Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะการเรียนรู้ ประถม

ทักษะการเรียนรู้ ประถม

Published by yinyin3007tanwarat, 2020-05-28 03:01:19

Description: ทักษะการเรียนรู้ ประถม

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู (ทร11001) ระดบั ประถมศกึ ษา (ฉบบั ปรบั ปรุง 2554) หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาํ นกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจําหนาย หนังสือเรยี นเลมนี้จดั พิมพดวยเงนิ งบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สําหรับประชาชน ลขิ สิทธ์เิ ปนของ สํานกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 32/2555

~2~ หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรยี นรู (ทร11001) ระดบั ประถมศกึ ษา ฉบบั ปรับปรงุ 2554 ลขิ สิทธ์ิเปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดับที่ 32 /2555

~3~

~4~ หนา สารบญั 10 24 คาํ นาํ 48 สารบัญ 94 คําแนะนําการใชแบบเรียน 119 โครงสรางรายวิชาทักษะการเรียนรู ระดบั ประถมศกึ ษา 125 บทท่ี 1 การเรยี นรูดวยตนเอง บทท่ี 2 การใชแหลงเรยี นรู บทท่ี 3 การจดั การความรู บทท่ี 4 การคิดเปน บทท่ี 5 การวิจัยอยางงาย บทท่ี 6 ทักษะการเรียนรแู ละศักยภาพหลักของพืน้ ท่ใี นการพัฒนาอาชีพ

~5~ คาํ แนะนาํ การใชแบบเรยี น หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา เปนหนังสือเรียนทีจ่ ัดทําขึ้นสําหรับ ผเู รียนที่เปนนักศึกษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู ผูเรียนควรปฏิบตั ดิ ังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขาย เนอ้ื หา 2. ศึกษารายละเอียดเนือ้ หาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด แลว ตรวจสอบกับแนวตอบกจิ กรรมที่กาํ หนด ถาผูเรยี นตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหา น้ันใหมใหเขาใจกอนท่ีจะศึกษาเร่อื งตอไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรูความเขาใจของเนื้อหาในเรื่อง นั้นๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหาแตละเรือ่ ง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครู และเพอ่ื นๆ ทร่ี วมเรยี นในรายวชิ าและระดบั เดยี วกนั ได 4. หนังสือเรยี นเลมนี้มี 6 บท คือ บทที่ 1 การเรยี นรดู วยตนเอง บทที่ 2 การใชแหลงเรียนเรยี นรู บทที่ 3 การจัดการความรู บทที่ 4 การคิดเปน บทที่ 5 การวิจัยอยางงาย บทที่ 6 ทักษะการเรียนรูและศกั ยภาพหลักของพื้นที่ในการพฒั นาอาชพี

~6~ โครงสรางรายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู ระดบั ประถมศกึ ษา สาระสําคัญ รายวิชาทักษะการเรียนรู มีเนือ้ หาเกีย่ วกับการพัฒนาทักษะการเรียนรูของนักเรียนในดานการ เรียนรูดวยตนเอง การใชแหลงเรียนรู การจัดการความรู การคิดเปนและการวิจัยอยางงาย โดยมี วัตถุประสงคเพือ่ ใหผูเรียนสามารถกําหนดเปาหมาย วางแผนการเรียนรูดวยตนเอง เขาถึงและเลือกใช แหลงเรียนรูจัดการความรู กระบวนการแกปญหาและตัดสินใจอยางมีเหตุผล ทีจ่ ะสามารถใชเปน เคร่ืองมือชีน้ ําตนเองในการเรียนรู และการประกอบอาชีพใหสอดคลองกับหลักการพื้นฐาน และการ พัฒนา 5 ศักยภาพหลักของพืน้ ที่ ใน 5 กลุมอาชีพใหม คือ กลุมอาชีพดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหารจัดการและการบริการ ตามยุทธศาสตร 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั บทท่ี 1 การเรยี นรูดวยตนเอง 1. อธิบายความหมายของการเรียนรูดวยตนเอง และวิธีการแสวงหาความรูดวยตนเอง 2. ปฏิบัติตนตามขั้นตอนการแสวงหาความรูดวยตนเอง 3. เห็นคุณคาของกิจกรรมการแสวงหาความรู 4. สามารถบอกหรือยกตัวอยางอาชีพในกลุมอาชีพดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหารจัดการและบริการ ทีส่ อดคลองกับ ศกั ยภาพของพ้นื ท่ีทีต่ นเองอาศยั อยูได บทท่ี 2 การใชแหลงเรยี นรู 1. ผูเรียนสามารถบอกประเภทคุณลักษณะของแหลงเรียนรูและเลือกใชแหลงเรียนรู ไดตามความเหมาะสม 2. ผเู รียนเหน็ คณุ คาแหลงเรียนรปู ระประเภทตาง ๆ 3. ผูเรียนสามารถสังเกต ทําตาม กฎ กติกา การใชแหลงเรียนรู 4. สามารถบอกหรือยกตัวอยางแหลงเรียนรูเกีย่ วกับเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหารจัดการและบริการ ของพืน้ ที่ที่ตนเอง อาศยั อยูได

~7~ บทท่ี 3 การจัดการความรู 1. อธิบายความหมาย กระบวนการชุมชนปฏิบัติการ กําหนดขอบเขตความรูจาก ความสามารถหลักของชุมชน และวิธีการยกระดับขอบเขตความรูใหสูงขึ้น 2. รวมกนั แลกเปล่ียนความรูและสรุปผลการเรยี นรู ทบ่ี งชถ้ี ึงคุณคาของ กระบวนการจดั การความรู 3. สามารถสังเกตและทําตามกระบวนการจัดการความรูชุมชน 4. สามารถนํากระบวนการจัดการความรูของชุมชนไปเลือกประกอบอาชีพที่เหมาะสม กบั ตนเองได บทท่ี 4 การคดิ เปน 1. อธิบายเร่ืองความเชื่อพื้นฐานทางการศกึ ษาผใู หญได 2. บอกความสัมพันธเชื่อมโยงของความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผูใหญ ไปสู กระบวนการ “คิดเปน” ได 3. เขาใจลักษณะของขอมูลตนเอง และสังคมสิ่งแวดลอม และสามารถเปรียบเทียบ ความแตกตางของขอมูลทั้ง 3 ดาน 4. เขาใจ และบอกไดวาหลักการคิดเปน และความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผูใหญ เปนเรอื่ งท่สี อดคลองกับ 5 ศักยภาพ ของพน้ื ทตี่ ามยุทธศาสตรของ กระทรวงศึกษาธิการ 2555 ในการนําไปเพิ่มขีดความสามารถประกอบอาชีพโดย เนน 5 กลุมอาชีพใหม ในระดับทองถน่ิ บทท่ี 5 การวจิ ัยอยางงาย 1. อธิบายความหมายและประโยชนของการวิจัยได 2. ระบุขั้นตอนของการทําวิจัยได 3. อธิบายวิธีเขียนรายงานการวิจัยงาย ๆ ได บทที่ 6 ทกั ษะการเรยี นรูและศกั ยภาพหลักของพ้ืนท่ใี นการพัฒนาอาชพี 1. รูเขาใจความหมายตระหนักเห็นความสําคัญศักยภาพหลักของพื้นที่ 2. อธิบายองคประกอบของศักยภาพหลักของพื้นที่ 3. ยกตัวอยางอาชพี ทสี่ อดคลองกับศกั ยภาพหลักของพ้นื ที่

~8~ ขอบขายเน้ือหา บทท่ี 1 การเรยี นรูดวยตนเอง เร่ืองท่ี 1 ความหมายและความสําคัญของการเรียนรู ดวยตนเอง เรื่องที่ 2 การกาํ หนดเปาหมายและการวางแผนการเรยี นรูดวยตนเอง เรื่องท่ี 3 ทักษะพื้นฐานของการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหา และเทคนิคในการ เรียนรดู วยตนเอง เรื่องที่ 4ปจจยั ท่ที ําใหการเรียนรดู วยตนเองประสบผลสาํ เรจ็ บทท่ี 2 การใชแหลงเรียนรู เรอ่ื งที่ 1 ความหมายและความสําคัญของแหลงเรียนรู เรื่องท่ี 2 ประวัติความเปนมาของแหลงเรียนรู เรือ่ งท่ี 3 แหลงเรียนรปู ระเภทตาง ๆ เรื่องที่ 4 การใชแหลงเรียนรทู ี่สาํ คญั เรอ่ื งท่ี 5 การเขยี นรายงานการคนควา บทท่ี 3 การจัดการความรู เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ หลักการของการจัดการความรู เรื่องที่ 2 กระบวนการจัดการความรู เรอ่ื งที่ 3 กระบวนการจดั การความรดู วยตนเอง เร่อื งที่ 4 กระบวนการจัดการความรูดวยการปฏิบัติการกลุม เร่ืองท่ี 5 การสรางองคความรูพัฒนาตอยอดยกระดับความรู เรื่องท่ี 6 การจัดทําสารสนเทศเผยแพรองคความรู บทท่ี 4 การคิดเปน เรื่องที่ 1 ความเช่ือพ้นื ฐานทางการศกึ ษาผใู หญดวยการสรุปจากกรณีตัวอยาง เรื่องท่ี 2 “คิดเปน” และกระบวนการคิดเปน เรื่องท่ี 3 ฝกทักษะการคิดเปน บทท่ี 5 การวจิ ยั อยางงาย เรื่องท่ี 1 วจิ ยั คืออะไร มีประโยชนอยางไร เร่ืองที่ 2 ทําวิจัยอยางไร เรื่องที่ 3 เขียนรายงานการวิจัยอยางไร

~9~ บทท่ี 6 ทกั ษะการเรยี นรูและศกั ยภาพหลกั ของพน้ื ที่ในการพฒั นาอาชีพ เร่ืองท่ี 1 ความหมายความสําคัญของศักยภาพหลักในการพัฒนาอาชีพ เรื่องที่ 2 การวิเคราะหศกั ยภาพหลกั ของพื้นที่ในการพัฒนาอาชีพ เร่ืองท่ี 3 ตัวอยางอาชพี ทสี่ อดคลองกับศักยภาพหลักของพืน้ ที่ ส่อื การเรยี นรู 1. ใบงาน 2. หนังสือเรียน

~ 10 ~ บทที่ 1 การเรยี นรูดวยตนเอง สาระสําคัญ การเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองรวมทั้งความกาวหนาทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหคนเราปรับตัวใหทันการเปลี่ยนแปลงดังกลาว ซึ่งการเรียนรูจาก สถาบันการศึกษาไมอาจทําใหบุคคลศึกษาหาความรูไดทั้งหมด การเรียนรูดวยตนเอง จึงเปนวิธีการเรียนรู วิธีหนึ่งที่สามารถตอบสนองความตองการของแตละบุคคลได เพราะเมื่อใดก็ตามที่บุคคลมีใจรักที่จะ ศึกษาคนควาในสิ่งที่ตนตองการเรียนรู มีทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหา และ เทคนิคในการเรยี นรดู วยตนเอง บุคคลนั้นก็จะดําเนินการศึกษาเรยี นรูอยางตอเน่ือง อันจะนําไปสกู ารเปน ผทู ส่ี ามารถเรยี นรูตลอดชีวติ ผลการเรียนรูทค่ึ าดหวงั 1. อธิบายความหมายการเรียนรูดวยตนเอง และวิธีการแสวงหาความรู 2. ปฏิบัติตนตามขั้นตอนการแสวงหาความรูดวยตนเอง 3. เห็นคุณคาของกิจกรรมการแสวงหาความรู ขอบขายเน้ือหา เร่ืองที่ 1 ความหมายและความสําคัญของการเรยี นรู ดวยตนเอง เรื่องท่ี 2 การกาํ หนดเปาหมายและการวางแผนการเรยี นรดู วยตนเอง เรื่องท่ี 3 ทักษะพื้นฐานของการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหา และเทคนิคในการเรียนรู ดวยตนเอง เรอ่ื งท่ี 4 ปจจยั ทท่ี าํ ใหการเรียนรดู วยตนเองประสบผลสาํ เรจ็ สื่อการเรียนรู 1. แบบวดั ความพรอมในการเรยี นรดู วยตนเอง

~ 11 ~ บทที่ 1 ความหมายและความสําคญั ของการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเองคืออะไร เมอ่ื กลาวถึงการเรียนรูดวยตนเองแลว บคุ คลทว่ั ไปมักเขาใจวาเปนการเรยี นรูทีผ่ ูเรยี น ทําการศึกษาคนควาดวยตนเองตามลําพัง โดยไมตองพึง่ พาครูหรือผูสอนแตทจี่ ริงแลวการเรยี นรูดวย ตนเองท่ีตองการใหเกิดข้นึ ในตัวผูเรยี นนัน้ หมายถึง กระบวนการเรียนรูทผี่ ูเรียนริเริ่มการเรียนรูดวย ตนเอง ตามความสนใจ ความตองการ และความถนัด มีเปาหมายในการเรียนรู และแสวงหาแหลงทรัพยากรของการเรียนรู เลอื กวิธีการเรียนรู จนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรขู องตนเอง โดยจะดําเนินการดวย ตนเองหรอื รวมมอื ชวยเหลือกบั ผอู น่ื หรอื ไมกไ็ ด ซ่งึ ผเู รยี นจะตองมีความรับผิดชอบและเปนผคู วบคุม การเรยี นของตนเอง การเรียนรดู วยตนเองมีความสาํ คัญอยางไร การเรียนรูดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนแนวทางการเรียนรูหนึง่ ทีส่ อดคลองกับการ เปลีย่ นแปลงของสภาพปจจุบัน และเปนแนวคิดทีส่ นับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสู การเปนสังคมแหงการเรียนรู โดยการเรียนรูดวยตนเองเปนการเรียนรูทีท่ ําใหบุคคลมีการคิดริเร่ิมการ เรยี นรูดวยตนเอง มีเปาหมายในการเรียนรูทแ่ี นนอน มคี วามรับผิดชอบในชวี ิตของตนเอง ไมพ่ึงพาคนอ่ืน มีแรงจูงใจทําใหผูเรียนเปนบุคคลทีใ่ ฝรูใฝเรียน ทีม่ ีการเรียนรูตลอดชีวิต เรียนรูวิธีเรียน สามารถเรียนรู เร่ืองราวตางๆ ไดมากกวาการเรียนรูท่ีมีครูปอนความรูใหเพียงอยางเดียว การเรียนรูดวยตนเองนับวาเปน คุณลักษณะทีด่ ีทีส่ ุดซึง่ มีอยูในตัวบุคคลทุกคน ผูเรียนควรมีลักษณะของการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรู ดวยตนเองจัดเปนกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ยอมรับในศักยภาพของผูเรียนวาผูเรียนทุกคนมี ความสามารถที่จะเรียนรูสิ่งตางๆ ไดดวยตนเอง เพือ่ ทีต่ นเองสามารถที่จําดํารงชีวิตอยูในสังคมที่มีการ เปล่ยี นแปลงอยูตลอดเวลาไดอยางมีความสขุ ดงั น้ันการเรยี นรูดวยตนเองมคี วามสาํ คัญดงั นี้ 1. บุคคลทีเ่ รียนรูโดยการริเริม่ ของตนเองจะเรียนไดมากกวา ดีกวา มีความตั้งใจ มีจุดมุงหมาย และมีแรงจูงใจสูงกวา สามารถนําประโยชนจากการเรียนรูไปใชไดดีกวา และยาวนานกวาคนทีเ่ รียนโดย เปนเพียงผรู บั หรือรอการถายทอดจากครู 2. การเรียนรูดวยตนเองสอดคลองกับพัฒนาการทางจิดวิทยาและกระบวนการทางธรรมชาติ ทํา ใหบุคคลมีทิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะจากลักษณะหนึ่งไปสูอีกลักษณะหนึ่ง คือ เมือ่ ตอนเด็ก ๆ เปน ธรรมชาติ ทีจ่ ะตองพึง่ พิงผูอืน่ ตองการผูปกครองปกปองเลีย้ งดู และตัดสินใจแทนให เมือ่ เติบโตมี พัฒนาการขึ้นเรื่อย ๆ พัฒนาตนเองไปสูความเปนอิสระ ไมตองพึง่ พิงผูปกครอง ครู และผูอืน่ การพัฒนา เปนไปในสภาพที่เพิ่มความเปนตัวของตัวเอง

~ 12 ~ 3. การเรียนรูดวยตนเองทําใหผูเรียนมีความรับผิดชอบ ซึ่งมีลักษณะทีส่ อดคลองกับพัฒนาการ ใหม ๆ ทางการศึกษา เชน หลักสูตร หองเรียนแบบเปด ศูนยบริการวิชาการ การศึกษาอยางอิสระมหาลัย เปดลวนเนนใหผูเรยี นรับผดิ ชอบการเรียนรเู อง 4. การเรียนรูดวยตนเองทําใหมนุษยอยูรอด การมีความเปลีย่ นแปลงใหม ๆ เกิดขึน้ เสมอ ทําใหมี ความจาํ เปนทจ่ี ะตองศึกษาเรียนรู การเรยี นรดู วยตนเองจึงตองเปนกระบวนการตอเนื่องตลอดชีวิต การเรยี นรดู วนตนเอง เปนคณุ ลกั ษณะท่ีสําคัญตอการดําเนินชีวิตท่ีมีประสิทธิภาพ ชวยใหผูเรียน มีความตัง้ ใจและมีแรงจูงใจสูง มีความคิดริเริม่ สรางสรรค มีความยืดหยุนมากขึ้น มีการปรับพฤติกรรม การทํางานรวมกับผูอืน่ ได รูจักเหตุผล รูจักคิดวิเคราะห ปรับและประยุกตใชวิธีการแกปญหาของตนเอง จดั การกบั ปญหาไดดขี นึ้ และสามารถนําประโยชนของการเรียนรูไปใชไดดีและยาวนานขึน้ ทําใหผูเรียน ประสบความสําเร็จในการเรียน

~ 13 ~ รายละเอยี ดกจิ กรรมการเรยี นรู จงเลอื กคาํ ตอบที่ถูกทสี่ ุด 1. การเรยี นรดู วยตนเอง คือใคร ก. การเรียนรทู ่ผี เู รียนตองศกึ ษาเรียนรู ดวยตนเองตามลําพัง ข. การเรยี นรูท่ีผูเรยี นรเิ ร่ิมตามที่ครหู รอื บคุ คลอื่น บอกหรือแนะนํา ค. กระบวนการเรยี นรทู ่ีผเู รียนทาํ การศกึ ษาคนควาดวยตนเองตามลาํ พังโดยไมพง่ึ พาครูหรือ ผูสอน ง. กระบวนการเรยี นรูท่ผี ูเรียนริเรม่ิ การเรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจ ความตองการและความ ถนดั 2. การเรยี นรูดวยตนเองมีความสําคัญอยางไร ก. เปนการเรยี นรูท่ีดีท่สี ดุ ของการเรยี นรู ทง้ั หมด ข. เปนการเรียนรูที่สามารถตอบสนองความตองการของแตละบุคคล สูการเรียนรูตลอดชีวิต ค. เปนการเรยี นรู จาํ เปนตองเกิดในสถานศกึ ษาเทาน้นั ง. เปนการเรยี นรู ท่ที ําใหผูเรียนเปนผูที่มีความสามารถโดยไมตองพึ่งพาใคร

~ 14 ~ เรือ่ งที่ 2 การกําหนดเปาหมาย และการวางแผนการเรียนรูดวยตนเอง การกําหนดเปาหมายในการเรยี นรูดวยตนเองมีลักษณะอยางไร การปฏิบัติการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีประสิทธิภาพ และใหประสบความสําเร็จไดนัน้ ขึน้ อยูกับการทีผ่ ูเรียน ไดกําหนดเปาหมายในการ เรียนรูของตนเองแลวหรอื ยงั และท่ีสําคญั เปาหมายในการเรยี นรดู ังกลาว ตองมีความชดั เจนดวย สําหรับผูเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานนัน้ ทุกคนยอมมีเปาหมายในการศึกษาคลายคลึงกัน คือ เพือ่ ใหไดรับความรู การสําเร็จการศึกษา การพัฒนาอาชีพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตน แต เปาหมายดังกลาวนัน้ เปนเปาหมายระยะยาวทีจ่ ะใหเกิดขึน้ ในอนาคต ดังนัน้ ผูเรียนทีต่ องการใหตนเอง ประสบความสําเร็จในการเรียน จึงควรแบงเปาหมายระยะยาว ออกเปนเปาหมายระยะสั้นหรือเปาหมายยอย ๆ ที่กาํ หนดใหแตละชวงเวลา ของการปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรียนรใู หมีความตอเน่อื งกัน เปาหมายในการเรียนรู ของแตละบุคคลนนั้ เปรียบเสมือนกับ การเดินทางจากสถานทแ่ี หงหน่ึงไปยัง สถานท่ีอกี แหงหน่งึ นั้น อาจจะมเี สนทางของการเดนิ ทางใหเลอื กเดนิ ไดหลายเสนทาง ที่ผูเดินทางสามารถ ที่จะเลอื กเดนิ ตามเสนทางทีต่ นเลอื กได การวางแผนการเรียนรูดวยตนเอง ควรทําอยางไร การเรียนรู ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 น้ัน ผเู รียนจะตองลงทะเบยี นเรยี นเปนรายวชิ า ซึ่งครอบคลมุ ท้ังวิชาบงั คับและวิชาเลือก ตามโครงสรางหลักสูตร คือ จะตองเรยี นวิชาบงั คับ จาํ นวน 36 หนวยกติ วชิ าเลอื ก วชิ าเลอื ก จํานวน 12 หนวยกติ รวมทั้งหมด 48 หนวยกิต และกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต (กพช.) จาํ นวน 100 ช่ัวโมง ท้ังนี้ ในแตละภาคเรยี น ผูเรยี นสามารถลงทะเบียนไดภาคเรยี นละไมเกนิ 14 หนวย กติ การที่จะศกึ ษาใหจบหลกั สูตรได อยางมคี ณุ ภาพนนั้ ผูเรียนจึงมีความจาํ เปนในการท่จี ะวาง แผนการเรยี นรดู วยตนเอง ซ่ึงผเู รยี นจะตองมีความรับผิดชอบในการเรียนรูของตน ดังน้นั ผเู รยี นควรพิจารณาส่ิงตาง ๆ ประกอบในการวางแผนการเรียนรู ของตนดงั น้ี

~ 15 ~ 1. การเรียนรูดวยตนเอง ควรเริ่มจากการทีผ่ ูเรียนมีความตองการที่จะเรียนในสิง่ หนึง่ สิ่ง ใด เพอ่ื การพฒั นาทกั ษะ ความรู สําหรับการพฒั นาชีวติ และอาชีพของตนเอง 2. การเตรียมตัวของผูเรียน คือ ผูเรียนจะตองศึกษาหลักการ จุดหมาย และโครงสราง หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทัง้ ศึกษา คําอธิบายรายวิชาและรายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน 3. ผูเรียนควรเลือกและจัดเนือ้ หา ของแตละรายวิชาดวยตนเอง ตามจํานวนชั่วโมงที่ กําหนดไวในโครงสราง และกําหนดตัวชี้วัดที่ระบุไวใน รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา วาจะให บรรลุผลในดานใด เพือ่ แสดงใหเห็นวาผูเรียนไดเกิดการเรียนรูในเรื่องนัน้ ๆ แลว และมีความ คิดเหน็ หรือเจตคตใิ นการนําไปใชกบั ชวี ติ และชมุ ชน สังคมดวย 4. ผูเรียนเปนผูวางแผนการเรียนรูดวยตนเอง และดําเนินกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเอง โดยอาจจะขอคําแนะนําชวยเหลือจากครูหรือเพือ่ นในลักษณะของการรวมมือกันทํางานได เชนกนั 5. การประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง ควรเปนการประเมินรวมกัน ระหวางครู และ ผูเรียน โดยรวมกนั ตง้ั เกณฑการใหคะแนน รวมกนั ในการวางแผนการเรียนรูดวยตนเองนัน้ ผูเรียนควรตัง้ คําถามในการถามตนเอง เพือ่ ให ไดคาํ ตอบสําหรบั การวางแผน การเรยี นรูของตน ดงั น้ี 1. จะเรียนรอู ยางไร และเม่ือใดจงึ เรยี นรไู ดเรว็ ทีส่ ุด 2. จะมวี ิธกี ารอะไรในการศึกษาเรียนรใู นเรื่องนั้น ๆ 3. จะใชหนังสอื หรือแหลงขอมูลอะไรบาง 4. จะกําหนดจดุ มงุ หมายเฉพาะ ในการเรยี นรู ของตนอยางไร 5. จะคาดหวงั ความรู ทกั ษะและเจตคติ ทจี่ ะใหเกดิ ขน้ึ กับตนเองไดอยางไร 6. จะประเมนิ ผลการเรยี นรขู องตนเอง อยางไร 7. จะใชเกณฑอะไรตดั สินวาตนเองประสบความสาํ เรจ็ การเปนผทู ่มี ีการวางแผนการเรยี นรขู องตนนนั้ ผูเรยี นตองรู ความตองการในการเรียนรู ของตนเอง มีการวางจุดมุงหมายทส่ี อดคลอง กบั ความตองการนั้น และการวางแผน ปฏบิ ตั ิงานท่มี ปี ระสิทธิภาพเพ่ือใหบรรลจุ ดุ มงุ หมาย ของการเรียนรู โดยใชประโยชนจาก แหลงเรยี นรตู าง ๆ รวมทงั้ การประเมนิ ความกาวหนาในการเรียนรขู องตน

~ 16 ~ เรื่องที่ 3 ทกั ษะพ้ืนฐานทางการศึกษาหาความรู ทกั ษะการแกปญหา และเทคนิคในการเรียนรูดวยตนเอง ทักษะในการแสวงหาความรูดวยตนเองเปนการแสดงออกของผูเรียน ในการปฏิบัติ คนควาหา ความรูดวยตนเอง และสามารถสรางความรูใหมเพิม่ เติม จากการคิด ศึกษา ทดลอง คนควา และปฏิบัติดวย ตนเอง ทีเ่ ชื่อมสัมพันธกับความรูเดิมที่มีอยู ทําการศึกษาจากแหลงรวมความรูตาง ๆ ตามความสนใจหรือ ความตองการของตนเอง โดยมีวิธีการคนควาหาความรูจากการกําหนดปญหาในการสืบคนความรู การ วางแผนในการสืบคนความรู การดําเนินการสืบคนความรูตามแผนที่กําหนดไว การวิเคราะหขอมูลจากการ สืบคนความรู การดําเนินการสืบคนความรูตามแผนทีก่ ําหนดไว การวิเคราะหขอมูลจากการสืบคนความรู การบันทึกจัดเก็บและสรุปผลจากการสืบคนความรู โดยอาจปรึกษาหรือขอความชวยเหลือจากครูหรือ บุคคลอืน่ การสงเสริมทกั ษะในการแสวงหาความรดู วยตนเองผูเรียนควรฝกตนเอง ดงั น้ี 1. ฝกใหมีนิสยั รักการอาน ชางจด – จํา และบันทึกกิจกรรมการอานซึง่ สามารถจัดทําไดในหลาย ๆ การเรยี นรู 2. เปนคนชางสังเกต เพราะถือวาการสังเกตชวยใหผูเรียนรอบรู และเขาใจไดดีพอ ๆ กับการเรียนรู โดยวิธอี นื่ 3. ฝกใหรูจักการคนควาหาความรู โดยดําเนินกิจกรรมการคนความาก ๆ หนังสือจะเปนปจจัย สาํ คัญในการที่จะชวยใหการฝกวธิ นี ้ไี ดผล 4. ฝกคนควาจากปญหาตาง ๆ ทอ่ี ยใู นความสนใจ และเก่ยี วของกบั ตน 5. ฝกหาคําตอบจากคําถามตาง ๆ 6. ศึกษาขอความหรือบทความทีเ่ กีย่ วของกับวิธีการแสวงหาความรูใหตนเองไดอานอยาง สม่ําเสมอ การสงเสรมิ ใหเกดิ ทกั ษะการแสวงหาความรูดวยตนเองผูเรยี นจะตองฝกฝนใหมีนสิ ัยรักการอาน ชางสังเกต ศึกษาคนควาขอมูลตาง ๆ จากแหลงขอมูลที่หลากหลาย รูจักตั้งคําถาม และฝกการหาคําตอบจาก คําถามตาง ๆ อยางมีระบบ

~ 17 ~ กิจกรรมที่ 1 ทานคิดอยางไรกับคํา การพูดเปนวธิ กี ารส่ือสารทมี่ นุษยใชกันมานานนับพนั ป กลาวขางลางนี้ โปรดอธิบาย “ ก า ร พู ด เ ป น ทั ก ษ ะ ห นึ ่ง และในโลกนี้คงไมมีเครื่องมือสอื่ สารใดทส่ี ามารถายทอดความคดิ ที่มีความสําคัญทีส่ ุดของคนเรากอนที่ เ ร า จ ะ พู ด อ ะ ไ ร อ อ ก ไ ป นั ้น ความรูสกึ และส่งิ ตาง ๆ ในใจเราไดดีความคําพดู ถึงแมวา ปจจัน เ ร า จ ะ เ ป น น า ย คํา พู ด แตเมือ่ เราไดพูดออกไปแลว เทคโนโลยีในการสื่อสารจะไดรับการพัฒนาไปถึงไหน ๆ แลวก็ตาม คําพูดเหลานัน้ ก็กลับมาเปนนายเรา” …………………………………………………… สาเหตทุ ่ีเปนเชนนีก้ เ็ พราะวาการพูดไมใชแตเพียงเสียงทเ่ี ปลง …………………………………………………… …………………………………………………… ออกไปเปนคาํ ๆ แตการพดู ยังประกอบไปดวยน้ําเสยี ง สงู – ตํา่ …………………………………………………… …………………………………………………… จังหวะชา – เร็ว และทาทางของผูพูดทท่ี ําใหการพูดมีความ …………………………………………………… …………………………………………………… ซับซอนและมปี ระสิทธภิ าพย่ิงกวาเครื่องมือส่ือสารใด ๆ …………………………………………………… …………………………………………………… การพูดนนั้ เปรยี บเสมือนดาบสองคม คอื สามารถใหทั้ง …………………………………………………… ………………………………………………….. คณุ และโทษแกตัวผูพดู ได นอกจากนก้ี ารพูดยงั เปนอาวธุ ในการ สอ่ื สารท่คี นสวนใหญชอบใชมากกวาการฟงและการเขียน เพราะ คิดวาการพูดไดมากกวคนอ่ืนนั้นจะทาํ ใหตนเองไดเปรียบ ไดประโยชน แตท้งั ๆ ที่คิดอยางนหี้ ลายคนกย็ งั พาตนเองไปสู ความหายนะไดดวยปากเขาทํานองปากพาจน ซ่ึงเหตทุ ีเ่ ปนเชนน้ี ก็เพราะรกู ันแตเพยี งวาฉันอยากจะพูด โดยไมคิดกอนพูดไมรวู า การพดู ท่จี ะใหคุณแกตนเองไดนน้ั ควรมีลกั ษณะดังน้ี - ถูกจังหวะเวลา - ภาษาเหมาะสม - เน้อื หาชวนตดิ ตาม - น้ําเสยี งชวนฟง - กริ ยิ าทาทางดี - มีอารมณขัน - ใหผฟู งมสี วนรวม - เปนธรรมชาตแิ ละเปนตัวของตัวเอง

~ 18 ~ กจิ กรรมท่ี 2 คุณเปนผูฟงท่ีดีหรอื เปลา ใหตอบแบบทดสอบตอไปนี้ ดวยการทําเครื่องหมาย √ ลงในชองคําตอบทางดานขวา เพื่อประเมิน วา คณุ เปนผูฟงไดดแี คไหน ลักษณะของการฟง ความบอยครง้ั ไมเคย 1. ปลอยใหผูพดู แสดงความคดิ เหน็ ของเขาจนจบโดยไมขดั จงั หวะ เสมอ สวนใหญ บางคร้ัง นานๆครัง้ 2. ในการประชมุ หรอื ระหวางโทรศัพท มีการจดโนตสาระสําคัญของส่งิ ท่ีได ยนิ 3. กลาวทวนรายละเอียดทส่ี ําคญั ของการสนทนากบั ผูพูด เพื่อใหแนใจวาเรา เขาใจถูกตอง 4. พยายามต้งั ใจฟง ไมวอกแวกไปคิดเร่ืองอน่ื 5. พยายามแสดงทาทวี าสนใจในคําพดู ของผอู ่นื 6. รดู ีวาตนเองไมใชนักส่ือสารทดี่ ี ถาผูกขาดการพดู แตเพยี งผูเดียว 7. แมวากําลงั ฟงก็แสดงอาการตาง ๆ เชน ถาม จดสรปุ สงิ่ ทีไ่ ดฟงกลาวทวน ประเดน็ สําคัญ ฯลฯ 8. ทาํ ทาตาง ๆ เหมือนกาํ ลังฟงอยใู นทป่ี ระชุม เชน ผงกศรษี ะเหน็ ดวยมองตาผพู ูด ฯลฯ 9. จดโนตเก่ียวกับรูปแบบของการสื่อสารท่ไี มใชคาํ พูดของคสู นทนา เชน ภาษากาย นาํ้ เสยี ง เปนตน 10. พยายามทจ่ี ะไมแสดงอาการกาวราวหรอื ตื่นเตนเกินไปถามีความคิดเหน็ ไม ตรงกับผพู ดู คําตอบทั้ง 5 คําตอบ (ในแตละชอง) มคี ะแนนดงั น้ี เสมอ = 5 คะแนน นาน ๆ ครงั้ = 2 คะแนน สวนใหญ = 4 คะแนน ไมเคย = 1 คะแนน บางครั้ง = 3 คะแนน นําคะแนนจากทั้ง 10 ขอมารวมกนั เพอ่ื ดูวาคุณจัดอยูในกลุมนกั ฟงประเภทไหนใน 3 กลุมตอไปน้ี 40 คะแนนข้นึ ไป จดั วาคณุ เปนนักฟงชนั้ ยอด 25 – 39 คะแนน คุณเปนนักฟงทด่ี กี วานกั ฟงท่ัว ๆ ไป ตํ่ากวา 25 คะแนน คุณเปนผูฟงท่ตี องพัฒนาทกั ษะการฟงเปนพิเศษ แตไมวาจะอยใู นกลุมไหนกต็ าม คณุ ควรจะพัฒนาทักษะในการฟงของคณุ อยเู สมอ เพราะวาผูสงสาร (ท้งั คนและอุปกรณเทคโนโลยีตาง ๆ) นั้นมีการเปลี่ยนแปลงและมีความซับซอนมากขั้นอยูตลอดเวลา

~ 19 ~ กจิ กรรมท่ี 3 “ถา……… คณุ ……..” วตั ถุประสงค เพือ่ ใหผูเรียนฝกทกั ษะในการคิดและการใหเหตผุ ล แนวคดิ ทกั ษะการคดิ ดวยวธิ กี ารที่มเี หตผุ ลรองรับ มีความสําคญั ในการใชประกอบการแสวงหาความรูหรือ แกปญหาในชวี ิตประจาํ วนั คาํ ชีแ้ จง 1. ใหผเู รยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. ถาทาน มีโอกาสในการเลือกที่จะประกอบอาชีพไดทานปรารถนาจะประกอบอาชีพอะไร เพราะ อะไร 2. ถาทาน ขออะไรไดหนึ่งอยาง ทานปรารถนาจะขออะไร 3. ถาทาน ตองการบอกเก่ียวกับตัวทานดวยคําเพียงคําเดียวคําวาอะไร เพราะอะไร 4. ถามอี ะไรในตวั ทานท่ีอยากจะเปลี่ยนส่งิ นนั้ คืออะไร เพราะอะไร 5. ทานไดประโยชนอะไรจากการใช เหตุผล กจิ กรรมท่ี 4 “นกั แสวงหา” วตั ถปุ ระสงค เพอื่ ใหผูเรยี นรวู ิธีแสวงหาขอมลู โดยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย วัตถปุ ระสงค เพ่อื ใหผเู รยี นรูวธิ แี สวงหาขอมูลโดยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย แนวคดิ การทผ่ี ูเรียนจะเปนคนท่ที นั กับการเปลย่ี นแปลงของสังคมปจจบุ ัน ซงึ่ มแี หลงขอมูลทห่ี ลากหลาย ท้งั ท่ีเชอื่ ถอื ได และเชือ่ ถอื ไมได การพจิ ารณาขอมลู จากหลายแหลง และเลอื กใชขอมลู ทีเ่ ปนประโยชนมาปรับ ใชในชีวิตประจําวันจึงมีความสําคัญ คําชีแ้ จง 1. ใหผเู รียนอธิบายประเด็นตอไปนี้ 1. ถาผูเรียนตองการทราบขาวสารตาง ๆ ผูเรียนตองหาขาวสารขอมูลไดจากที่ใดบาง 2. ใหผูเรียนมีวิธกี ารทจี่ ะแสวงหาขอมูลทตี องการไดอยางไร 3. ใหผูเรียนบอกแหลงแสวงหาขอมูลภายในชุมชน 4. ทานไดประโยชนการแสวงหาขอมูลอยางไรบาง

~ 20 ~ กจิ กรรมที่ 5 นกั จดบนั ทึก วตั ถปุ ระสงค เพ่อื ฝกใหผเู รียนมีนสิ ยั ในการจดบันทกึ ขอมูล แนวคดิ การจดบนั ทกึ ขอมลู เปนวธิ ีการท่ีทําใหบคุ คล สมารถจดจําเหตกุ ารณตาง ๆ ทผ่ี านมาไดเปนอยางดี คําชีแ้ จง 1. ใหทานเลือกประเภทของชื่อตาง ๆ ที่ทานจะเขียนมาใหไดมากที่สุด ตวั อยาง ประเภทของชอ่ื ทีข่ าพเจาเลือกคอื ช่ือสตั ว 1. หมู 2. สนุ ัข 3. แมว 4. ……………. ประเภทของชือ่ ทข่ี าพเจาเลอื กคือ ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… 2. ใหทานอธิบายสรุป ความสําคัญของการจดบันทึก วาการจดบันทึกมีความสําคัญอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….

~ 21 ~ กิจกรรมที่ 1 “คุณคาแหงตน” วตั ถุประสงค 1. เพื่อใหผเู รียนเกิดความตระหนักในคุณคาของตนเอง และสรางความภูมใิ จในตนเอง 2. เพอ่ื ใหผเู รยี นสามารถระบุปจจัยท่มี ผี ลทาํ ใหตนไดรบั ความสําเร็จ และความตองการความสําเร็จ รวมทั้งความคาดหวังที่จะไดรับความสําเร็จอีกในอนาคต แนวคดิ ทุกคนยอมมีความสามารถอยูในตนเอง การมองเห็นถึงความสําเร็จของตนจะนําไปสูการรูจักคุณคา แหงตน และถามีโอกาสนําเสนอถึงความสามารถและผลสําเร็จในชีวิตของผูอื่นไดทราบในโอกาสที่ เหมาะสม จะทาํ ใหคนเราเกดิ ความภมู ใิ จ กําลังใจเจตคตทิ ี่ดี เกดิ ความเช่ือมั่นวาตนเองจะเปนผทู ่ีสามารถ เรียนรูดวยตนเองได และความตองการประสบความสาํ เร็จ ตอไปอีกในอนาคตความรสู ึกเห็นคณุ คาในตนเอง อยางแทจริงเปนการเห็นคุณคาคุณประโยชนในตนเองเขาใจตนเอง รับผิดชอบตอทุกส่ิงทต่ี นเปนเจาของ ยอมรับความแตกตางของบุคคล เห็นคุณคาการยอมรับของผูอื่น สามารถพัฒนาตนเองนั้นในดานสวนตัว ยอมรับ ยกยอง ศรัทธาในตวั เองและผูอนื่ ทําใหเกิดความเชื่อมั่นในตนเองเปนความรูสึกไววางใจตนเอง สามารถยอมรับในจุดบกพรอง จุดออนแอของตนและพยายามแกไขรวมทั้งยอมรับความสามารถของตนเอง ในบางครั้ง และพัฒนาใหดีขึ้นเรื่อยไป เมื่อทําอะไรผิดแลวก็สามารถยอมรับไดอยางแทจริงและแกปญหาได อยางสรางสรรค คาํ ชีแ้ จง 1. ใหผเู รียนเขียนความสําเรจ็ ท่ีภาคภูมิใจในชวี ิตในชวง 5 ปทีผ่ านมา จาํ นวน 1 เรือ่ งและตอบคําถาม ในประเด็น 1. ความรูสึกเมื่อประสบความสําเร็จ 2. ปจจัยทม่ี ีผลทําใหตนไดรับความสาํ เรจ็ 2. ใหผูเรียนเขียนเร่ืองที่มีความมงุ หวงั ทจ่ี ะใหสําเร็จในอนาคตและ คาดวาจะทาํ ไดจริงจํานวน 1 เร่อื ง และตอบคําถามในประเด็น “ปจจัยอะไรบางที่จะทําใหความคาดหวังไดรับความสําเร็จในอนาคต” บทสรุปของกจิ กรรม ความรูสึกเห็นคุณคาในตัวเองของบุคคลที่มีตอตนเองวามีคุณคามีความสามารถในการกระทําสิ่งตาง ๆ ใหประสบความสาํ เร็จ มคี วามเช่ือม่ันนับถอื ตนเอง และการมคี วามมนั่ ใจในการเรียนรูดวยตนเอง ความสามารถจัดเวลาในการเรียนรูได มีระเบียบวินัยตอตนเองมคี วามรใู นดานความจาํ เปนในการเรียนรูและ แหลงทรัพยากรการเรียนรูมคี วามคดิ เห็นตอตนเองเปนผูท่ีมีความอยากรู อยากเหน็ แบบประเมินตนเองหลังเรียน บทสะทอนทีไ่ ดจากการเรยี นรู

~ 22 ~ 1. ส่ิงท่ที านประทบั ใจในการเรยี นรสู าระท่ี 1 การเรียนรูดวยตนเอง ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 2. ปญหา/ อุปสรรคทพี่ บในการเรียนรูสาระที่ 1 การเรยี นรูดวยตนเอง ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 3. ขอเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… แบบวัดระดับการเรยี นดวยตนเองของผเู รยี น คําชแ้ี จง แบบวดั นเ้ี ปนแบบวัดระดบั การเรยี นดวยตนเองของผเู รยี น มจี าํ นวน 7 ขอ โปรดทําเครื่องหมาย √ ลงในชองสี่เหลี่ยมที่ตรงกับความสามารถในการเรียนรูดวยตนเองตามความ เปนจริงของทาน 1. การวนิ จิ ฉยั ความตองการเนอ้ื หาในการเรียน 5. การดาํ เนินการเรยี น ผเู รยี นไดเรียนเน้ือหาตามคําอธบิ ายรายวชิ าเทาน้ัน ผูเรียนดําเนินการเรียนตามแนวทางที่ครู กาํ หนด ครนู ําเสนอเนือ้ หาอื่น นอกเหนอื จากคาํ อธบิ ายรายวชิ า ผูเรียนดําเนินการเรียนตามแนวทางที่ ครแู ลวใหผูเรยี นเลือกเรียนเพ่ิมเติม แลวใหผเู รียนปรับ

~ 23 ~ ผูเรียนไดเสนอเน้ือหาอ่ืนเพื่อเรียนเพิ่มเติม ผเู รยี นดําเนินการเรยี นตามแนวทางทผ่ี เู รียน นอกเหนอื จากคาํ อธิบายรายวิชา รวมกนั กาํ หนดกบั ครู ผเู รยี นเปนผกู าํ หนดเนอ้ี หาในการเรยี นเอง ผูเรยี นดําเนินการเรียนตามกําหนดของ ตนเอง 2. การวนิ ิจฉัยตามความตองการวิธีการเรียน 6. การแสวงหาแหลงทรัพยากรการเรียน ครเู ปนผกู ําหนดวาจะจัดการเรยี นการสอนวธิ ใี ด ครเู ปนผจู ัดการแหลงทรพั ยากรการเรียนให ผูเรียน ครนู ําเสนอวธิ ีการเรียนการสอน แลวใหผูเรยี นเลอื ก ครูเปนผูจัดหาแหลงทรพั ยากรการเรยี น ผูเรยี นรวมกบั ครูกําหนดวิธีการเรียนรู แลวใหผเู รยี นเลือก ผเู รียนเปนผูกาํ หนดวธิ ีการเรียนรูเอง ผูเรียนรวมกับครูหาแหลงทรัพยากรการเรียน รวมกัน ผูเรยี นเปนผูหาแหลงทรัพยากรการเรียนเอง 3. การกําหนดจุดมุงหมายในการเรียน 7. การประเมินการเรยี น ครูเปนผกู าํ หนดจุดมุงหมายในการเรียน ครเู ปนผปู ระเมินการเรียนของผเู รียน ครนู าํ เสนอจุดมงุ หมายในการเรยี นแลวใหผเู รียนเลอื ก ครูเปนผูประเมินการเรยี นของผเู รยี นเปนสวน ใหญ ผเู รยี นรวมกับครูกําหนดจุดมุงหมายในการเรยี น และเปดโอกาสใหนักศึกษาไดประเมินการเรียน ของตนเองดวย 4. การวางแผนการเรยี น มีการประเมนิ โดยครู ตัวผูเรียนเองและเพือ่ น ผเู รยี นผูเรยี นไมไดเขยี นแผนการเรียน ผเู รียนเปนผปู ระเมนิ การเรยี นของตนเอง ครูนําเสนอแผนการเรยี นแลวใหผูเรยี นนาํ ไปปรบั แก กระบวนการเรียนรทู ่เี ปนการเรียนรดู วยตนเอง ผูเรียนรวมกับครูวางแผนการเรียน มคี วามจาํ เปนทจี่ ะตองอาศัยทักษะและความรู ผูเรียนวางแผนการเรียนเอง โดยการเขียนสญั ญาการเรียน บางอยาง ผูเรียนควรไดมีการตรวจสอบพฤตกิ รรม ท่ีระบจุ ุดมงุ หมายการเรียน วิธกี ารเรียนแหลงทรพั ยากร ทจี่ ําเปนสําหรับผเู รยี นทจ่ี ะเรียนรดู วยตนเอง การเรียน วิธีการประเมินการเรียนและวันที่จะทํางานเสร็จ

~ 24 ~ บทที่ 2 การใชแหลงเรียนรู สาระสําคัญ การเรียนรูจากสิ่งแวดลอมในชุมชนทีม่ ีองคความรูทีเ่ รียกวาแหลงเรียนรูตาง ๆ ทําให ผูเรียนสามารถรูถึงการสัง่ สมความรู ประสบการณทีผ่ านมาจากแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ เรียนรูไดเทา ทันความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เกิดโลกทัศนกวางขวางมากยิง่ ขึน้ กวาการเรียนจากการพบกลุมในหอง หรอื การเรยี นรใู นรูปแบบอน่ื ๆ ผลการเรียนรูทคี่ าดหวัง 1. ผูเรียนสามารถบอกประเภทคุณลักษณะของแหลงเรียนรูและเลือกใชแหลงเรียนรู ไดตามความเหมาะสม 2. ผเู รียนเหน็ คุณคาแหลงเรยี นรปู ระประเภทตาง ๆ 3. ผูเรยี นสามารถสงั เกต ทําตาม กฎ กติกา การใชแหลงเรียนรู ขอบขายเนอ้ื หา เรอื่ งท่ี 1 ความหมายและความสําคัญของแหลงเรียนรู เร่ืองที่ 2 ประวัติความเปนมาของแหลงเรียนรู เรอื่ งที่ 3 แหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ เรือ่ งที่ 4 การใชแหลงเรียนรูทส่ี าํ คญั เรือ่ งที่ 5 การเขียนรายงานการคนควา

~ 25 ~ เร่อื งท่ี 1 ความหมายและความสําคัญของแหลงเรียนรู ความรูมีเกิดใหมและพัฒนาตลอดเวลาประกอบกับเทคโนโลยีสารสนเทศทําใหเผยแพรสือ่ สาร ถึงกันไดอยางรวดเร็วตอเนื่องและตลอดเวลา มนุษยจึงจําเปนตองเรียนรูสิง่ ใหม ๆ ที่เกิดขึน้ และปรับตัว ใหสอดคลองกลมกลืนกับสังคมที่ไมหยดุ นง่ิ เพ่อื ใหสามารถปรับตวั และดํารงชีวติ ไดอยางมีความสุข การ เรียนรูในหองเรียนยอมไมทันเหตุการณและเพียงพอ ตองมีการเรียนรูทุกรูปแบบดําเนินไปพรอม ๆ กัน โดยเฉพาะการเรียนรูจากสิ่งแวดลอมในชุมชนที่มีสาระเนือ้ หาที่เปนขอมูลความรูหรือองคความรู เปน แหลงใหความรู ประสบการณสิ่งแปลกใหม ที่เอือ้ ตอการเรียนรู จึงจะทําใหเรียนรูไดเทาทันความ เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ แหลงสถานที่ บริเวณ ทีม่ ีองคความรูทีม่ นุษยสามารถเรียนรูไดเรียกวา “แหลง เรยี นรู” ความหมายของ “แหลงเรียนรู” แหลง หมายถงึ ถิ่น ท่ีอยู บรเิ วณ ศนู ยรวม บอเกดิ แหง ท่ี เรยี นรู หมายถึง เขาใจความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยประสบการณ แหลงเรียนรู หมายถึง ถิน่ ทีอ่ ยู บริเวณ ศูนยรวม บอเกิด แหง ที่ ทีม่ ีสาระเนือ้ หาทีเ่ ปนขอมูล ความรูหรือองคความรู กจิ กรรม ใหผเู รยี นหาความหมายของ “แหลงเรียนรู” จากหนังสือในหองสมุดและอินเทอรเน็ต คนละ 1 ความหมาย แลวนํามาแบงกลุม ๆ ละ 5-6 คน อภิปรายและสรุปความหมายเปนของ กลมุ แลวรายงานหนาช้นั เรียน

~ 26 ~ ความสําคัญของแหลงเรียนรู แหลงเรียนรูมีบทบาทสําคัญอยางยิง่ ในการชวยพัฒนาคุณภาพของมนุษยในยุคความรูที่เกิดขึ้น ใหมๆ และเปลีย่ นแปลงอยางรวดเรว็ ดังตอไปนี้ 1. เปนแหลงทม่ี ีสาระเนอื้ หา ที่เปนขอมูลความรูใหมนุษยเกิดโลกทัศนทีก่ วางไกลกวาเดิม ชวย ใหเกิดความสนใจในเรื่องสําคัญ ชวยยกระดับความทะเยอทะยานของผูศึกษาจากการนําเสนอสาระ ความรู หรือภาพในอุดมคติ หรือเสนอผลสําเร็จและความกาวหนาของงานหรือชิ้นงาน หรือเทคโนโลยี หรือบคุ คลตาง ๆ ของแหลงเรยี นรู 2. เปนสื่อการเรียนรูสมัยใหมทีใ่ หทัง้ สาระ ความรู กอใหเกิดทักษะและชวยใหเกิดการเรียนรู ไดเรว็ และมากย่ิงขึน้ 3. เปนแหลงชวยเสรมิ การเรยี นรขู องการศึกษาประเภทตาง ๆ ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4. เปนแหลงการเรยี นรูตลอดชีวติ ที่บุคคลทุกเพศ วัย ทุกระดับความรู ความสามารถ เรียนรูได ดวยตนเองตลอดเวลาโดยไมจาํ กดั 5. เปนแหลงที่มนุษยสามารถเขาไปปฏิสัมพันธในการหาความรูจากแหลงกาํ เนดิ หรอื แหลงตนตอของความรู เชน จากโบราณสถาน โบราณวัตถุ พันธุไม พันธุสัตว สภาพชีวิตความเปนอยู ตามธรรมชาติของสัตว เปนตน 6. เปนแหลงท่มี นษุ ยสามารถเขาไปปฏสิ ัมพนั ธใหเกดิ ประสบการณตรง หรือ ลงมอื ปฏิบตั ิไดจริง เชน การประดษิ ฐเครื่องใชตาง ๆ การซอมเครื่องยนต เปนตน ชวยกระตุนใหเกิดการสนใจ ความใฝรู 7. เปนแหลงทมี่ นุษยสามารถเขาไปปฏิสมั พันธใหเกิดความรูเกย่ี วกบั วทิ ยาการใหม ๆ ที่ ไดรับการคิดคนขึน้ และยังไมมีของจริงใหเห็น เชน การดูภาพยนตร วีดีทัศน หรือสือ่ อื่น ๆ ในเรือ่ ง เก่ียวกับการประดษิ ฐคิดคนส่งิ ตาง ๆ ขนึ้ มาใหม 8. เปนแหลงสงเสรมิ ความสมั พนั ธอนั ดรี ะหวางคนในทองถิน่ กบั ผเู ขาศึกษา ในการทํา กิจกรรมรวมกัน ชวยสรางความรูสึกของการเปนสวนหนึง่ ของการมีสวนรวม เกิดความตระหนัก และ เห็นคณุ คาของแหลงเรียนรู 9. เปนส่ิงทช่ี วยเปล่ียนทัศนคติ คานิยมใหเกิดการยอมรับส่ิงใหม แนวความคดิ ใหม เกิด จินตนาการและความคิดสรางสรรคกับผูเรียน 10. เปนการประหยดั เงินของผูเรียนในการใชแหลงเรียนรูของชมุ ชนใหเกิดประโยชนสงู สดุ กิจกรรม ใหผูเรยี นแบงกลมุ ๆ ละ 5 – 10 คน อภิปรายถงึ ความสาํ คญั ของแหลงเรียนรูและรายงานเปนกลุมหนาชัน้ และ สงรายงานครู

~ 27 ~ เรือ่ งที่ 2 ประวัตคิ วามเปนมาของแหลงเรียนรู นับต้งั แตสมัยสโุ ขทัยมีแหลงเรยี นรูไดแก บาน วัด และวัง ผูถายทอดความรูในบานมีพอ แม และ ผใู หญในบาน ในวัดจะมพี ระ และในวงั จะมผี ูรู นักปราชญ ราชบณั ฑติ ในดานตาง ๆ สมัยพอขุนรามคําแหง ไดทรงสรางพระแทนมนังคศิลาไวในดงตาลเพือ่ ใหเปนสถานที่สอน หนังสือและธรรมะแกขาราชการการและประชาชนทัว่ ไป เปนที่นัดพบระหวางผูรูและผูใฝรู เปนการจัด สิ่งแวดลอมในลกั ษณะชมุ ชนแหงการเรยี นรโู ดยมสี ื่อความรูท่ีใชกันไดแก ใบลาน สมุดไทยและหลักศิลา จารกึ สมัยกรุงศรีอยุธยา แหลงความรูไดพัฒนาอยางรวดเร็ว นอกจากมีบานและวัดและวังแลว ในสมัย สมเด็จพระนารายณมหาราช มีการสรางโบสถฝรั่งหลายแหง มีการตัง้ โรงเรียนมิชชันนารี มีการตัง้ โรงเรียนสอนสามเณร ในการเรียนรู นอกจากมีครูเปนผูสอนแลว ยังมีการเลานิทานและวรรณกรรมเปน สอ่ื ในการเรยี นรูอยางแพรหลาย สมัยกรงุ รัตนโกสนิ ทรตอนตน แหลงความรไู ดพฒั นาอยางรวดเร็ว มีการต้ังโรงพิมพข้ึนมาหลาย แหง มีการพิมพหนังสือพิมพฉบับแรกของไทย มีการตัง้ โรงทาน มีพระธรรมเทศนาพรอมกับสอน หนังสือวิชาการตาง ๆ แกประชาชนทั้งหลาย มีการพัฒนาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วดั โพธ์ิ) ใหเปน มหาวิทยาลัยเปดแหงแรกของประเทศไทยโดยการจารึกวิชาหนังสือ วิชาแพทย วิชาตาง ๆ ดาราศาสตร และวิชาทั่วไปลงบนแผนศิลาประดับไวตามกําแพงและบริเวณวัด มีทั้งภาพเขียน รูปปนและพืชสมุนไพร ตาง ๆ ประกอบคําอธิบาย ทั้งนี้เพื่อใหประชาชนทั่วไปไดศึกษาดวยตนเอง สมัยรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทรมี การปฏิรูปการจัดกิจกรรมการศึกษาครัง้ ยิง่ ใหญ แหลงความรูทีม่ ีอยูในทองถิน่ ซึง่ เปนการเรียนรูแบบ อัธยาศัยหรือแบบไมเปนทางการนั้น ไมเพียงพอตอการเรียนรูทีจ่ ะปรับตัวรับกับระบบจักรวรรดินิยม ตะวันตก จึงมีการจัดตัง้ โรงเรียนแบบตะวันตกขึ้นเปนครัง้ แรกของประเทศ และเปนแหลงเรียนรูที่มี บทบาทหลักในการใหการศึกษาแกคนไทย สวนแหลงความรูประเภทสื่อไดมีการพัฒนาหนังสือ แบบเรยี น หนงั สอื พมิ พรายวนั จาํ นวนเกอื บ 30 ฉบับ มีหนังสือนิตยสาร วารสารตาง ๆ มีภาพยนตร และมี หองสมุด นอกจากนี้ยังมีการใชภูมิปญญาทองถิ่นเผยแพรความรูอีกดวย แหลงความรูเหลานีไ้ ดรับการ พัฒนาเร่ือย ๆ ปจจุบันมีสือ่ หลากหลายประเภทมากยิ่งขึน้ โดยเฉพาะสือ่ อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร โทรศัพทเคลือ่ นที่เปนแหลงความรูทีส่ ามารถเรียนรูไดทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่ไดทัว่ โลก เพราะมีการ พฒั นาระบบดาวเทยี ม มกี ารพัฒนาระบบโทรทัศน วทิ ยุกระจายเสียง วดี ิทัศน ซดี ี ตาง ๆ อยางท่ีปรากฏใน ปจจบุ นั

~ 28 ~ กจิ กรรม ใบงานการสาํ รวจแหลงเรยี นรู 1. ชื่อแหลงเรยี นรู ............................................................................................................................... 2. ที่ตัง้ /ท่อี ยู เลขที่ .............. หมทู ่ี ................ ชื่อหมบู าน ................................................................... ตาํ บล ..................... อําเภอ....................................... จงั หวดั ......................................................... โทรศัพทบาน .............................โทรศัพทเคล่ือนที่ ............................ โทรสาร ........................... เวบ็ ไซต (ถามี)................................................................................................................................ 3. เจาของ/ผูครอบครอง/ผูจดั การแหลงเรยี นรู สวนราชการ วดั โบสถ มสั ยดิ เอกชน ชมุ ชน องคกรชมุ ชน อนื่ ๆ ............................................ (ระบุ) 4. ช่ือบุคคลของแหลงเรียนรสู าํ หรบั ติดตอ ........................................................................................ สถานท่ีตดิ ตอ .......................................................... โทรศพั ท ...................................................... 5. ประเภทของแหลงเรียนรู kหองสมดุ kพพิ ธิ ภัณฑ kโบราณสถาน kศาสนสถาน kอนสุ าวรีย kหอศิลป kศนู ยวฒั นธรรม kศูนยขอมูลทองถ่นิ kแหลงหัตถกรรม kแหลงเรยี นรศู ลิ ปะ kแหลงเรียนรใู นทองถิ่น kแหลงฝกอบรม kอทุ ยานวทิ ยาศาสตร kศนู ยวทิ ยาศาสตร kพพิ ธิ ภัณฑความกาวหนาทางเทคโนโลยี kศูนยการเรียนรชู มุ ชน kหมูบาน/ชมุ ชนโบราณ kศนู ยศกึ ษาตามแนวพระราชดําริฯ kสวนสตั ว kสวนพฤกษศาสตร kสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ kสวนสาธารณะ kสวนเกษตร kสวนสนกุ kสวนสมนุ ไพร kอทุ ยาน kสวนอทุ ยาน kแหลงทองเที่ยว kสอ่ื สารมวลชน kส่ือพ้นื บาน kโรงละคร kศูนยกฬี า kแหลงนนั ทนาการ kศนู ยการคา/ตลาด kสถานประกอบการ kสถาบนั การศกึ ษา kศูนยขอมูล kอ่ืน ๆ (โปรดระบุ) .......................................................................................................... 6. ความรทู สี่ ามารถเรยี นไดจากแหลงเรยี นรูแหงน้ี (เรียงตามลําดบั ความสําคญั และความโดดเดน 3 ลําดบั ) 1........................................... 2. ................................................3……………..………………. ผบู นั ทกึ ..................................... วันที.่ ........... เดือน ................................. พ.ศ. ….…………

~ 29 ~ เรอ่ื งที่ 3 แหลงเรียนรปู ระเภทตาง ๆ การแบงประเภทของแหลงเรียนรู มีผูรูไดจัดประเภทของแหลงเรียนรูแตกตางกันไป ทั้งนี้ขึน้ อยู กับปจจัยที่ใชเปนเกณฑในการแบง อาทิ แหลงกําเนิด ลักษณะของแหลงเรียนรู วัตถุประสงคการจัดตั้ง และกลุมเปาหมายของแหลงเรียนรู แหลงเรยี นรแู บงตามลักษณะกายภาพและวัตถุประสงค เปน 5 กลมุ ดงั น้ี 1. กลุมบรกิ ารขอมลู ไดแก หองสมุด อทุ ยานวิทยาศาสตร ศนู ยวิทยาศาสตร ศนู ยการเรยี น สถานประกอบการ 2. กลุมงานศิลปวัฒนธรรมประวัติศาสตร ไดแก พิพิธภัณฑ อุทยานประวัติศาสตร อนุสรณ สถาน อนุสาวรีย ศนู ยวฒั นธรรม หอศลิ ป ศาสนสถาน เปนตน 3. กลุมขอมูลทองถ่ิน ไดแก ภูมิปญญา ปราชญชาวบาน สือ่ พ้ืนบาน แหลงทองเทย่ี ว 4. กลมุ สอื่ ไดแก วทิ ยุ วทิ ยุชมุ ชน หอกระจายขาว โทรทศั น เคเบลิ ทวี ี ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส อนิ เทอรเนต็ หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส (e-book) 5. กลุมสนั ทนาการ ไดแก ศูนยกีฬา สวนสาธารณะ สวนพฤษศาสตร ศนู ยนนั ทนาการ เปนตน ประเภทของแหลงเรียนรู จาํ แนกตามลักษณะ มี 6 ประเภท ดังน้ี 1. แหลงเรียนรูประเภทบุคคล หมายถึง บุคคลที่มีความรู ความสามารถในดานตาง ๆ ที่สามารถ ถายทอดความรูที่ตนมีอยูใหผูสนใจหรือผูตองการเรียนรู ไดแก บุคคลทีม่ ีทักษะความสามารถ ความเชีย่ วชาญในสาขาวิชาชีพตาง ๆ รวมทัง้ ผูอาวุโสที่มีประสบการณ พัฒนาเปนภูมิปญญาทองถิน่ ปราชญชาวบาน ภูมิปญญาชาวบาน และภูมิปญญาไทย 2. แหลงเรียนรูประเภทธรรมชาติ หมายถึง สงิ่ ตาง ๆทีเ่ กิดข้นึ โดยธรรมชาติและใหประโยชนตอ มนษุ ย เชน ดิน นํ้า อากาศ พืช สัตว ปาไม แรธาตุ เปนตน แหลงเรยี นรปู ระเภทนี้ เชน อุทยาน วน อุทยาน เขตรักษาพนั ธสุ ัตวปา สวนพฤกษศาสตร ศูนยศึกษาธรรมชาติ 3. แหลงเรยี นรูประเภทวัตถุและสถานที่ หมายถงึ อาคาร สง่ิ กอสราง วสั ดอุ ปุ กรณ และสง่ิ ตาง ๆ เชน หองสมุด ศาสนสถาน ศูนยการเรียน พิพิธภัณฑ สถานประกอบการ ตลาด นิทรรศการ สถานที่ทางประวัติศาสตร เปนตน 4. แหลงเรยี นรูประเภทสื่อ หมายถงึ สง่ิ ทตี่ ิดตอใหถึงกนั หรือชกั นาํ ใหรูจักกนั ทําหนาทเี่ ปน สือ่ กลางในการถายทอด เนือ้ หา ความรู ทักษะและเจตคติ ไปสูทุกพืน้ ทีข่ องโลกอยางทัว่ ถึงและ ตอเน่ือง ทง้ั ส่ือส่งิ พมิ พและสอื่ อิเลก็ ทรอนิกสที่มที งั้ ภาพและเสยี ง 5. แหลงเรียนรูประเภทเทคนิคสิ่งประดิษฐคิดคน หมายถึง สิ่งที่แสดงถึงความกาวหนาทาง

~ 30 ~ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมดานตาง ๆ ซึง่ เปนสิ่งประดิษฐคิดคนหรือทําการพัฒนาปรับปรุง ชวยใหมนุษย เรียนรูถึงความกาวหนา เกิดจินตนาการแรงบันดาลใจในการสรางสรรค ทัง้ ความคิด และสิง่ ประดิษฐตาง ๆ 6. แหลงเรียนรปู ระเภทกิจกรรม หมายถึง การปฏบิ ตั ิการดานวัฒนธรรมประเพณตี าง ๆ การ ปฏิบัติงานของหนวยราชการ ตลอดจนความเคลือ่ นไหวเพือ่ แกปญหาและปรับปรุงพัฒนาสภาพตาง ๆ ในทองถิน่ การเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ เหลานี้ จะทําใหเกิดการเรียนรูทีเ่ ปนรูปธรรม อาทิ ประเพณีงานทอดกฐิน งานบุญ การรณรงคปองกันยาเสพติด การสงเสริมการเลือกตั้งตามระบอบ ประชาธิปไตย การรณรงคความปลอดภัยของเด็กและสตรีในทองถิ่น ภาพจาก http://play.kapook.com/ ภาพจาก http://www.moohin.com ภาพจาก http://www.kaoyai.info/ 2 กจิ กรรม ใหผูเรียนสาํ รวจแหลงเรียนรูภายในชมุ ชน ตาํ บล อาํ เภอ และจดั แบงประเภทตามลักษณะ 6 ประเภท จัดทําเปนรายงานสงครู

~ 31 ~ เรื่องท่ี 4 การใชแหลงเรยี นรูทีส่ ําคญั แหลงเรียนรู ในทน่ี จ้ี ะกลาวถึงเฉพาะแหลงเรยี นรใู นชุมชนท่ีใกลตวั ผเู รยี นมากทสี่ ดุ 3 ประเภท คอื 1. แหลงเรียนรปู ระเภทบคุ คล 2. ศูนยการเรียนชุมชน(สังกดั สาํ นักงาน กศน.) 3. หองสมุดประชาชน แหลงเรียนรปู ระเภทบุคคล ภูมิปญญาไทยเกิดขึน้ จากความสัมพันธระหวางคนกับธรรมชาติ คนกับบุคคลอืน่ และคนกับสิง่ เหนือธรรมชาติ ทําใหเกิดความคิด ความเชือ่ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และพิธีกรรมทีส่ ืบทอดตอ ๆ กัน มา คนไทยควรคํานึงถึงคุณคาของภูมิปญญาไทย ยกยองสงเสริมผูทรงภูมิปญญา สามารถเผยแพรความรู และดํารงรักษาเอกลักษณ ศกั ดิศ์ รขี องชาติไทยไว ประเทศไทยไดประกาศยกยอง ภูมิปญญาไทยอยางตอเนื่อง เชน ศิลปนแหงชาติ ผูมีผลงานดีเดน ทางวัฒนธรรม และคนดีศรีสังคม เปนตน ปราชญไทยที่มีผลงานดีเดนทางวัฒนธรรม ไดรับการยกยอง จากองคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ ยูเนสโก ไดแก พระบาทสมเด็จพระ พุทธเลิศหลานภาลัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระ ยานริศรานุวัติวงศ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสุนทรภู เปนตน การถายทอดภูมิปญญาไทย มีความเชื่อศรัทธาสืบตอกันมาเปนพื้นฐาน ประชาชนชาวไทยจึงควร สนใจศึกษาองคความรู ความคิด ความเชื่อที่ทรงคุณคานี้ และธํารงรักษาไวใหคงอยูคชู าตไิ ทย สุนทรภู สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ภาพจาก http://social-people.exteen.com/ ภาพจาก www.thaistudy.chula.ac.th

~ 32 ~ ความหมาย ภูมปิ ญญาไทย หมายถึง องคความรู ความสามารถ และทักษะของคนไทย อันเกิดจากการสัง่ สม ประสบการณที่ผานกระบวนการเรียนรู เลือกสรร ปรุงแตง พัฒนา และถายทอดสืบตอกันมา เพือ่ ใช แกปญหาและพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยใหสมดุลกับสภาพแวดลอมและเหมาะสมกับยุคสมัย ภูมิปญญาชาวบานหรือภูมิปญญาทองถิน่ หมายถึง ความรูของชาวบาน ซึง่ เรียนรูจากปูยา ตา ยาย ญาติพีน่ อง และความเฉลียวฉลาดของแตละคน หรือผูมีความรูในหมูบาน ในทองถิน่ ตาง ๆ ทีใ่ ชใน การดําเนินชีวิตใหเปนสุข ภูมิปญญาชาวบานเปนเรื่องการทํามาหากิน เชน การจับสัตว การปลูกพืช การ เลย้ี งสัตว การทอผา การทําเครื่องมือการเกษตร เปนตน ครูภูมิปญญา หมายถึง ผูทรงภูมิปญญาดานใดดานหนึ่ง หรือหลายดานและสืบสานภูมิปญญา ดังกลาวอยางตอเนือ่ งจนเปนที่ยอมรับของสังคมและชุมชน และไดมีการยกยองใหเปน “ครูภูมิปญญา ไทย” เพือ่ ทาํ หนาทถี่ ายทอดและสืบสานภมู ิปญญาในการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย ครทู องใส ทับถนน ครูภมู ปิ ญญาไทย ดานศิลปกรรม ดนตรีพน้ื เมือง ภาพจาก http://www.onsorn.com/tongsai.html ความสําคัญ ภมู ปิ ญญา เปนฐานรากสาํ คญั และเปนพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาคน เศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และสิง่ แวดลอม คติและความสําคัญของภูมิปญญา ทีบ่ รรพบุรุษไทยไดสรางสรรคและสืบ ทอดมาอยางตอเนื่องจากอดีตสูปจจุบัน ทําใหคนในชาติเกิดความรักและความภาคภูมิใจทีจ่ ะรวมใจสืบ สานตอไปในอนาคต เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปตยกรรม ประเพณีไทย การมีน้าํ ใจ ศักยภาพ ในการประสานผลประโยชน เปนตน ภูมิปญญาไทยจึงมีคุณคาและความสําคัญดังนี้ 1. ภูมิปญญาไทยชวยสรางชาติใหเปนปกแผน พระมหากษัตริยไทยไดใชภูมิปญญาสรางความเปนปกแผนใหแกประเทศชาติมาโดยตลอด ตั้งแตสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช พระองคทรงปกครองประชาชนดวยพระเมตตาแบบพอปกครองลูก สมัยพระนเรศวร ทรงใชภูมิปญญากระทํายุทธหัตถีจนชนะขาศึกศัตรู และทรงกอบกูเอกราช ของชาติไทยคืนมาได

~ 33 ~ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปจจุบัน พระองคทรงใชภูมิปญญาสราง คุณประโยชนตอประเทศชาติและพสกนิกรมากมายเหลือคณานับ ทรงใชพระปรีชาสามารถแกไข วิกฤตการณของบานเมืองใหรอดพนจากภัยพิบัติหลายครั้ง แมแตดานการเกษตร พระองคได พระราชทานทฤษฎีใหมใหแกประชาชน ทัง้ ดานการเกษตรแบบสมดุลและยัง่ ยืน การฟนฟู สภาพแวดลอมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นําความสงบรวมเย็นมาสูพสกนิกร 2. ภมู ิปญญาไทยสรางความภาคภมู ใิ จและศกั ด์ิศรเี กยี รติภูมิ คนไทยในอดีตมีความสามารถเปนที่ยอมรับของนานาอารยประเทศ เชน นายขนมตมเปน นักมวยทีม่ ีฝมือถือวาเปนศิลปะชัน้ เยี่ยมเปนทีน่ ิยมในหมูคนไทยและชาวตางชาติ ปจจุบันมีคายมวยไทย ท่วั โลกไมตํ่ากวา 30,000 แหง ใชกติกาของมวยไทย การไหวครูกอนชกถือเปนมรดกภูมิปญญาไทยที่โดด เดน นอกจากนี้ยังมีมรดกภูมิปญญาทางภาษาและวรรณกรรมที่มีความไพเราะจนไดรับการแปลเปนภาษา ตางประเทศหลายเรือ่ ง มรดกภูมิปญญาดานอาหารไทย ซึง่ เปนทีร่ ูจักและเปนทีน่ ิยมไปทัว่ โลก เชนเดยี วกนั ภาพจาก nattafishing.exteen.com ภาพจากwww.212cafe.com 3. ภูมิปญญาไทยสามารถปรับประยุกตหลักธรรมคําสอนทางศาสนามาใชกับวิถีชีวิตไดอยาง เหมาะสมคนไทยสวนใหญนบั ถือศาสนาพทุ ธ มนี สิ ัยออนนอมถอมตน เออ้ื เฟอเผอ่ื แผ ประนีประนอม รกั สงบ ใจเยน็ มีความอดทน ใหอภัยแกผสู ํานกึ ผิด ดาํ รงชวี ิตอยางเรยี บงายปกติสุข คนในชุมชนพ่ึงพากัน ทั้งหมดนี้สืบเนื่องมาจากหลักธรรมคําสอนทางศาสนา และสามารถดําเนินกุศโลบายดานตางประเทศ จน ทําใหชาวพุทธทัว่ โลกยกยองใหประเทศไทยเปนผูนําทางศาสนาและเปนที่ตัง้ สํานักงานใหญองคการ พุทธศาสนิกสัมพนั ธแหงโลก (พสล.) ตั้งอยเู ยือ้ งกบั อุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร 4. ภูมิปญญาไทยสรางสมดุลระหวางคนในสังคมและธรรมชาติไดอยางย่ังยนื ภูมิปญญาไทยมีความเดนชัดในเรือ่ งการยอมรับนับถือและการใหความสําคัญแกคน สังคม และธรรมชาติอยางยิง่ สิง่ ทีแ่ สดงใหเห็นไดอยางชัดเจนมีมากมาย เชน ประเพณีไทยซึง่ มีตลอดปทัง้ 12 เดือน ลวนเคารพคุณคาของธรรมชาติ เชน ประเพณีสงกรานตเปนประเพณีที่ทําใหฤดูรอน ซึง่ มีอากาศ รอน ภูมิปญญาไทยจึงมีวิธีคลายรอนโดยการรดน้าํ ดําหัว สวนประเพณีลอยกระทง มีคุณคาอยูทีก่ ารบูชา ระลกึ ถงึ

~ 34 ~ บุญคุณของน้ําที่มีความสําคัญในการหลอเลี้ยงชีวิตของคน พืช และสัตวใหไดใชทัง้ อุปโภคและบริโภค จากตัวอยางดังกลาวลวนเปนความสัมพันธระหวางคนกับสังคมและธรรมชาติ 5. ภมู ิปญญาไทย เปล่ียนแปลง ปรับปรงุ ไดตามยคุ สมัย แมวากาลเวลาจะผานไป ความรูสมัยใหมจะหลัง่ ไหลเขามามากมาย แตภูมิปญญาไทยก็ สามารถปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับยุคสมัย เชน การรูจักนําเครื่องยนตมาติดตัง้ กับเรือ ใสใบพัดเปนหาง เสือ รูจักการทําเกษตรแบบผสมผสาน พลิกฟนธรรมชาติใหอุดมสมบูรณ การรูจักสรางปะการังเพื่อให ปลาอาศัยวางไขและแพรพันธุ เปนตน ถือเปนการใชภูมิปญญามาปรับปรุงประยุกตใชไดตามยุคสมัย ประเภทของภูมิปญญา การจัดแบงประเภท/สาขาของภูมิปญญาไทยจากการศึกษาพบวา ไดมีการกําหนดสาขาภูมิปญญา ไทยไวอยางหลากหลายขึ้นอยูกับวัตถุประสงคและหลักเกณฑตาง ๆ ซึง่ นักวิชาการแตละทานไดกําหนด ไวในหนงั สือสารานกุ รมไทย โดยไดแบงภูมิปญญาไทยไดเปน 10 สาขา ดังนี้ 1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองคความรู ทักษะ และเทคนิค ดานการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณคาดั้งเดิม ซึง่ สามารถพึ่งพาตนเองใน ภาวการณตาง ๆ เชน การทําการเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไรนาสวนผสมและ สวนผสมผสาน การแกปญหาการเกษตรดานการตลาด การแกปญหาดานการผลิต การแกไขปญหาโรค และแมลง และการรูจักปรับใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการเกษตร เปนตน 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การรูจักประยุกตใชเทคโนโลยีสมัยใหมในการ แปรรูปผลิตผล เพื่อชะลอการนําเขา เพือ่ แกปญหาดานการบริโภคอยางปลอดภัย ประหยัดและเปนธรรม อันเปนกระบวนการทีท่ ําใหชุมชนทองถิน่ สามารถพึง่ พาตนเองทางเศรษฐกิจได ตลอดทัง้ การผลิตและ การจําหนายผลิตผลทางหัตถกรรม เชน การรวมกลุมของกลุมโรงงานยางพารา กลุมโรงสี กลุมหัตถกรรม เปนตน 3. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดานการสะสม บริการกองทุนและธุรกิจในชุมชนทัง้ ที่เปนเงินตราและโภคทรัพยเพือ่ สงเสริมชีวิตความเปนอยูของ สมาชิกในชุมชน เชน การจัดการเรือ่ งกองทุนของชุมชนในรูปของสหกรณออมทรัพยและธนาคาร หมูบาน เปนตน 4. สาขาการแพทยแผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการปองกันและรักษาสุขภาพของ คนในชมุ ชน โดยเนนใหชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองดานสุขภาพแผนโบราณไทย เปนตน

~ 35 ~ ภาพจาก gotoknow.org ภาพจาก www.thaigoodview.com 3 5. สาขาสวัสดิการ หมายถึง ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของ คนใหเกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เชน การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาล ของชุมชน การจัดระบบสวัสดิการบริการในชุมชน การจัดระบบสิ่งแวดลอมในชุมชน เปนตน 6. สาขาศิลปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางดานศิลปะสาขาตาง ๆ เชน จิตกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทัศนศิลป ศิลปะมวยไทย เปนตน ภาพจาก www.polyboon.com ภาพจากwww.sahavicha.com 7. สาขาการจัดการองคกร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดําเนินงานขององคกร ชุมชนตาง ๆ ใหสามารถพัฒนา และบริหารองคกรของตนเองไดตามบทบาทและหนาที่ขององคกร เชน การจัดการองคกรของกลุมแมบาน กลมุ ออมทรัพย กลมุ ประมงพื้นบาน เปนตน 8. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง ความสามารถผลิตผลงานเกีย่ วกับดานภาษา ทัง้ ภาษา ถิน่ ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใชภาษา ตลอดทั้งดานวรรณกรรมทุกประเภททุกประเภท เชน การ จัดทําสารานุกรม ภาษาถิ่น การปริวรรตหนังสือโบราณ การฟนฟูการเรียนการสอนภาษาถิ่นของทองถิน่ ตาง ๆ เปนตน 9. สาขาศาสนาประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกตและปรับใชหลักธรรมคําสอนทาง ศาสนา

~ 36 ~ ความเชื่อ และประเพณีดั้งเดิมที่มีคุณคา ใหเหมาะสมตอการประพฤติปฏิบัติ ใหบังเกิดผลดีตอบุคคลและ สิ่งแวดลอม เชน การถายทอดหลักธรรมทางศาสนา การบวชปา การประยุกตประเพณี บุญประทายขาว เปนตน การศกึ ษาเรยี นรูจากภมู ปิ ญญา 1. เรียนรูจากการบอกเลาเรื่องราว การเทศน 2. เรยี นรูจากการปฏบิ ัตจิ รงิ 3. เรียนรูจากการทําตาม เลียนแบบ 4. เรยี นรจู าการทดลอง ลองผิด ลองถกู 5. เรียนรูจากการศึกษาดวยตนเอง 6. เรยี นรจู ากการตอวชิ า 7. เรยี นรูจากการสอบแบบกลุม วิธีการถายทอดความรูของภูมิปญญา อาจมีลักษณะแตกตางกันตามเอกลักษณเฉพาะตัว การศึกษาเรียนรูจากครูภูมิปญญา จะชวยทําใหภูมิปญญาความรูหรือคุณคาของทองถิน่ ไดรับการสืบทอด และพัฒนาตอไป นับเปนการสงเสริมใหครูภูมิปญญามีโอกาสเผยแพรความรู และมีความภาคภูมิใจทีไ่ ด มีสวนรวมอนรุ ักษภูมปิ ญญา และถายทอดความรใู หแกคนรนุ ตอไป สวนผทู ศ่ี กึ ษาเลาเรียนก็จะเห็นคุณคา ของสิ่งที่ดีงามในทองถิ่นของตน ดวยความรักความภาคภูมิใจในทองถิ่นของตน ภูมิปญญาไทยจึงถือเปน แหลงขอมลู แหลงการเรยี นรูที่สําคญั ของทองถิ่น

~ 37 ~ ศูนยการเรยี นชุมชน (สํานักงาน กศน.) ศูนยการเรียนชุมชน สํานักงาน กศน. เปนแหลงการเรียนรูสําคัญแหงหนึง่ ทีส่ ํานักงานสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดตัง้ ขึน้ ในพืน้ ทีร่ ะดับตําบลทั่วประเทศ และเปนแหลงสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชน เนนการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของชุมชน มุงสรางโอกาสและใหบริการการเรียนรูอยางหลากหลายวิธีสนองความตองการและเสนอทางเลือกใน การพัฒนาตนเอง นําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยยึดหลักการชุมชนเปนฐานของการพัฒนา ศูนยการเรยี นชมุ ชน อาจแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ ไดแก 1. ศูนยการเรียนชุมชน ทําหนาทีเ่ ปนศนู ยกลางการจัดกิจกรรมเพ่อื สรางโอกาสในการเรยี นรู การถายทอดและเปนเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ วิทยาการ ตลอดจนภูมิปญญาของชุมชน 2. ศนู ยการเรียนชมุ ชน ทําหนาที่เปนศูนยกลางการจัดกิจกรรมและประสานงานกับศูนยการ เรยี นชมุ ชนอ่นื หรือหนวยงาน องคกรตาง ๆ อาคารศูนยการเรยี นชุมชน ศูนยการเรียนชุมชน มีอาคารสถานที่ที่เหมาะสมกับแตละชุมชนอาจตั้งอยูในอาคารสถานที่ เอกเทศหรือในสถานประกอบการ ศาสนสถาน หนวยงานของรัฐ หรือเอกชน ตลอดจนบานภูมิปญญา ทองถน่ิ มีสื่อวัสดุอุปกรณในการจัดกิจกรรมการเรียนรูทีเ่ ปนประโยชนตอชุมชนทัง้ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ภาพจาก www.sanphanet.go.th ภาพจาก http://korat.nfe.go.th ภาพจาก google.co.th

~ 38 ~ วัตถุประสงคของศนู ยการเรยี นชมุ ชน 1. เพอื่ เปนศูนยกลางการเรียนรูและจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพอื่ ใหประชาชนไดรับการสงเสรมิ ใหเรียนรูอยางตอเนือ่ งตลอดชวี ิต 2. เพื่อสรางเสริมกระบวนการเรียนรูของชุมชน 3. เพื่อสรางโอกาสการเรียนรูสําหรับประชาชนในชุมชน 4. เพอ่ื ใหชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการ และจัดการศึกษาใหกับชุมชนเอง บทบาทหนาท่ีของศนู ยการเรยี นชมุ ชน 1. สงเสริมและจัดการศึกษาพื้นฐาน ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษา ตอนปลาย 2. สงเสริมและจัดการศึกษาตอเนือ่ งทั้งการศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพือ่ พัฒนา อาชีพ การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน 3. สงเสริมการเรยี นรตู ามอธั ยาศยั 4. สงเสริมกิจกรรมและกระบวนการเรียนรูของชุมชน ครปู ระจาํ ศูนยการเรยี นชุมชน ในศนู ยการเรยี นชมุ ชนหนึ่ง ๆ จะมีครูศูนยการเรียนชมุ ชน เปนบคุ ลากร สังกดั กศน. อาํ เภอและ สํานักงาน กศน.จงั หวดั ท่สี ํานกั งาน กศน. จดั ไวใหมหี นาทจ่ี ัดการความรูในศูนยการเรียนชุมชน มีหนาที่ ใหบริการแกผูเรยี นในพ้ืนทค่ี วามรับผดิ ชอบ ความรดู านขอมลู การใหบริการการศึกษาตาง ๆ ตามบทบาท หนาทีข่ องครูศูนยการเรียนชุมชน โดยเนนการบริการการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยแกผูเรียนในพืน้ ทีค่ วามรับผิดชอบ จัดการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผล และจัดทํา ฐานขอมูลศูนยบริการ ประสานงานกับ กศน.อําเภอ ในการจัดบริการทําเอกสาร และหลักฐานทางวิชา การศกึ ษาแกผเู รยี น กิจกรรม ใหผูเรียนแบงกลุม ๆ ละประมาณ 5-10 คน อภิปราย หาขอสรุปวา ผูเรียนจะคนควาเรียนรูอะไร ได ในศูนยการเรียนชุมชนของตนเอง และจัดทําเปนสรุปรายงานของกลุม รายงานหนาชั้นและสงครู

~ 39 ~ หองสมุดประชาชน หองสมุดประชาชนเปนแหลงเรียนรูที่สําคัญ เพราะเปนแหลงจัดหา รวบรวมสรรพความรูตาง ๆ ทมี่ แี ละเกดิ ขน้ึ ในโลกมาจดั ระบบในการอํานวยความสะดวกใหผูรับบริการไดเขาถึงสารสนเทศที่ตนเอง ตองการ และสนใจไดสะดวกรวดเร็วและจัดบริการอยางกวางขวางแกประชาชนทั่วไป นักเรียน นักศึกษา ทัง้ ในระบบและนอกระบบโรงเรียน ตลอดจนจัดกิจกรรมสนับสนุนสงเสริมการอาน การศึกษา คนควา หาความรู เพื่อใหเกดิ การใชบรกิ ารใหมากทีส่ ดุ ความหมายของหองสมดุ ประชาชน หองสมุดประชาชน หมายถึง สถานที่จัดหารวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเพือ่ การอานการศึกษา คนควาทุกชนิด มีการจัดระบบหมวดหมูตามหลักสากลเพือ่ การบริการ และจัดบริการอยางกวางขวางแก ประชาชนในชุมชน สังคม ในประเทศและตางประเทศ โดยไมจํากัดเพศ วัย ความรู เชือ้ ชาติ ศาสนา รวมทั้งการจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน โดยรัฐเปนผูสนับสนุนทางการเงิน และมีบุคลากรที่มีความรูทาง บรรณารักษศาสตรเปนผดู ําเนินการ ประเภทของหองสมดุ ประชาชน แบงเปน 3 ประเภท 1. หองสมุดประชาชนขนาดใหญ เชน หองสมุดประชาชนจังหวัด หอสมุดรัชมังคลาภิเษก พระราชวงั ไกลกงั วลหวั หนิ 2. หองสมุดประชาชนขนาดกลาง เชน หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 3. หองสมดุ ประชาชนขนาดเลก็ เชน หองสมุดประชาชนอําเภอทั่วไป

~ 40 ~ การบริการของหองสมดุ ประชาชน การบริการของหองสมุดประชาชาชนโดยทั่วไป จะจัดทั้งภายในหองสมุดและบริการชุมชน ภายนอกหองสมดุ ดงั น้ี 1. การบริการภายในหองสมุดประชาชน 1.1 ใหบริการการอาน การศึกษาคนควาจากหนังสือ สือ่ โสตทัศน สือ่ อิเล็กทรอนิกส ฯลฯ เชน หนังสือพิมพ วารสาร หนังสืออางอิง สารคดี ชุดวิชา แบบเรียน จุลสาร ซีดี ดานขอมูลตาง ๆ วิทยุ โทรทัศน อนิ เทอรเน็ต เปนตน 1.2 ใหบรกิ ารสืบคนขอมลู สือ่ ดวยคอมพวิ เตอรและหรือตบู ัตรรายการ 1) การสบื คนดวยคอมพิวเตอร หองสมุดประชาชนจะจัดเครื่องคอมพิวเตอรไวบริการ สืบคนสือ่ ทีต่ องการและสนใจโดยใชโปรแกรมบริการงานหองสมุด หรือ PLS (Public Library Service) ทสี่ ามารถคนหาไดทั้งจากชื่อหนังสือ/สอื่ ชอื่ ผแู ตงหรือผจู ัดทํา และหัวเรื่องหรือคําสําคัญท่ีเปนสาระหลัก ของส่อื 2) การสบื คนดวยตูบตั รรายการ โดยหองสมุดประชาชนจะจัดทําบัตรรายการของสื่อ ความรูทุกประเภท ทุกชนิด ลงในบัตรรายการใสไวในลิน้ ชักของตูบัตรรายการ และแยกประเภทของ บัตรรายการอํานวยความสะดวกแกผูใชบริการ 1.3 ใหบริการยืม – คืน หนังสือ สื่อความรูตาง ๆ สําหรับผูใชบริการที่จะยืมไปอานศึกษา คนควานอกหองสมุดประชาชน โดยหองสมุดแตละแหงจะมีการกําหนด ระเบียบ ขอบังคับ การยืม- คืน ฯลฯ ทเี่ หมาะสมกบั แตละหองสมุด โดยมีการใชคอมพิวเตอรในการบริการดวย 1.4 ใหบริการชวยการคนควา ตอบคําถาม ตลอดจนการแนะแนวการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย และในระบบโรงเรียน 1.5 ใหบริการเอกสารและขอมูลขาวสารของสถาบันอุดมศึกษาอืน่ เชน หาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยรามคําแหง โดยจัดมุมไวบริการโดยเฉพาะและสวนใหญอยูในหองสมุด ประชาชนจังหวัด 1.6 ใหคําแนะนําทางบรรณารักษศาสตรแกบุคลากรเครือขายในการจัดปรับปรุงพัฒนา แหลงเรยี นรูในทองถ่นิ 1.7 ใหบริการฝกประสบการณ การปฏิบัติงานเกีย่ วกับหองสมุดแกนักเรียน นักศึกษา สถาบันตาง ๆ 1.8 ใหความรวมมือกับสถาบันการศึกษา แหลงเรียนรูและเครือขายตาง ๆ

~ 41 ~ 2. การบริการชมุ ชนภายนอกหองสมดุ ประชาชน 2.1 ใหบรกิ ารหองสมดุ เคลือ่ นท่ีรวมกบั หนวยงาน องคกรในทองถิ่น 2.2 ใหบริการหมุนเวียนสือ่ ความรูไปยังครอบครัว ศูนยการเรียนและแหลงความรูตาง ๆใน รูปแบบยาม/กระเปา/หบี / ฯลฯ เพ่ือใหบรกิ ารแกกลมุ เปาหมายที่อยหู างไกลหองสมดุ 2.3 ใหบริการความรูทางสถานีวิทยุ หอกระจายขาว เสียงตามสาย แผนพับ ใบปลิว ฯลฯ แกประชาชน ภาพจาก http://pet.nfe.go.th/ ภาพจาก amnat.nfe.go.th ภาพจาก http://www.oknation.net/ ภาพจาก http://surin.nfe.go.th/ กจิ กรรม ใหผูเรียนไปศึกษาการบริการของหองสมุดประชาชนของสถานศึกษาที่ตนสังกัด เขียนรายงาน เรือ่ งการบริการของหองสมุดประชาชน และจัดทําแผนผังสถานที่ภายในหองสมุดวามีบริการอะไรบาง อยูบรเิ วณใด สงครผู ูสอน

~ 42 ~ กฎ ขอกาํ หนด ขอบงั คับ ระเบยี บ เก่ยี วกบั การใชหองสมดุ ประชาชน หองสมุดเปนสถานที่บริการสาธารณะทีป่ ระชาชนทุกคนสามารถเขาใชบริการ ดังนัน้ หองสมุด ประชาชนแตละแหงจะมี กฎ/ขอกําหนด/ขอบังคับ/ขอปฏิบัติ/ระเบียน เกีย่ กับการใชหองสมุดประชาชน ในการเขารับบริการสาธารณะรวมกันของคนเปนจํานวนมาก ซึง่ ผานความเห็นชอบของคณะกรรมการ หองสมุดและหรือคณะกรรมการสถานศึกษา ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของแตละหองสมุด ดังนี้ 1. เวลาทําการ วันเปด-ปด บรกิ าร เชน เปดบรกิ ารทกุ วนั จนั ทร-วันศกุ ร เวลา 07.30 – 21.00 น. วนั เสาร – วนั อาทิตย เปดเวลา 09.00-21.00 น. หยุดวนั นกั ขัตฤกษ เปนตน 2. การใชบริการหองสมุด 2.1 การทําบตั รเพ่ือการยมื -คืน ทรัพยากรสารสนเทศ ใหนํารูปถายขนาด 1-2 นิ้ว จํานวน 2 รูป และสําเนาบัตรประชาชนหรือสําเนาทะเบียนบานมาประกอบการขอทําบัตร พรอมเงินคาสมาชิก หองสมดุ 2.2 สิทธใิ นการยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศ 2.3 การใชบริการอนิ เทอรเนต็ 3. มารยาทการใชบริการ กจิ กรรม ใหผูเรยี นแตละคนเขาไปศึกษา กฎ ขอกําหนด ขอบังคบั /ระเบียบ หองสมุดประชาชนในอําเภอ ที่ตนเปนนักศึกษาอยู ทําความเขาใจและเขียนรายงานนําเสนอครู

เรอ่ื งท่ี 5 ~ 43 ~ การเขียนรายงานการคนควา การศึกษาคนควาดวยตนเองจากแหลงเรียนรูตาง ๆ ทําใหเกิดการเรียนรูอยางกวางขวางลึกซึ้ง มากกวาการไดฟงจากครูเพียงอยางเดียว นอกจากนัน้ ยังเปนการเสริมสรางนิสัยรักการอาน เปนการสราง ทักษะในการแสวงหาความรูไดดวยตนเอง เพือ่ ประโยชนในการดํารงชีวิต พัฒนาตนเอง และพัฒนา สังคม การศึกษาคนควาดวยตนเองจะปรากฏผลสมบูรณเมือ่ มีการนําเอาความรูมารวบรวม เรียบเรียง จัดลําดับอยางมีระเบียบและเหตุผลและตองใชความสามารถทางภาษาในการเรียบเรียง เพือ่ ใหการเสนอ รายงานเปนลายลกั ษณอกั ษรทส่ี มบรู ณ ตามแบบแผนและลกั ษณะรายงานทด่ี ี ที่เปนสากลนิยม รายงาน (Report) เปนผลจากการคนควา รวบรวม และเรียบเรียงขอมูลสารสนเทศทีไ่ ดไปศึกษา คนควาดวยตนเอง มานําเสนออยางมีแบบแผน ถือเปนสวนหนึง่ ในการประเมินผลนักศึกษาในการจัด กระบวนการเรยี นรหู มวดวชิ าใดวชิ าหนง่ึ วัตถุประสงคของการทํารายงาน เพื่อขยายความรูใหกวางขวางลึกซึ้งจากการศึกษาดวยตนเองฝก ทักษะในการอาน การวิเคราะห สังเคราะหขอมูล นํามาเรียบเรียงรายงานดวยสํานวนตนเองตามแบบแผน ลักษณะของรายงานทดี่ ี 1. เน้อื หาตรงกบั หัวขอเรือ่ งหรอื ชื่อรายงาน 2. สาระเนื้อหาเปนประโยชนตอผทู ํารายงานและผอู าน 3. เนื้อหาสาระถูกตองเที่ยงตรง โดยรวบรวมขอมูลจากแหลงทรัพยากรสารสนเทศที่เชื่อถือได 4. การใชภาษาท่ีถกู ตอง สละสลวย เนอื้ หาสมั พันธกนั กระชบั รัดกุม อานแลวเขาใจงาย 5. มรี ูปภาพ ตาราง แผนภมู ิ ฯลฯ ประกอบเนื้อหา 6. มีรูปแบบการเขียนที่ถูกตองทั้งปกนอก ปกใน คํานํา สารบัญ บท/ตอน ของเนือ้ หาสาระ การ อางองิ บรรณานุกรม ฯลฯ 7. มีความสะอาด ไมสกปรกเลอะเทอะ ขน้ั ตอนของการเขยี นรายงาน 1.การเลือกเรื่องรายงาน 2. การสํารวจแหลงความรูสารสนเทศเกี่ยวกับเรื่องรายงาน 3. การรวบรวมบรรณานกุ รมเบอ้ื งตน 4. การอานจับใจความและบันทึกขอมูล 5. การวางโครงเรื่องรายงาน 6. การเรียบเรียงเนื้อหารายงาน 7.การรวบรวมบรรณานุกรมทายบท

~ 44 ~ 8. การเขารูปเลมรายงาน กจิ กรรม ใหผเู รยี นเขียนรายงานคนละ 1 เรื่อง ตามขั้นตอนการเขียนรายงาน

~ 45 ~ แบบทดสอบ เร่ือง การใชแหลงเรยี นรู ระดับประถมศึกษา 1. แหลงเรยี นรมู คี วามสาํ คญั ตอผูเรยี นในขอใดมากที่สุด ก. การศึกษาตามอัธยาศัย ข. ชวยสรางเสริมประสบการณภาคปฏิบัติ ค. แหลงสรางเสริมความรู ความคิด วิทยาการ ง. เปนแหลงปลูกฝงนสิ ยั รกั การอาน การศึกษาคนควา แสวงหาความรดู วยตนเอง 2. ขอใดใหความหมายของ \"แหลงเรยี นรู\" ไดสมบูรณท่ีสดุ 1 ก. เปนแหลงความรูทางวิชาการ ข. เปนแหลงสารสนเทศใหความรูอยางกวางขวาง ค. เปนแหลงรวมภูมิปญญาชาวบานใหศึกษาคนควา ง. เปนแหลงขอมูลขาวสาร และประสบการณทส่ี งเสริมใหผูเรยี นแสวงหาความรูดวยตนเอง ตามอัธยาศัยอยางตอเนื่อง 3. ขอใดเปนแหลงเรียนรกู ลมุ ขอมลู ทองถน่ิ 1 ก. สถานประกอบการ ข. ภูมิปญญาชาวบานและปราชญชาวบาน ค. แหลงเรยี นรใู นโรงเรยี นและหอกระจายขาว ง. แหลงเรยี นรูในโรงเรียนและแหลงเรยี นรูในทองถนิ่ 4. ขอใดคอื การแสวงหาความรูดวยตนเองจากแหลงเรยี นรใู นทองถน่ิ ก. เรียนทําอาหารไทยจากโรงเรียนสอนอาหารไทย 1 ข. ไปที่หองคอมพิวเตอร เพื่อสืบคนขอมูลมาทํารายงาน ค. อานหนงั สือคมู อื ฟสกิ สที่ศูนยวทิ ยาศาสตรทองฟาจาํ ลอง 1 ง. ไปศึกษาคนควาเรื่องประโยชนของพืชสมุนไพรที่สวนสมุนไพร 5. ขอใด คอื แหลงเรียนรูในชมุ ชนทม่ี ที รพั ยากรสารสนเทศหลากหลายมากที่สุด ก. หองสมุดประชาชน ข. ศนู ยนนั ทนาการ ค. สวนพฤษศาสตร ง. อุทยานวิทยาศาสตร

~ 46 ~ 6. ถาจะศึกษาคนควาเรื่องความเปนมาของประวัติเขาพระวิหาร ควรจะศึกษาจากแหลงใดที่มีขอมูล มากท่สี ดุ ก. อุทยานประวัติศาสตร ข. พพิ ิธภัณฑแหงชาติ ค. อนิ เทอรเน็ต ง. เขาพระวหิ าร 7. จาํ นง ตองการปลกู ขาวใหไดผลดมี ากทสี่ ดุ จาํ นงควรเรียนรูจากแหลงใดมากทสี่ ุด ก. ภูมปิ ญญา ข. หอกระจายขาว ค. สวนสมนุ ไพร ง. สวนสาธารณะ 8. ขอใดเปนแหลงเรียนรกู ลุมศิลปวัฒนธรรม ก. ศาสนสถาน ข. อนสุ าวรยี ค. หอศิลป ง. ถุกทกุ ขอ 9. วัตถปุ ระสงคของการจัดแหลงเรยี นรใู นทองถ่ิน คือขอใด ก. เปนขอมลู เพ่ือการพัฒนาประเทศชาติ ข. เปนแหลงคนควาสนบั สนนุ การเรยี นการสอน ค. เพอ่ื เปนการพฒั นาชมุ ชนใหเจริญกาวหนาทนั เทคโนโลยี ง. เปนแหลงการศึกษาตลอดชีวิตที่ประชาชนสามารถหาความรูตางๆ ไดดวยตนเอง 10. ขอใดควรปฏิบัติในหองสมุดประชาชน ก. ติวเขมเพอื่ เตรียมตวั สอบ ข. เตรยี มอาหารและเคร่ืองดม่ื ไปเอง ค. ตองยืมหนังสือดวยบัตรสมาชิกของตนเอง ง. ทกุ คร้งั ที่หยิบหนงั สอื มาอานใหนําไปเก็บทีช่ ั้นหนงั สือดวย

~ 47 ~ 11. ระเบียบและมารยาทการใชหองสมุด หมายถึงขอใด ก. ขอยกเวนการปฏิบัติของผูใชบริการหองสมุด ข. กฎระเบียบทีใ่ หผใู ชบริการปฏบิ ตั อิ ยางเครงครัด ค. กฎเกณฑทหี่ องสมุดต้ังไวสําหรับใหผใู ชบริการเลือกปฏิบตั ิ ง. ขอบังคับหรือขอพึงปฏิบัติ จากจิตสํานกึ ท่ดี ีในการปฏิบัติตนของผูใชบรกิ าร 12. ใดเปนมารยาทและขอปฏิบัติที่พึงกระทําในการใชหองสมุด ก. เมอ่ื อานหนงั สือเสร็จแลววางไวบนโตะ ข. ใชปากกาเนนขอความขีดหนังสือของหองสมุด ค. อานหนังสือออกเสียงเพอื่ ใหบรรณารักษแนะนาํ เม่อื อานผิด ง. เลนเกมในคอมพวิ เตอรกบั เพ่ือนหลายๆคนอยางสนกุ สนาน เพอื่ เปนการประหยัด 13. หากผูเรียนตองการศึกษาคนควาหนังสือในหองสมุดประชาชน ควรปฏิบัติอยางไร ก. สืบคนจากบัตรสมาชิก ข. สืบคนจากการถามผูใชบริการ ค. สบื คนจากโปรแกรม บริการงานหองสมุด (PLS) ง. สืบคนจากหนงั สืออิเล็กทรอนิกสหรอื อินเทอรเน็ต 14. นันทา ตองการสืบคนขอมูลเพื่อมาทํารายงานเรื่อง วีรสตรีไทย ควรปฏิบัติอยางไร ก. ไปหองสมุดสืบคนดวยโปรแกรม PLS พิมพคาํ วา วีรสตรีไทย ข. ไปหองสมดุ สบื คนหนงั สือดวยบัตรชื่อเรอ่ื ง ทาวสุรนารี ค. สืบคนทางอินเทอรเน็ต ง. ถกู ทุกขอ 15. ถาผูเรียนตองการคําแนะนําในการลงทะเบียนเรียนระดับมัธยมศึกษา ควรหาขอมูลจากแหลง เรยี นรูใด ดีท่ีสุด ก. หองสมุดประชาชน ข. ศูนยการเรียนชุมชน ค. ศูนยบริการชุมชน ง. หอกระจายขาว เฉลย 1 ง 2 ง 3 ข 4 ง 5 ก 6 ค 7 ก 8 ง 9 ง 10 ค 11 ง 12 ก 13 ค 14 ง 15 ข

~ 48 ~ บทที่ 3 การจดั การความรู สาระสาํ คญั การจัดการความรเู ปนเคร่ืองมอื ของการพัฒนาคณุ ภาพงาน หรือสรางนวตั กรรมใน การทํางาน การจัดการความรูจึงเปนการจัดการกับความรูและประสบการณท่มี ีอยใู นตัวคน และความรเู ดนชดั นํามาแบงปนใหเกดิ ประโยชนตอตนเองและองคกร ดวยการผสมผสาน ความสามารถของคนเขาดวยกนั อยางเหมาะสม มีเปาหมายเพือ่ การพัฒนางาน พฒั นาคน และ พฒั นาองคกรใหเปนองคกรแหงการเรยี นรู ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั 1. อธบิ ายความหมาย กระบวนการชมุ ชนปฏบิ ตั กิ าร กาํ หนดขอบเขตความรูจาก ความสามารถหลกั ของชมุ ชน และวธิ ีการยกระดบั ขอบเขตความรใู หสงู ข้นึ 2. รวมกันแลกเปล่ยี นเรยี นรูและสรุปผลการเรียนรูท่ีบงช้ถี งึ คุณคาของกระบวน การจดั การความรู 3. สามารถสังเกตและทําตามกระบวนการจัดการความรูชุมน ขอบขายเนอ้ื หา เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ หลกั การของการจดั การความรู เร่ืองท่ี 2 กระบวนการจัดการความรู เรื่องท่ี 3 กระบวนการจัดการความรูดวยตนเอง เร่ืองท่ี 4 กระบวนการจัดการความรดู วยการปฏบิ ัติการกลุม เร่ืองท่ี 5 การสรางองคความรพู ัฒนา ตอยอดยกระดับความรู เร่ืองที่ 6 การจดั ทาํ สารสนเทศเผยแพรองคความรู

~ 49 ~ แบบทดสอบกอนการเรียน แบบทดสอบเรื่องการจัดการความรู ( Knowledge Management ) คาํ ชี้แจง จงเลอื กขอทที่ านคดิ วาถูกตอง 1. การจดั การความรเู รียกสน้ั ๆ วาอะไร ก. MK ข. KM ค. LO ง. QA 2. เปาหมายของการจดั การความรู คอื อะไร ก. พัฒนาคน ข. พัฒนางาน ค. พัฒนาองคกร ง. ถกู ทุกขอ 3. ขอใดถูกตองมากท่ีสุด ก. การจดั การความรู \"ไมทํา - ไมร\"ู ข. การจัดการความรนู นั้ จะตองใหคนทีม่ พี ื้นฐานคลายๆกัน มารวมกันคดิ เปน กลุม ค. การจดั การความรูเปนเปาหมายของการทาํ งาน ง. การจดั การความรูไมมกี ารลองผดิ ลองถูก 4. ขั้นสงู สุดของการเรียนรคู ืออะไร ก. ปญญา ข. สารสนเทศ ค. ขอมูล ง. ความรู 5. ชุมชนนักปฏิบัติ ( CoP ) คอื อะไร ก. การจดั การความรู ข. เปาหมายของการจัดการความรู ค. วิธกี ารหนงึ่ ของการจดั การความรู ง. แนวปฏิบัติของการจัดการ เฉลย 1) ข 2) ข 3) ก 4) ค

~ 50 ~ เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ หลกั การของการจัดการความรู ความหมายของการจัดการความรู การจัดการ หมายถึง กระบวนการในการสัง่ งานควบคุมงานและดําเนินงานเพือ่ ให เกิด การเขาถึงความรู ถายทอดความรูที่ตองดําเนินการรวมกันกับผูปฏิบัติงานซึ่งอาจเริ่มตน จาก การบงชีค้ วามรูที่ตองการใช การสรางและแสวงหาความรู การประมวลเพื่อกลั่นกรอง ความรู การจัดการความรใู หเปนระบบ การสรางชองทางเพื่อการสื่อสารกับผูเกี่ยวของ การ แลกเปลี่ยน ความรู การจัดการสมัยใหมใชกระบวนการทางปญญาเปนสิ่งสําคัญในการคิด ตดั สินใจ และ สงผลใหเกิดการกระทํา การจัดการจึงเนนไปทก่ี ารปฏิบตั ิ ความรู หมายถึง สง่ิ ทสี่ งั่ สมมาจากการศีกษาเลาเรียน การคนควาหรือประสบการณ ควบคกู บั การปฏบิ ตั ิ ซง่ึ ในการปฏบิ ัตจิ ําเปนตองใชความรูท่ีหลากหลายสาขาวิชามาเชื่อมโยง บูรณาการเพื่อการคิดและตัดสินใจ และลงมือปฏิบัติ จุดกําเนิดของความรูคือสมองคน เปน ความรูท่ีฝงลึกอยใู นสมองชแ้ี จงออกมาเปนถอยคาํ หรอื ตวั อักษรได ในยุคแรกๆ มองวา ความรู หรือทุนปญญา มาจากการจัดระบบและการตีความ สารสนเทศ ซึง่ สารสนเทศก็มาจากการประมวลของมูล ขั้นตอนของการเรียนรู เปรียบดัง ป ระมิตตามรูปแบบนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook