนในหมบู านลงความเห็นวา คนทีเ่ งินไปนาจะ เปนคนที่ มีบานอยูใกลบริเวณนี้ เพราะตอนทีเ่ งินหายไปคนดูแลเพียยงแตไปเขาหองน้ําทีอ่ ยู ดานหลัง หอประชมุ เทานน้ั ตอมามีคนไปพบแน็ตที่โรงพยาบาล เหนพูดกับหมออยูนาน และไดยินมาวาแน็ต ติดเชื้อ HIV และตองการเงินมาเปนคายาเพือ่ รักษาตนเอง เมื่อคนนั้นมาบอกขาพเจาและ ขาพเจา ไดปรึกษากับคณะกรรมการหมูบาน ลงความเห็นวา ตองใหความชวยเหลือแน็ต เพราะหาก แน็ตไมยอมรับความจริงและยังไปกับเด็กผูชายในหมูบาน ก็จะเปนการแพรเชือ้ ใหกับคนใน หมูบานไปอีก และหากทุกคนรูวาแน็ตติดเชื่อ จะพากันรังเกียจไมใหเขาสังคม ดวย ขาพเจาไดพูดคุยกับแน็ตเปนการสวนตัว และแนะนําใหแน็ตเลิกเที่ยวกับเด็กผุชาย ในหมูบาน และใหไปพบกับเจาหนาทีม่ ูลนิธิสุขใจ เพือ่ รวมกับกลุมผูติดเชือ้ ทํากิจกรรม รวมกัน และเรยี นรูวธิ ีการดูแลตนเองท่ีถูกตอง ตอนแรกแน็ตไมยอมไป เพราะเมื่อไปแลวน ในหมูบาน จะรูวาแน็ตติดเชื้อ HIV ขาพเจาจึงไปขอรองภรรยาผูใหญบานซึ่งเปนญาติ กับแน็ตใหชวยพูด เพื่อใหแน็ตยอมรับสภาพตัวเอง แน็ตรองไหอยูนาน คร่ําครวญถึงชีวิต อันแสนรนั ทด และ ยอมไปทีม่ ูลนธิ ิสขุ ใจ การไปมูลนิธิสุขใจครง้ั น้ี แน็ตไดรจู กี กับเพอื่ นท่ีติดเชือ้ เหมือนกัน ไดพดู คยุ กัน รวมตวั กันเปนกลมุ เพื่อทํากิจกรรมรวมกนั ทุกวันศุกร แน็ตคลายกงั วลใจและคิดวาตวั เองมี

~ 81 ~ เพอ่ื น หวั อกเดียวกัน ไมโดดเดย่ี ว แลกเปลี่ยนความรูวธิ กี ารดแู ลตนเองกับเพือ่ นๆ และหา อาชีพ ใหกับตนเอง ไมแพรเชอ้ื ใหคนอื่น ขาพเจาไดไปเยีย่ มเยยี นแนต็ ท่ีมลู นิธสิ ขุ ใจ เห็นแน็ตหวั เราะกบั เพ่อื นๆ พดู คยุ กับ คนอื่นมากขนึ้ และแนต็ บอกวา “นี่เปนโลกใหมของแน็ต โลกของคนหวั อกเดียวกนั ” ขาพเจาสรางความเขาใจกบั คนในหมูบานไมใหแสดงอาการรงั เกียจ โรคน้ีไมตดิ กัน ไดงายๆ นผี่ านมา 4 ปแลว แน็ตกย็ ังใชชวี ติ ไดเหมือนปกติ และชวยสังคมโดยการเปน วทิ ยากร ใหความรูกับเยาวชนในหมบู านในเร่ืองการปองกันโรคท่ีเก่ยี วกบั เพศสมั พนั ธ กจิ กรรม 1. การจดั การความรใู นการปฏิบัติการคอื อะไร มคี วามสาํ คญั อยางไร …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

~ 82 ~ 2. บคุ คลทเ่ี ก่ียวของกับการจัดการความรใู นการปฏิบัติการกลมุ มีใครบาง ทาํ หนาทีอ่ ะไรบาง …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

~ 83 ~ 3. ใหผูเรยี นเขยี นเร่ืองเลาแหงความสาํ เรจ็ และรวมกลมุ กับเพอ่ื นทม่ี ีเร่ืองเลาลักษณะคลายกนั ผลดั กนั เลาเรื่อง สกัดความรูจากเรอื่ งเลาของเพือ่ น ตามแบบฟอรมน้ี แบบฟอรมการบนั ทกึ ขมุ ความรูจากเร่ืองเลา ชอ่ื เร่ือง …………………………………………………………………… ชื่อผูเลา …………………………………………………………………… 1. เนอ้ื เร่ืองยอ …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

~ 84 ~ 2. การบันทึกขุมความรจู ากเรอ่ื งเลา 2.1 ปญหา …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… 2.2 วธิ ีแกปญหา (ขุมความร)ู …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

~ 85 ~ 2.3 ผลท่ีเกดิ ขึ้น …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… 2.4 ความรสู ึกของผูเลา / ผูเลาไดเรยี นรูอะไรบาง จากการทาํ งานน้ี …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… 3. แกนความรู …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

~ 86 ~ เรอื่ งที่ 5 การสรางองคความรูพัฒนา ตอยอด และยกระดบั ความรู องคความรูเปนความรูและปญหาที่แตกตางกันไปตามสภาพและบริบทของชุมชน การสรางองคความรูหรือชุดความรูของกลุม จะทําใหสมาชิกกลุมมีองคความรูหรือชุด ความรไู วเปนเคร่อื งมือในการพัฒนางาน และแลกเปลี่ยนเรียนรูกับคนอืน่ หรือกลุมอื่นอยาง ภาคภูมิใจ เปนการตอยอดความรูและการทํางานของตนตอไปอยางไมมีที่สิ้นสุด อยางท่ี เรยี กวา เกิดการเรียนรูและพฒั นากลมุ อยางตอเนือ่ งตลอดชวี ิต บุคคลที่ทําหนาที่ศึกษา คนควา และปฏิบัติ บุคคลนั้นยอมมีโอกาสไดสัมผัสกับ องคความรูนัน้ โดยตรง และหากมีการเรียนรูอยางตอเนื่อง จะทําใหเกิดการพัฒนาตอยอด ความรขู ึน้ ไปเรอ่ื ยๆ การสรางองคความรูพัฒนา ตอยอด และยกระดับความรู ความรูเปนผลจากการเรียนรู เกิดจากความเขาใจในสิง่ ที่เรียนรู เปนความสามารถ เฉพาะบุคคล ซึง่ ความรูทีท่ ุกคนมีนาจะมาจากความรูรอบตัว ความรูทางวิชาการหรือความรู จากตาํ ราท่ไี ดเรยี นมาตั้งแตระดบั ประถมน่ันเอง มนุษยแตละคนมีความรูและปญญาแตกตางกันออกไป เนื่องจากปจจัยตางๆ เชน สภาพแวดลอม ภูมิศาสตร พืน้ ฐานการศึกษารวมทัง้ ความสามารถของสมองเอง ก็ทําให มนุษย คดิ หรือมคี วามรูทีแ่ ตกตางกัน ความรูจากการปฏิบัติเปนความรูทีท่ ําใหมนุษยคิดคนสิ่งใหมๆ ขึน้ มา และการ ปฏิบัติ ก็ทําใหมนุษยเกิดการเรียนรุ การเรียนรูจนเกิดความชํานาญสามารถแกปญหาและ พัฒนาในสิง่ ทต่ี นเองตองการได ถือวาเกดิ ปญญาหรือสรางองคความรูใหกบั ตวั เอง ความรูมีการเปลี่ยนแปลงไดตามยุคสมัย การที่จะดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมี ความสุข จึงตองมีการพัฒนาตนเองอยูตลอดเวลา เรียนรูในสิ่งใหมๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม การ แสวงหาความรูเพื่อพฒั นาตอยอดใหกบั ตนเองน้นั การแลกเปลยี่ นเรยี นรรู วมกับผูอื่นเปนการ แสวงหาความรูที่ทันสมัยสอดคลองกับสภาวะปจจุบัน หากมีการแลกเปลีย่ นเรียนรูแลว ทํา ให เรามีความรูมากขึ้นถือวามีการยกระดับความรูนั่นเอง รูแลวแตยังไมครอบคลุมและอาจ

~ 87 ~ ไมทันสมัยเขากับสถานการณ การเรียนรูเพิม่ เติมจึงถือวาเปนการยกระดับความรูใหกับ ตนเอง หัวใจของการจัดการความรู คือการสงเสริมใหมีการแลกเปลีย่ นความรู ดังน้ันการ ดําเนนิ การจัดการองคความรูอาจตองดําเนนิ การตามขนั้ ตอนตางๆ ดังนี้ 1. การกําหนดความรูหลกั ท่จี าํ เปนหรอื สําคัญตองาน หรือกิจกรรมของกลุมหรือ องคกร 2. การเสาะหาความรูท่ตี องการ 3. การปรบั ปรงุ ดดั แปลง หรือสรางความรูบางสวนใหเหมาะตอการใชงาน ของ ตน 4. การประยุกตใชความรูในกิจกรรมงานของตน 5. การนําประสบการณจากการทํางาน และการประยุกตใชมาแลกเปลีย่ นเรียนรู และสกดั ขมุ ความรู ออกมาบนั ทกึ ไว 6. การจดบันทึก “ขุมความรู” และ “แกนความรู” สําหรับไวใชงาน และ ปรับปรุง เปนชุดความรูทีค่ รบถวน ลุมลึก และเชื่อมโยงมากขึ้น เหมาะตอ การใชงาน มากข้นึ

~ 88 ~ เรื่องท่ี 6 การจดั ทําสารสนเทศเผยแพรองคความรู สารสนเทศการจัดการความรูดวยการรวมกลุมปฏิบัติการ หมายถึง การรวบรวม ขอมูล ที่เปนประโยชนตอการพัฒนางาน พัฒนาคน หรือพัฒนากลุม ซึ่งอาจจัดทําเปน เอกสารคลัง ความรูของกลุม หรือเผยแพรผานทางเว็บไซด เพือ่ แบงปน แลกเปลีย่ นความรู และนํามาใช ประโยชนในการทํางาน ตัวอยางของสารสนเทศจากการรวมกลมุ ปฏิบตั ิการ ไดแก 1. การบันทึกเรื่องเลา เปนเอกสารที่รวบรวมเรื่องเลา ที่แสดงใหเห็นถึงวิธีการ ทํางานใหประสบผลสําเร็จ อาจแยกเปนเรื่องตางๆ เพื่อใหผูที่สนใจเฉพาะ เรื่องไดศกึ ษา 2. บันทึกการถอดบทเรียนหรือการถอดองคความรู เปนการทบทวน สรุปผล การทํางานหรือผลจากเรือ่ งเลาในรูปแบบเอกสาร การถอดบทเรียนหรือถอด องคความรูมีหลายลักษณะ เชน การเขียนเปนความเรียง เปนตาราง แยกเปน หัวขอ เพื่อใหอานเขาใจงาย 3. วีซดี เี ร่ืองสัน้ เปนการจัดทําฐานขอมูลความรูทีส่ อดคลองกับสังคมปจจุบัน ท่ี มี การใชเคร่อื งอิเล็กทรอนิกสกันอยางแพรหลาย การทําวีซีดีเปนเรื่องสั้นเปน การ เผยแพรใหบุคคลไดเรียนรู และนาํ ไปใชในการแกปญหา หรอื พัฒนางาน ใน โอกาสตอไป 4. คูมือการปฏบิ ตั งิ าน การจัดการความรทู ่ีประสบผลสําเร็จจะทําใหเห็นแนวทาง ของ การทาํ งานท่ชี ัดเจน การจัดทําเปนคมู ือเพ่อื การปฏิบัติงาน จะทําใหงานมี มาตรฐาน และผเู ก่ียวของสามารถนาํ ไปพฒั นางานได 5. อินเทอรเน็ต ปจจุบันมีการใชอินเทอรเน็ตกันอยางแพรหลาย และมีการ สื่อสาร แลกเปลี่ยนความรูผานทางอินเทอรเน็ตในเว็บไซดตางๆ มีการบันทึก ความรูทั้ง ในรูปแบบของเว็บเพ็จ เว็บบอรด และรูปแบบอื่นๆ อินเทอรเน็ต จึงเปนแหลง เก็บขอมูลจํานวนมากในปจจุบัน เพราะคนสามารถเขาถึงขอมูล ไดอยางรวดเร็ว ทกุ ท่ี ทกุ เวลา

~ 89 ~ ตวั อยางการถอดองคความรู

~ 90 ~ กจิ กรรม 1. การสรางองคความรจู ะกอใหเกดิ การพฒั นาตอยอดและยกระดบั ความรู ไดอยางไร …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… 2. ใหผูเรยี นสรปุ องคความรู จากกจิ กรรมทายบทท่ี 4 \" การเลาเรอ่ื ง \" ตาม แบบฟอรม ท่ีกาํ หนดใหและใหดําเนนิ การดงั นี้ 2.1 รวบรวมเรอ่ื งเลาทกุ เรอ่ื ง (จากบทท่ี 4) ใหอยใู นเลมเดยี วกนั 2.2 นําสรปุ องคความรูใสไวในตอนทายเลม จัดทาํ ปก คํานํา สารบัญ และ เยบ็ เปนรูปเลม 2.3 นําไปเผยแพรใหกบั คนในชมุ ชนของผเู รยี น

~ 91 ~

~ 92 ~ แบบทดสอบเรอื่ งการจัดการความรู คําชแ้ี จง จงกาบาท X เลอื กขอทที่ านคดิ วาถูกตองทส่ี ดุ 1. การจดั การความรเู รยี กสน้ั ๆ วาอะไร ก. MK ข. KM ค. LO ง. QA 2. เปาหมายของการจดั การความรูคืออะไร ก. พฒั นาคน ข. พัฒนางาน ค. พฒั นาองคกร ง. ถกู ทุกขอ 3. ขอใดถูกตองมากทีส่ ดุ ก. การจดั การความรูหากไมทาํ จะไมรู ข. การจัดการความรูคือการจัดการความรูของผูเชี่ยวชาญ ค. การจดั การความรถู ือเปนเปาหมายของการทํางาน ง. การจดั การความรูคอื การจัดการความรูที่มีในเอกสาร ตาํ รา มาจดั ใหเปน ระบบ 4. ขนั้ สงู สุดของการเรยี นรคู อื อะไร ก. ปญญา ข. สารสนเทศ ค. ขอมูล ง. ความรู 5. ชุมชนนกั ปฏิบัติ ( CoP ) คอื อะไร ก. การจดั การความรู ข. เปาหมายของการจัดการความรู ค. วิธีการหนงึ่ ของการจัดการความรู ง. แนวปฏิบัตขิ องการจดั การความรู

~ 93 ~ บทสะทอนที่ไดจากการเรียนรู 1. สง่ิ ท่ีทานประทบั ใจในการเรยี นรูรายวิชาการจัดการความรู …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… 2. ปญหา / อปุ สรรคท่พี บในการเรียนรรู ายวิชาการจัดการความรู …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… 3. ขอเสนอแนะเพิม่ เตมิ …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

~ 94 ~ บทที่ 4 คิดเปน สาระสําคัญ ศึกษาทําความเขาใจกับความเชื่อพน้ื ฐานทางการศกึ ษาผูใหญ ดวยกระบวนการอภปิ รายกลมุ และรวมสรุปสาระสําคัญที่เชื่อมโยงไปสูกระบวนการคิดเปน ดวยการวิเคราะหขอมูลทั้งดานวิชาการ ตนเอง และสงั คมสง่ิ แวดลอม ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง 5. อธบิ ายเรอ่ื งความเชื่อพน้ื ฐานทางการศกึ ษาผใู หญได 6. บอกความสัมพนั ธเชอื่ มโยงของความเช่ือพน้ื ฐานทางการศึกษาผูใหญ ไปสูกระบวนการ “คิดเปน” ได ขอบขายเน้ือหา 1. ความเชอ่ื พนื้ ฐานทางการศึกษาผูใหญดวยการสรปุ จากกรณตี วั อยาง 2. “คดิ เปน” และกระบวนการคิดเปน 3. ฝกทักษะการคดิ เปน ขอแนะนําการจดั การเรียนรู 1. คดิ เปน เปนวชิ าทเ่ี นนใหผูเรียนไดเรียนรดู วยการคิด การวิเคราะห และแสวงหาคาํ ตอบดวย การใชกระบวนการที่หลากหลาย เปดกวาง เปนอสิ ระมากกวาการเรียนรทู เี่ นนเนื้อหาให ทองจาํ หรือมคี ําตอบสําเร็จรูปใหโดยผเู รยี นไมตองคิด ไมตองวิเคราะหเหตุและผลเสยี กอน 2. ขอแนะนาํ วากระบวนการเรยี นรใู นระดับประถมศึกษาตองใชวธิ กี ารพบกลมุ อภิปรายถก แถลง เพื่อใหผเู รียน และครูชวยกนั แสวงหาคําตอบตามประเดน็ ท่ีกาํ หนด และชวยใหผูเรียน ไดคุนเคยและมนั่ ใจในการเรียนรู ดวยกระบวนการกลุมสมั พันธตอไป 3. เน่ืองจากเปนวิชาทป่ี ระสงคจะใหผเู รียนไดฝกการคดิ การวิเคราะห เพ่ือแสวงหาคาํ ตอบดวย ตนเอง มากกวาทองจํา เนื้อหาความรูแบบเดิม ครูและผูเรียนจึงควรจะตองปฏิบัติตาม กระบวนการที่แนะนําโดยไมขามขั้นตอนจะชวยใหการเรียนรูเกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ

~ 95 ~ เร่อื งที่ 1 ความเช่อื พ้ืนฐานทางการศึกษาผใู หญ / ปฐมบทของ “คดิ เปน” ครัง้ หนึง่ ดร.โกวิท วรพิพัฒน อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเคยเปนอธิบดีกรมการศึกษา นอกโรงเรียนมากอนเคยเลาใหฟงวามีเพือ่ นฝรัง่ ถามทานวา ทําไมคนไทยบางคนจนก็จน อยูกระตอบเกา ๆ ทํางานก็หนัก หาเชากินค่ํา แตเมือ่ กลับบานก็ยังมีแกใจนั่งเปาขลุย ตัง้ วงสนทนา สนุกสนาน เฮฮากับ เพือ่ นบานหรือโขกหมากรุกกับเพือ่ นไดอยางเบิกบานใจ ตกเย็นก็นั่งกินขาวคลุกน้าํ พริก คลุกน้ําปลากับ ลูกเมียอยางมีความสุขได ทานอาจารยตอบไปวาเพราะเขาคิดเปนเขาจึงความสุข มีความพอเพียง ไมทุกข ไมเดอื ดรอนทรุ นทรุ ายเหมอื นคนอ่ืน ๆ เทานั้นแหละคําถามก็ตามมาเปนหางวาว เชน ก็เจา “คิดเปน” มัน คืออะไร อยูที่ไหน หนาตาเปนอยางไร หาไดอยางไร หายากไหม ทําอยางไรจึงจะคิดเปน ตองไปเรียน จากพระอาจารยทิศาปาโมกขหรือเปลา คาเรียนแพงไหม มีคายกครูไหม ใครเปนครูอาจารยหรือศาสดา ฯลฯ ดเู หมือนวา “คดิ เปน” ของทานอาจารยแมจะเปนคําไทยงาย ๆ ธรรมดา ๆ แตก็ออกจะลึกล้าํ ชวนให ใฝหาคาํ ตอบยง่ิ นกั “คดิ เปน” คืออะไรใครรูบาง มีทศิ ทางมาจากไหนใครเคยเหน็ จะเรยี นรํ่าทําอยางไรให “คดิ เปน” ไมลอเลนใครตอบได ขอบใจเอย ประมาณป พ.ศ. 2513 เปนตนมา ทานอาจารย ดร.โกวิท วรพิพัฒน และคณะไดนําแนวคิดเรือ่ ง “คิดเปน” มาเปนเปาหมายสําคัญในการจัดการศึกษาผูใหญหลายโครงการ เชน โครงการการศึกษาผูใหญ แบบเบ็ดเสร็จ โครงการรณรงคเพือ่ การรูหนังสือแหงชาติ โครงการการศึกษาประชาชนและการศึกษา ผูใหญขัน้ ตอเนื่อง*เปนตน ตอมาทานยายไปเปนอธิบดีกรมวิชาการ ทานก็นํา “คิดเปน” ไปเปนแนวทาง จัดการศึกษาสําหรับเด็กในโรงเรียนจนเปนที่ยอมรับมากขึน้ เพือ่ ใหการทําความเขาใจกับการคิดเปนงาย ขึน้ พอที่จะใหคนที่จะมามีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอนตามโครงการดังกลาวเขาใจและ สามารถดําเนินการกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับหลักการ “คดิ เปน” ได จงึ มกี ารนาํ เสนอแนวคดิ * นบั เปนวิธีการทางการศกึ ษาทสี่ มยั ใหมมากยงั ไมมหี นวยงานไหนเคยทํามากอน

~ 96 ~ เรื่อง ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผูใหญขึ้นเปนครั้งแรก โดยใชกระบวนการคิดเปน ในการทํา ความเขาใจกับความเชือ่ พืน้ ฐานทางการศึกษาผูใหญใหกับผูทีจ่ ะจัดกระบวนการเรียนการสอนตาม โครงการดังกลาวในรูปแบบของการฝกอบรม ** ดวยการฝกอบรมผูรวมโครงการการศึกษาผูใหญแบบ เบ็ดเสร็จ และโครงการการศึกษาผูใหญขัน้ ตอเนื่องระดับ 3-4-5 จนเปนทีร่ ูจักฮือฮากันมากในสมัยนัน้ ผู เขารับการอบรมยังคงรําลึกถึง และนํามาใชประโยชนจนทุกวันนี้ เราจะมาทําความรูจักกับความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผูใหญที่เปนปฐมบทของการคิดเปน กนั บางดไี หม การเรียนรูเรื่องความเชื่อพนื้ ฐานทางการศึกษาผใู หญใหเขาใจไดดี ผเู รยี นตองทาํ ความเขาใจดวย การรวมกิจกรรมการคิด การวิเคราะห เรื่องราวตาง ๆ เปนขั้นเปนตอนตามลําดับ และสรุปความคิดเปน ขัน้ เปนตอนตามไปดวยโดยไมตองกงั วลวาคําตอบหรือความคิดทไ่ี ดจะผดิ หรือถกู เพยี งใด เพราะไมมี คําตอบใดถูกทง้ั หมด และไมมคี าํ ตอบใดผิดทง้ั หมด เมอ่ื ไดรวมกจิ กรรมครบตามกาํ หนดแลวผเู รียนจะ รวมกันสรปุ แนวคดิ เรื่องความเชื่อพน้ื ฐานทางการศกึ ษาผูใหญไดดวยตนเอง ตอไปน้ีเราจะมาเรียนรเู รอ่ื งความเชือ่ พืน้ ฐานทางการศกึ ษาผูใหญ เพ่ือนําไปสกู ารสรางความ เขาใจเร่อื ง การคดิ เปนรวมกัน เรมิ่ ดวยการรวมกจิ กรรมตาง ๆ เปนข้ันเปนตอนไปตง้ั แตกจิ กรรมที่ 1 – กิจกรรมท่ี 5 โดยจะมีครูเปนผรู วมกจิ กรรมดวย ** ทใ่ี หวทิ ยากรทเี่ ปนผูจัดอบรมและผูเขารบั การอบรมมีสวนเรียนรูไปพรอมๆ กันดวย กระบวนการอภิปรายถกแถลงในรูปกระบวนการ กลุมมีการวิเคราะหกรณีตัวอยางหลายเรือ่ ง ที่กําหนดขึน้ นําเหตุผล และขอคิดเห็นของกลุมมาสรุปสังเคราะหออกมาเปนความเชือ่ พื้นฐาน ทางการศึกษาผูใหญ (สมัยนั้น) หรือ กศน. (สมัยตอมา) ผลสรุปของการอภิปรายถกแถลงไมวาจะเปนกลุมไหนก็จะไดออกมาเปนทิศทาง เดียวกันเพราะเปนสจั ธรรมที่เปนความจรงิ ในชวี ิต

~ 97 ~ กจิ กรรมที่ 1 ครแู ละผูเรยี นนัง่ สบายๆ อยกู ันเปนกลุม ครูแจกใบงานที่ 1 ท่ีเปนกรณีตัวอยางเร่ือง “หลายชวี ติ ” ใหผูเรยี นทุกคน ครอู ธิบายใหผเู รียนทราบวา ครจู ะอานกรณีตวั อยางใหฟง 2 เทย่ี วชาๆ ใครที่ พออานไดบางก็อานตามไปดวย ใครที่อานยังไมคลองก็ฟงครูอานและคิดตามไปดวย เมื่อครูอานจบแลวก็ จะพูดคุยกับผเู รยี นเชิงทบทวนถึงเนื้อหาในกรณีตวั อยางเรื่อง “หลายชวี ติ ” เพอื่ จะใหแนใจวาผูเรียนทกุ คน เขาใจเน้ือหาของกรณีตวั อยางตรงกนั จากนนั้ ครจู งึ อานประเด็น ซึ่งเปนคําถามปลายเปด (คําถามที่ไมมี คาํ ตอบสําเรจ็ รปู ) ท่กี ํากับมากับกรณตี วั อยางใหผเู รยี นฟง ใบงานท่ี 1 กรณีตัวอยาง เร่ือง “หลายชวี ติ ” หลายชวี ิต พระมหาสมชัย เปนพระนักเทศน มีประสบการณการเทศนมหาชาติกัณฑมัทรีที่มีชื่อเสียงเปนที่ แพรหลาย ในหลายที่หลายภาคของไทย วัดหลายแหงตองจองทานไปเทศนใหงานของวัดนั้นๆ เพราะ ญาติโยมขอรอง และพระนักเทศนทั้งหลายก็นิยมเทศนรวมกับทาน มหาสมชัยตั้งใจไววาอยาก เดินทางไปเทศนที่วัดไทยในอเมริกาสักครั้งในชีวิต เพราะไมเคยไปตางประเทศเลย เจเกียว เปนนักธุรกิจชนั้ นาํ มีกิจการหลายอยางในความดูแล เชน กจิ การเสือ้ ผาสําเรจ็ รปู กิจการจําหนาย สินคาโอทอป กิจการสงออกสินคาอาหารกระปอง กิจการจําหนายสินคาทางอินเทอรเน็ต แตเจเกยี วไมมีลกู สืบสกลุ เลย ตั้งความหวงั ไววาขอมลี ูกสกั คน แตกไ็ มเคยสมหวงั เลย ลงุ แปน เปนเกษตรกรอาวโุ ส อายเุ กนิ 60 ปแลว แตยงั แข็งแรง มฐี านะดี ชอบทาํ งานทุกอยาง ไมอยนู ง่ิ ทาํ งานสวนตวั งานสงั คม งานชวยเหลอื คนอน่ื และงานบาํ รงุ ศาสนาลงุ แปนแอบมคี วามหวงั ลกึ ๆ อยากไดปริญญากิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสักแหงเพื่อเก็บไวเปนความภูมิใจของ ตนเอง และวงศตระกลู เด็กหญิงนวลเพ็ญ เปนเด็กหญิงจนๆ ในตางจังหวัดหางไกล ไมเคยเห็น กรุงเทพฯ ไมเคยเขาเมือง ไมเคย ออกจากหมูบานไปไกลๆ เลย ด.ญ. นวลเพ็ญคิดวาถามีโอกาสไปเทีย่ วกรุงเทพสักครั้งจะดีใจและมี ความสุขมากที่สุด ทดิ แหวง บวชเปนเณรตัง้ แตเล็ก เม่ืออายคุ รบบวชกบ็ วชเปนพระ เพ่ิงสึกออกมาชวยพอทาํ นา ทดิ แหวง ตัง้ ความหวังไววาเขาอยากแตงงานกับหญิงสาวสาย ร่าํ รวยสักคน จะไดมีชีวิตที่สุขสบาย ไม ตอ ทํางานหนักเหมือนทีเ่ ปนอยใู นปจจบุ ัน ประเด็น กรณตี วั อยางเร่อื ง “หลายชวี ติ ” บอกอะไรบางเก่ยี วกบั ชีวติ มนุษย

~ 98 ~ แนวทางการทาํ กจิ กรรม ครแู บงกลมุ ผูเรียนออกเปน 2-3 กลุมยอย ใหผเู รียนเลือกประธานกลุมและเลขานุการกลุมเพื่อ เปนผูนําอภิปรายและผูจดบันทึกผลการอภิปรายของกลุมและนําผลการอภิปรายของกลุมเสนอตอที่ ประชุมใหญ จากนั้นใหผูเรียนทุกกลุมอภิปรายถกแถลงเพือ่ หาคําตอบตามประเด็นทีก่ ําหนดให ครู ติดตามสังเกต เหตุผลของกลุมหากขอมูลยังไมเพียงพอ ครูอาจชีแ้ นะใหอภิปรายเพิ่มเติม ในสวนของ ขอมูลทีย่ ังขาดอยูไดเลขานุการกลุมบันทึกผลการพิจารณาหาคําตอบตามประเด็นทีก่ ําหนด ใหเปน คําตอบสั้นๆ ไดใจความเทานัน้ และนําคําตอบนั้นไปรายงานในทีป่ ระชุมกลุมใหญ หากมีผูเรียนไมมาก นักครูอาจไมตองแบงกลุมยอย ใหผูเรียนทุกคนรวมอภิปรายถกแถลง หรือสนทนาแลกเปลีย่ นความคิด กนั ในกลมุ ใหญเลยโดยมีประธานหรือหัวหนากลุมเปนผูนํา และมีเลขานุการกลุมเปนผูบันทึกขอคิดเห็น ของคนในกลุม ลงบนกระดาษปรูฟ หรือกระดานดํา (ครูอาจเปนผชู วยบันทึกได) ในการประชุมกลุมใหญ ผูแทนกลุมยอยนําเสนอรายงาน ครูบันทึกขอคิดเห็นของกลุม ยอยไวที่กระดาษปรูฟ ซึ่งเตรียมจัดไวกอนแลว เมื่อทุกกลุมรายงานแลว ครูนําอภิปรายในกลุมใหญถึง คําตอบของกลุม ซี่งจะหลอมรวมบูรณาการคําตอบของกลุมยอยออกมาเปนคําตอบประเด็นอภิปรายของ กรณีตวั อยาง “หลายชวี ติ ” ของกลุมใหญ จากนั้นครูนําสรุปคําตอบที่ไดเปนขอเขียนที่สมบูรณขึ้น และนํา คาํ ตอบนน้ั บนั ทกึ ในกระดาษปรูฟติดไวใหเหน็ ชัดเจน ตั ว อ ย า ง ข อ ส รุ ป ข อ ง ก ร ณี ตัวอยาง ตัวอยาง เรื่อง “หลายชีวิต” จาก ขอสรปุ ผลการอภปิ รายจากกรณตี วั อยางเรือ่ ง ความเห็นของผูเรียนหลายกลุมที่ ผานมา ปรากฏดังในกรอบดาน “หลายชวี ติ ” ขวามือตัวอยางขอสรุปนีอ้ าจ -------------- ใกลเคียงกับขอสรุปของทานก็ได คนแตละคนมีความแตกตางกัน มีวิถีการดําเนินชีวิตที่ไม เหมือนกัน แตทุกคนมีความตองการที่คลายกัน คือ ตองการประสบความสําเร็จ ซึง่ ถาบรรลุตามตองการของ ตน คนนัน้ ก็จะมคี วามสขุ กรณีตัวอยางเรื่อง “หลายชีวิต” เริ่มเปดตัวออกมาเปนเรื่องแรก ผูเรียนจะตองติดตาม ตอไปดวยการทํากิจกรรมที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ถึงท่ี 5 ตามลําดับ จึงจะพบคําตอบวา “ความเชือ่ พืน้ ฐานทาง การศึกษาผใู หญ คอื อะไรแน และจะเปนปฐมบทของ “การคิดเปน” อยางไร พักสกั ครกู อนนะ

~ 99 ~ กจิ กรรมท่ี 2 ครแู ละผเู รยี นนงั่ สบายๆ อยกู นั เปนกลมุ ครูแจกใบงานที่ 2 ทีเ่ ปนกรณีตวั อยาง เร่ือง “แปะฮง” ครูดําเนินกิจกรรมเชนเดียวกับการดําเนินงานในกิจกรรมที่ 1 ใบงานท่ี 2 กรณีตวั อยางเร่ือง แปะฮง แปะฮง ทานขุนพิชิตพลพาย เปนคหบดีมีชื่อเสียงมากในดานความเมตตากรุณาทานเปนคนที่ พรอมไปดวยทรพั ยสมบตั ิ ขาทาสบรวิ าร เกียรตยิ ศ ช่ือเสยี ง และสขุ กายสบายใจ ตาแปะฮง เปนชายจนี ชราตัวคนเดยี ว ขายเตาฮวย อาศยั อยูทห่ี องแถวเลก็ ๆ หลังบานขุน พิชติ แปะฮงขายเตาฮวยเสรจ็ กลับบานตอนเย็นตกคํา่ หลงั จากอาบน้ําอาบทากินขาวเสร็จก็นั่งสีซอ เพลดิ เพลนิ ทกุ วนั ไป วันหนึ่งทานขุนคิดวา แปะฮงดูมีความสุขดี แตถาไดมีเงินมากขึ้นคงจะมีความสุขอยาง สมบูรณมากขนึ้ ทานขนุ จงึ เอาเงินหน่ึงแสนบาทไปใหแปะฮง จากนั้นมาเปนเวลาอาทิตยหนึง่ เตม็ ๆ ทาน ขนุ ไมไดยินเสียงซอจากบานแปะฮงอกี เลย ทานขนุ รูสกึ เหมือนขาดอะไรไปอยางหนึง่ เย็นวันท่แี ปด แปะฮงก็มาพบทานขุน พรอมกับนําเงินที่ยังเหลืออีกหลายหมื่นมาคืน แปะฮงบอกทานขุนวา “ผมเอาเงินมาคืนทานครับ ผมเหน่ือยเหลอื เกิน มีเงินมากก็ตองทํางานมากขึ้นตองคอย ระวงั รกั ษาเงนิ ทอง เตาฮวยกไ็ มไดขาย ตองไปลงทนุ ทางอื่นเพ่อื ใหรวยมากขึ้นอกี ลงทนุ แลวกก็ ลวั ขาดทนุ เหนอ่ื ยเหลือเกนิ ผมไมอยากไดเงินแสนแลวครบั ” คืนนั้นทานขุนก็หายใจโลงอก เมื่อไดยินเสียงซอจากบานแปะฮง แทรกเขามากับสายลม ประเด็น ในเรื่องของความสุขของคนในเรื่องนี้ ทานไดแนวคดิ อะไรบาง? แนวทางการทาํ กจิ กรรม 1. เลขานุการกลุมบันทึกความเห็นของกลุมที่รวมกันอภิปราย ความเห็นอาจมีหลายคําตอบก็ได 2. เปรียบเทยี บความเหน็ หรือคําตอบของกลุมผูเรียนกับตวั อยางขอสรปุ ที่นาํ เสนอวาใกลเคียงกัน หรือไมเพียงใด 3. เลอื กขอคิดหรือคาํ ตอบท่ีกลุมคิดวาดที ส่ี ุดไว 1 คําตอบ

~ 100 ~ 4. คาํ ตอบทกี่ ลมุ คิดวาดีท่ีสดุ ที่เลือกบันทึกไวคอื …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………… ตัวอยาง ขอสรุปของกรณีตัวอยาง ตวั อยาง เร่ือง “แปะฮง” จากความเห็นของ ขอสรุปผลการอภปิ รายจากกรณตี วั อยางเร่ือง ผูเรียนหลายกลุมทีเ่ คยเสนอไวดัง ปรากฏในกรอบดานขวามือ ตัวอยาง “แปะฮง” ขอสรุปนีอ้ าจใกลเคียงกับขอสรุป ----------- ของกลุมของทานก็ได เมื่อคนมีความแตกตางกัน แตทุกคนตางก็ ตองการความสุข ดังนั้น ความสุขของแตละคนก็ อาจไมเหมือนกัน ตางกันไปตามสภาวะของ แตละบุคคลที่แตกตางกนั ดวย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook