Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลโครงการพัฒนาสังคมหน้าบ้านสวย651

สรุปผลโครงการพัฒนาสังคมหน้าบ้านสวย651

Published by tummanit2557@ gmail.com tummanit, 2022-07-07 06:32:55

Description: สรุปผลโครงการพัฒนาสังคมหน้าบ้านสวย651

Search

Read the Text Version

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม คานา สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาสังคมและชุมชน หลักสูตรหน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน ในเรือนงาม ไตรมาส 1-2 ประจาปงี บประมาณ 2565 กศน.ตาบลนาดี ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคูหา จังหวัด หนองบัวลาภู ฉบับน้ีจัดทาข้ึนเพื่อรวบรวมข้อมูลระดับความสาเร็จและความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการ ปัญหา อปุ สรรค ขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ เพอ่ื นาไปใช้เป็นข้อมูลประกอบในการดาเนินโครงการคร้ัง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุวรรณคูหา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สรุปผลการดาเนินงานการจดั กิจกรรมดังกลา่ วจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ต้องการศึกษา และจะเป็นแนวทางในการ นาไปพัฒนา และปรบั ปรุงงานการศกึ ษานอกระบบในปงี บประมาณตอ่ ไป กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสวุ รรณคหู า กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม สารบัญ หน้า ก เร่ือง ข คานา 1 สารบญั 2 บทที่ 1 บทนา 9 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานที่เกี่ยวขอ้ ง 11 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการดาเนินงาน 16 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 17 บทท่ี 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ ภาคผนวก คณะผู้จัดทา กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคญั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชมุ ชนเป็นการจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะความสามารถและ ศักยภาพของ คนในชมุ ชน รวมท้ังกลไกทกุ ภาคส่วนในชมุ ชนใหร้ ่วมกนั รับผดิ ชอบและเห็นถงึ ความสาคัญใน การ ฟืน้ ฟูพัฒนาสงั คม และชุมชนของตนเอง โดยหนว่ ยงานสถานศกึ ษาการศึกษานอกระบบโรงเรียนตอ้ งให้ ความสาคญั ต่อการใช้ กระบวนการทางการศกึ ษาส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน เกิดการเรยี นร้แู ละบูรณาการ ความรู้ ประสบการณ์ เขา้ มาใช้ ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อการพฒั นาสังคมและชมุ ชนโดยรวม และบริบทของชุมชน แต่ละพ้นื ท่โี ดยเนน้ การสรา้ งจิตสานึก ความเป็นประชาธปิ ไตย ความเปน็ พลเมอื งดี การบาเพญ็ ประโยชน์ การ เสรมิ สรา้ งคา่ นยิ มความรักชาติ ความภมู ใิ จ ในความเป็นไทย ใฝหุ าความรู้ หมนั่ ศกึ ษาเล่าเรียนทงั้ ทางตรงและ ทางออ้ ม และการมจี ิตอาสาสมัคร ใช้ความรู้ ความสามารถของตน ความรกั ความสามัคคี การให้ การแบง่ ปนั การมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาชมุ ชน สงั คม และ เฝาู ระวัง และหวงแหนสมบตั ิของชาติ โดยเหน็ แก่ส่วนรวมเปน็ สาคญั วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื เป็นการเสริมสร้างกระบวนการเรยี นรู้ และพฒั นาสังคมและชุมชนใหม้ ีความเข้มแข็งสามารถ พ่ึงพาตนเองได้ 2. เพือ่ เป็นการคน้ หาปญั หา และกาหนดแนวทางในการแกป้ ญั หาร่วมกนั ในชมุ ชนตามวถิ ีความพอเพียง 3. เพอื่ สร้างจติ สานกึ ความเปน็ ประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดเี ศรษฐกจิ ชมุ ชน และการอนรุ ักษ์ พฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม เปูาหมาย เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไปในพืน้ ทีต่ าบลนาดี จานวน 36 คน ประกอบด้วย เชิงคุณภาพ ประชาชนร้อยละ 80 ท่ีเข้ารับการอบรมมีจิตสานึกของประชาชนในการสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ ตาม หลกั สขุ ภาวะในบา้ นของตนเองให้ชุมชนมสี ่วนรว่ มในการพัฒนา ปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมในหมู่บ้านและบา้ น ของตนเอง ให้เกดิ ประโยชน์ทั้งหน้าบ้าน ในบ้าน และหลงั บา้ น เพ่อื ให้เกิดการความเขา้ ใจและพัฒนาคุณค่า ของสถานทสี่ าคญั บุคคลสาคญั ของชมุ ชน สกู่ ารสร้างความ ภาคภูมิใจในชมุ ชน สรา้ งจิตสานึกความเป็น พลเมอื งดใี นระบอบประชาธปิ ไตย กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม บทที่ 2 เอกสารที่เก่ยี วข้อง การพฒั นาชุมชน ความหมาย มีผู้ใหค้ วามหมายของคาวา่ “การพัฒนาชุมชน”ไว้อยา่ งหลากหลาย พอสรปุ ได้บางส่วนคอื T.R Batten : ขบวนการทค่ี นในชมุ ชนเลก็ ๆ ได้รว่ มกันปรกึ ษาหารอื ถึงความต้องการร่วมกนั วางแผนและ ลงมอื ปฏิบัติร่วมกนั จนเปน็ ที่พอใจและสนองความต้องการของคนในชมุ ชน Dunham : การร่วมดาเนนิ การปรบั ปรุงสภาพความเปน็ อยขู่ องชมุ ชนให้ชมุ ชนมคี วามเป็นปึกแผ่น และ ดาเนนิ การไปในแนวทางท่ตี นตอ้ งการ การทางานในชนั้ แรกตอ้ งอาศยั ความร่วมแรงร่วมใจของ ประชาชนในชุมชนนัน้ ๆ โดยช่วยตัวเองและรว่ มมอื กันดาเนินงาน แตม่ ักจะได้รบั ความช่วยเหลอื ดา้ นวชิ าการ จากหน่วยราชการ หรือองคก์ รเอกชนอ่ืน ๆ องค์การสหประชาชาติ : เปน็ ขบวนการวมกาลังของประชาชนกบั เจ้าหน้าที่ของรัฐบาล เพือ่ ปรับปรุงสภาพ ทางเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมของชุมชนนั้นให้เจริญยิง่ ๆ ขนึ้ และผสมผสานชมุ ชนน้นั เข้าเป็นชวี ติ ของชาติ และเพื่อให้ประชาชนสามารถอุทิศตนเอง เพือ่ ความกา้ วหนา้ ของประเทศชาตไิ ด้อยา่ งเต็มท่ี อย่างไรก็ตามอาจกล่าวสรปุ ได้วา่ การพฒั นาชุมชนกค็ ือการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ซ่ึงหมายถึงชวี ติ ของบคุ คล ทสี่ ามารถดารงชวี ติ อย่รู ่วมกนั ในสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม ไม่เป็นภาระและไม่กอ่ ใหเ้ กิดปัญหาให้แกส่ ังคม เป็น ชีวิตทม่ี ีความสมบรู ณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสามารถดาเนนิ ชีวิตที่ชอบธรรม สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม คา่ นยิ มของสงั คม สามารถแก้ไขปัญหา ตลอดจนการแสวงหาสงิ่ ท่ีตนปรารถนาให้ไดม้ าอย่างถูกต้อง ภายใต้ เครอ่ื งมอื และทรพั ยากรท่มี อี ยู่ โดยมจี ุดเนน้ ของคณุ ภาพชีวิตเปน็ 3 ประเด็น 1. ทางด้านรา่ งกาย : บุคคลต้องมสี ุขภาพรา่ งกายที่สมบูรณแ์ ข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจบ็ เป็นผลจากการ ได้รับการตอบสนองทางดา้ นปัจจัยความจาเปน็ ขั้นพ้นื ฐานท่พี อเหมาะ 2. ทางด้านจิตใจ : คือจะต้องมีสภาพจิตใจที่สมบูรณ์ร่าเริงแจ่มใส ไม่วิตกกังวล รสู้ ึกพอใจในชีวติ ของตน ครอบครัว และสงั คมในสภาพแวดลอ้ มที่ดี มีความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ย์สิน 3. ด้านสงั คม : บุคคลที่สามารถดารงชีวติ ภายใต้บรรทัดฐาน และคา่ นิยมทางสงั คมในฐานะเป็นสมาชิกของ สังคมไดอ้ ย่างปกติสขุ ณรงค์ เทียนสง่ ไดร้ ะบุวา่ คุณภาพชีวิตของมนษุ ย์ ประกอบดว้ ย 1. บุคคลไดส้ งิ่ จาเปน็ แกก่ ารมีชีวติ ได้แกอ่ าหาร ท่อี ยอู่ าศัย เส้อื ผา้ สุขภาพแขง็ แรง และมีความม่ันคงในชวี ิต 2. มีค่านยิ มที่เหมาะสมในการดาเนนิ ชวี ิตท่ีสอดคล้องกับสงั คม วฒั นธรรม การเมือง และสภาพแวดลอ้ มทาง เศรษฐกิจ ซง่ึ จะเป็นรากฐานการตดั สินใจทีจ่ ะนาไปสู่จดุ หมายปลายทางของการมีชวี ติ ท่ดี ี คณะกรรมการประเมนิ ผลโครงการพฒั นาชนบทยากจน ได้กาหนดเกณฑ์พิจารณาคณุ ภาพชีวติ โดยดจู าก ความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ) ซง่ึ เปน็ เกณฑใ์ นการประเมินคณุ ภาพชวี ิตขนั้ พน้ื ฐานของคนไทย ไวด้ งั นี้ กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม 1. ได้กินอาหารทถ่ี ูกสขุ ลกั ษณะในปริมาณทพ่ี อเพยี ง 2. มที อ่ี ยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมการทางานท่ีเหมาะสม 3. มีงานทาอยู่ในสภาพแวดล้อมการทางานท่ีเหมาะสม 4. ไดบ้ ริการข้นั พนื้ ฐานทจ่ี าเป็น 5. มีความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส์ ิน 6. มีการผลติ ทพี่ อเพยี ง 7. มีสว่ นรว่ มในการปกครองทอ้ งถ่นิ 8. สามารถควบคมุ ช่วงเวลาของการมบี ตุ ร และจานวนบตุ ร 9. ประพฤติตามธรรมเนียม ประเพณี หลกั ธรรมศาสนา และรักษาส่งเสรมิ กจิ กรรมทางศิลปวฒั นธรรม เปูาหมายในการพัฒนาชุมชน การพฒั นาชุมชน มีเปูาหมายสาคัญท่ีจะต้องพฒั นา ดังนี้ 1. การพัฒนาคน คือการทาใหค้ นในชุมชนน้นั มีคณุ ภาพดีข้นึ ทงั้ กายใจและสติปญั ญา ซ่ึงในแต่ละ แผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตติ ่างกม็ ีจดุ มุง่ เนน้ ท่จี ะพฒั นาคนต่าง ๆ กนั ไป แตท่ ปี่ รากฏชดั เจน เปน็ รปู ธรรมคือในแผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บับท่ี 8 ไดร้ ะบเุ ปูาหมายของการพฒั นา คณุ ภาพคนไวส้ ามลักษณะดังนี้ เก่ง : มคี วามสามารถและรู้จกั ความสามารถของตนเอง มีแรงจูงใจมุง่ มนั่ สจู่ ุดหมาย สามารถตัดสนิ ใจได้ แกป้ ญั หาเปน็ แสดงออกไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มคี วามยดื หยนุ่ และมนุษยส์ มั พนั ธ์ดกี ับคนอื่น (IQ) ดี : รู้จกั ควบคมุ อารมณ์ตนเองได้ แสดงออกได้เหมาะสมกบั บุคคล โอกาสและสถานที่ รู้จักเห็นอกเห็นใจ คนอื่น มคี วามรับผิดชอบ รู้จักการให้และการรบั รู้จกั ยอมรับผิด ให้อภัย และเห็นแก่ประโยชนส์ ่วนรวม (EQ) สุข : ภมู ิใจในตัวเอง เห็นคุณคา่ และมีความเชื่อม่ันตนเอง พอใจชีวติ มองโลกในแง่ดี มีอารมณ์ ขนั มคี วาม สงบทางใจ รู้จกั การผอ่ นคลาย กจิ กรรมเสริมความสุข (การผสานประโยชนร์ ะหวา่ ง IQ กับ EQ) 2. การพัฒนาส่ิงแวดลอ้ ม ซึ่งจะต้องคานึงถงึ ส่ิงแวดลอ้ มท่ีเป็นวตั ถไุ ด้แก่อาคารสถานท่ี สง่ิ ปลกู สรา้ งตา่ ง ๆ และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เปูาหมายสาคัญคือ จะต้องพัฒนาใหส้ ภาพแวดล้อมไมถ่ กู ทาลาย มวี ิสยั ทจ่ี ะ รบั ภาระ (Carrying Capacety) ใหป้ ระโยชน์แก่ชมุ ชน ในปัจจบุ นั สภาพสิง่ แวดลอ้ มธรรมชาติไดถ้ ูกทาลายลง ไปมากท้ังในเชงิ คณุ ภาพ (อากาศเป็นพษิ นา้ เสีย ขยะ ฯลฯ) และในเชิงปริมาณ (ความหลากหลายทางชีวภาพ แรธ่ าตทุ รพั ยากรธรรมชาตบิ างชนดิ ภาวะขาดแคลนนา้ ฯลฯ) ซ่ึงสภาพการณเ์ หลา่ น้ีส่งผลกระทบโดยตรงตอ่ การดารงชวี ติ ของมนุษย์ หลักการพฒั นาชมุ ชน การดาเนินงานพฒั นาชุมชนน้ัน มหี ลกั การสาคัญทเ่ี ปน็ รากฐานในการดาเนินงานอยู่ 3 ประการดว้ ยกันคอื กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม 1. ความคดิ รเิ ร่มิ มาจากประชาชน กจิ กรรมทุกกจิ กรรมและทุกข้นั ตอนจะต้องเกดิ จากการคิด ตัดสินใจ วางแผน และดาเนินการโดยประชาชน นกั พฒั นาต้องไม่เปน็ ผู้กาหนดกิจกรรม แผนงาน หรือโครงการไว้ ลว่ งหนา้ แตน่ กั พัฒนามีหน้าทกี่ ระตุน้ ให้ชาวบา้ น กล้าคิด สามารถค้นหาปญั หาและความต้องการ และ ตดั สนิ ใจริเริม่ โครงการตา่ ง ๆ ไดเ้ อง ซงึ่ การทนี่ กั พฒั นาจะทาไดจ้ าเป็นตอ้ งเข้าไปหาประชาชน กระตุ้นยวั่ ยโุ ดย ใชม้ าตรการต่าง ๆ (การฝกึ อบรม, ประชมุ กลมุ่ อภปิ ราย กลมุ่ สมั พนั ธ์ การแสดงบทบาท ฯลฯ) ใหช้ าวบา้ นกล้า คิดกลา้ แสดงออก โดยนกั พฒั นาอาจใหข้ ้อมูลหรือการช้ีแนะทีจ่ าเป็น เพ่ือประกอบการตดั สินใจของชาวบา้ น สัญญา สัญญาวิวตั น์ ได้ระบุว่ามมี าตรการต่าง ๆ ทอี่ าจนาไปใช้ไดใ้ นการกระตุน้ ให้ประชาชนเกิดความคิด และตัดสนิ ใจ ได้ ดงั ต่อไปนี้ 1. การใหก้ ารศึกษา ทาได้ทั้งในระบบ (การจดั การศกึ ษาอยา่ งเป็นทางการ) และนอกระบบ ซึ่งเกิด จากการเรียนรจู้ ากประสบกรณ์ 2. การอภิปรายกลุ่ม โดยมกี ารรวมกลุ่มกนั ระหว่างคนที่สนใจ หรือคนท่มี ีผลประโยชน์ร่วมกนั โดยนักพัฒนา ตอ้ งกระตุ้นใหส้ มาชกิ ในกลุ่มมีการอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ แลกเปลี่ยนแนวคดิ และประสบการณ์ซึ่งกนั และ กนั โดยตอ้ งสรา้ งบรรยากาศในการประชมุ ให้มคี วามเปน็ มติ ร ให้เกียรติและเคารพความเหน็ ซง่ึ กนั และกนั การ ลงมติจะต้องเปน็ ไปโดยไม่มีอทิ ธิพลครอบงา และควรใหส้ มาชกิ ส่วนใหญพ่ อใจ 3. การสาธิต เปน็ วิธที ่ีจะแสดงใหเ้ หน็ ถึงขัน้ ตอน และผลของการปฏบิ ัติ โดยอาจเปน็ วิธกี ารใหม่ ๆ ทช่ี าวบ้าน ยังไมร่ ูจ้ กั หรอื รจู้ ักแลว้ แตย่ ังทาไม่ได้ หลักสาคัญในการสาธิตใหเ้ กิดผล กค็ อื จะต้องมีทรัพยากรหรอื ผูส้ าธติ ที่มี ความรู้ ความชานาญในเร่อื งนน้ั ๆ และเรอื่ งที่สาธติ ต้องตรงกับความตอ้ งการ เกิดประโยชน์ และประชาชน สามารถนาไปปฏบิ ัติได้ 4. การประชุม เป็นการเรยี กประชุมใหช้ าวบ้านมารบั ทราบข่าวข้อมลู ความรหู้ รอื เพอ่ื ปรึกษาหารือ กนั ใน การจดั กจิ กรรมการพฒั นา 5. การจัดนิทรรศการ เปน็ การนาส่ิงของ กระบวนการ และอุปกรณต์ ่าง ๆ มาแสดงให้ชม เพ่อื ให้ผู้ชมได้เหน็ และเกดิ ความคิดท่ีจะนาไปใชป้ ระโยชน์ ทัง้ นี้การจัดนทิ รรศการทีด่ นี น้ั ผจู้ ัดจะตอ้ งกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ให้ ชัดเจน ในปจั จุบนั การจดั นิทรรศการใหญ่ ๆ ระดบั ชาติ จะใช้บริษัทเอกชนท่ีเป็นมืออาชพี เป็นผู้จัด ซงึ่ ผลท่ไี ด้ จะเกิดความสวยงาม นา่ ดู เชน่ นิทรรศการสินคา้ OTOP 6. ทัศนศึกษา เปน็ วิธีการท่ีใช้มาในปัจจุบนั มกี ารนาประชาชนกลุม่ หน่งึ ไปดูงานยังตา่ งพน้ื ที่ ทงั้ ในประเทศ และต่างประเทศ เพอ่ื ให้เกิดความรู้ และความคิด ได้เหน็ แบบอย่างที่มีคนทาและประสบความสาเรจ็ ซ่ึงจะเปน็ แรงกระตุ้นใหน้ าไปใชใ้ นการพัฒนาชมุ ชนของตนเอง ปจั จุบันวธิ ีน้ีเปน็ ท่แี พรห่ ลาย และนิยมของชาวบา้ นมาก ชาวบา้ นกลุ่มต่าง ๆ มีการเดนิ ทางไปดูงานแลกเปล่ียนความรู้ และประสบการณก์ นั มีการสรา้ งเครือข่ายการ ทางานรว่ มกัน เชน่ เครอื ขา่ ยกลุม่ ทอผา้ ในเขตจังหวดั ภาคเหนอื ส่ิงสาคัญที่ตอ้ งพจิ ารณาคอื วิธีการทท่ี าแล้ว ประสบความสาเร็จในพน้ื ทห่ี น่ึง อาจใช้ได้หรอื ใช้ไมไ่ ดก้ ับอกี พืน้ ท่หี นง่ึ กไ็ ด้ ดงั นั้นผทู้ จี่ ะนาไปใช้จะตอ้ งพิจารณา และปรับใช้ให้เหมาะสมกับชมุ ชนของตน กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม 7. การรณรงค์ เหมาะสาหรบั กิจกรรมที่ต้องการเร่งรัดใหเ้ กิดผลสาเร็จในระยะเวลาอนั สั้น ซ่ึงผู้เก่ียวข้อง จะตอ้ งให้ความรู้ โฆษณา ประชาสัมพันธ์อยา่ งดใี นระดบั หนงึ่ ถงึ ความจาเป็น และลกั ษณะกจิ กรรมนัน้ ให้ ชาวบ้านรับรู้ รบั ทราบ เม่ือมีการเรมิ่ ดาเนินการ ชาวบ้านจะไดใ้ ห้ความร่วมมือ การรณรงค์นั้นอาจใช้วธิ เี กลยี้ กลอ่ ม การสร้างกระแสนิยมรกั ชาติ การให้ผู้นาที่มีอิทธิพลเปน็ ผู้รเิ ริ่มทากอ่ นเปน็ ตวั อยา่ ง รวมไปถึงการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ผา่ นสื่อต่าง ๆ เชน่ โทรทศั น์ วทิ ยุ หนังสือพมิ พ์ เสียงตามสาย ปูายประกาศ ใบปลิว การแสดง มหรสพ ฯลฯ 2. หลกั การให้ประชาชนมีสว่ นร่วม การท่ีประชาชนเขา้ มามีสว่ นร่วมในโครงการต่าง ๆ จะก่อให้ เกิด ความรสู้ กึ เปน็ เจ้าของ มคี วามรกั ผกู พนั ธ์ตอ่ โครงการน้ัน ๆ จะช่วยเนน้ ย้าใหเ้ กดิ ความรสู้ ึกวา่ โครงการน้ันเปน็ ความรับผดิ ชอบ และเกดิ จากนา้ พักน้าแรงของพวกเขาเอง ซง่ึ ในกระบวนการพฒั นาชมุ ชนนนั้ ประชาชนจะมี ส่วนร่วมในข้นั ตอนตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปนี้ 2.1 มสี ่วนร่วมในการคดิ ค้นหาปัญหาและศึกษาสาเหตุของปัญหา ขน้ั ตอนนี้ถึงเป็นขนั้ ตอนแรกท่มี ี ความสาคญั มาก เพราะบางครั้งปัญหาตา่ ง ๆ ของชาวบา้ น เปน็ สงิ่ ที่ชาวบา้ นตอ้ งพบสมั ผัสอยู่ทุกวนั จนเกดิ ความเคยชินไม่คดิ ว่าส่ิงนนั้ เปน็ ปัญหา จงึ ไม่กระตอื รืนลน้ ท่จี ะหาทางแก้ปญั หา 2.2 มีส่วนร่วมในการวางแผนดาเนินกจิ กรรม โดยทว่ั ไปแลว้ นักพฒั นาหรือนกั วิชาการมกั จะคดิ วา่ ชาวบ้านไม่ มีศกั ยภาพพอที่จะวางแผนดาเนินกิจกรรมด้วยตวั เองได้ ซ่ึงกอ็ าจมคี วามเปน็ จริงแตเ่ พียงบางส่วน แต่หาก นกั พฒั นามคี วามเชื่อม่ันในศักยภาพของความเปน็ “คน” ของทกุ คนว่ามศี ักยภาพท่ีจะพฒั นาได้ ก็เปน็ หน้าที่ ของนกั พฒั นาทจ่ี ะเสริมความรู้ หรือใช้เทคนิคต่าง ๆ เพ่ือหาแนวทางในการจดั ระบบความคิดของชาวบา้ นให้ สามารถวางแผนได้ 2.3 มสี ่วนร่วมในการลงทนุ และปฏบิ ตั ิ คาว่าทุนในทีน่ ี้อาจไมไ่ ดห้ มายถงึ เฉพาะเงนิ ทุนเทา่ นน้ั แต่ชาวบ้านยงั มี ทรพั ยากรทีอ่ าจหามาได้เอง เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ (ทราย หิน ไม้ไผ่ ฯลฯ) หรือวัสดุตามธรรมชาตใิ น หม่บู า้ น และรวมถึงแรงงานของชาวบา้ นเอง สว่ นในการปฏบิ ัตนิ ้ันกเ็ ช่นกนั ชาวบา้ นสามารถที่จะเข้ารว่ ม ดาเนินการในกิจกรรมตา่ ง ๆ ได้ สงิ่ เหลา่ นจี้ ะส่งผลใหเ้ กิดความรู้สกึ มีส่วนร่วม เปน็ เจา้ ของและเหน็ คุณค่า พร้อมท่จี ะดแู ลรกั ษา รวมทัง้ การได้เรยี นรู้การทางานในกจิ กรรมนัน้ ด้วย 2.4 มสี ว่ นร่วมในการติดตามและประเมินผลงาน ซงึ่ เป็นขั้นตอนสดุ ท้ายทจ่ี าเปน็ เพราะ การประเมินผลงาน จะชว่ ยให้ทราบถึงขัน้ ตอนการทางาน ผลสาเรจ็ และหรือปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ทาให้สามารถปรับเปลีย่ นแผน ให้เกิดผลงานที่ดีที่สดุ ตอบสนองความตอ้ งการของชมุ ชนอย่าถูกจุด 3. หลักการช่วยตวั เอง การพฒั นาชุมชนนน้ั หลักสาคญั ท่ีสดุ และเปน็ เปูาหมายสูงสุดด้วย กค็ ือการท่ีจะให้ ประชาชน มคี วามเป็นอยูท่ ่ีดี สามารถพง่ึ ตวั เองได้อยา่ งย่งั ยืน อยา่ งไรก็ตามการส่งเสรมิ ใหช้ าวบ้านช่วยตัวเอง ไดน้ นั้ ก็จาตอ้ งคานงึ ถงึ ขอ้ จากัดของชาวบ้านเองดว้ ย โดยเฉพาะข้อจากัดดา้ นเศรษฐกิจ การดาเนินงานพัฒนา ควรเริ่มจากโครงการท่ีไมใ่ หญ่จนเกินกาลังชาวบ้าน ชาวบ้านมีศกั ยภาพพอท่จี ะดาเนนิ โครงการนน้ั จนประสบ ความสาเร็จ อาทิ เชน่ พฒั นาตัวเองและครอบครัวกอ่ น และในบางกรณรี ัฐบาลหรอื หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบ กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม โครงการน้นั อาจตอ้ งให้ความช่วยเหลือสนบั สนุนด้านงบประมาณลงทุนประเดมิ ให้กอ่ น เชน่ การสนบั สนนุ พนั ธว์ ัว ต้นกลา้ ผลไม้ และเม่ือชาวบ้านดาเนินโครงการประสบความสาเร็จก็ชดชดใช้ทุนคืน ปจั จยั แวดลอ้ มทมี่ อี ทิ ธพิ ลต่อการพัฒนาชมุ ชน การพฒั นาทจ่ี ะประสบความสาเรจ็ ได้ จาตอ้ งอาศยั สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการพัฒนา อันได้แก่ 1. ลกั ษณะทางกายภาพ ไดแ้ ก่ สภาพแวดล้อมด้านวตั ถุ อนั ได้แก่ สิง่ ก่อสร้างพ้ืนฐาน : ถนน สะพานคลองส่ง น้า และสภาพแวดลอ้ มตามธรรมชาติ เช่น ลกั ษณะภมู ิประเทศ อนั ไดแ้ ก่ สภาพดนิ แหลง่ ต้นนา้ ลาธาร อุณหภูมิ สิง่ เหล่านี้จะต้องสง่ เสรมิ และเออื้ ใหก้ ารพฒั นาประสบความสาเร็จ เชน่ พ้ืนทอ่ี ุดม มภี มู ิอากาศ เหมาะสมกบั การปลกู พืช มรี ะบบการชลประทาน และแหล่งน้าหลอ่ เล้ยี งใหพ้ ชื เจรญิ เตบิ โต มถี นนลาเลียง ขนสง่ ผลผลติ และสินคา้ ออกสู่ตลาด 2. ลักษณะทางเศรษฐกจิ หมายถึงภาวะการถือครองที่ดิน ระบบการขาย-ซอ้ื ผลผลิต ระบบราคา, ภาวะ หนส้ี ิน ระบบการกยู้ ืมและแหล่งสินเชือ้ ความยากจนของประชาชนในพื้นท่ี จะสง่ ผลตอ่ การลงทนุ ในการผลติ และนาไปสู่ภาวะการสญู เสียกรรมสิทธ์ทิ ด่ี ิน ซ่งึ เป็นผลให้เกดิ ความรู้สกึ ผกู พนั ตอ่ การพฒั นา 3. สภาพแวดลอ้ มทางการเมือง ไดแ้ ก่นโยบายการพฒั นาของรฐั บาล ซึง่ อาจแตกตา่ งกันไปตามยคุ สมยั เชน่ สมัย พณ.จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เนน้ การพัฒนารากฐานของการพัฒนาประเทศ มีการลงทุนในสาธารณปู โภค สาธารณูปการ สรา้ งถนนสายสาคญั สร้างเข่อื นกั้นน้า โรงไฟฟูา ฯลฯ สว่ นในยุคของ พณ. พลเอกชาติชาย ชุณหวัณ กเ็ นน้ ด้านเศรษฐกจิ “แปรสนามรบให้เป็นสนามคา้ ” สมยั พณ. พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เนน้ ความ สงบรม่ เยน็ จากปัญหาผู้ก่อการรา้ ย “ใตร้ ่มเย็น-อสี านเขยี ว” สมัย พณ. นายชวน หลีกภัย เนน้ การจัดท่ดี ินทา กนิ และสมยั พต.ท. ดร.ทักษิณ ชนิ วัตร “เน้นการฟื้นฟเู ศรษฐกจิ ” เปน็ ต้น 4. สภาพแวดลอ้ มทางสงั คมอันเป็นเรอ่ื งทเี่ ก่ยี วกบั ความเชือ่ ค่านิยมของคนในสังคม ความสัมพันธ์ระหวา่ ง บุคคล การรวมกลุ่ม และอิทธิพลของกลุ่ม ซ่ึงมีผลตอ่ การดาเนินชีวิต พฤตกิ รรมและความสัมพันธ์ของคนใน ชมุ ชน 5. สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี เปน็ ส่งิ ที่เกิดจากการสร้างสรรค์ปรงุ แต่งของมนษุ ย์ ที่จะนามาใช้ในการ พัฒนาความเป็นอยูข่ องประชาชนให้มคี วามสะดวกสบายขึ้น สงิ่ สาคัญคอื ตอ้ งเลือก และนาเทคโนโลยที ่ี เหมาะสม (Appropriate technology) ไปใช้ โดยไม่ให้เกดิ ผลเสยี ตอ่ สิง่ แวดล้อม ประชาชน และ ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน ซึ่งในสังคมไทยเรามเี ทคโนโลยีเหมาะสมมากมาย อันได้แก่ “ภมู ปิ ญั ญา ชาวบ้าน” ทนี่ ักพัฒนาจะตอ้ งรู้จกั นามาใช้และผสมผสานกับเทคโนโลยีสมยั ใหมใ่ หเ้ กิดประโยชน์สูงสุด สภาพแวดล้อมทีค่ วรเปน็ การพัฒนาตอ้ งคานึงถงึ การพฒั นาทส่ี อดคล้องกับสภาพความ เราอาจเปรียบ ภมู ิ ปญั ญาชาวบา้ นเสมือน ต้นไม้ผลทอ้ งถ่ินท่มี รี ากแก้ว มคี วามทนทานตอ่ สภาพสง่ิ แวดล้อม สว่ นเทคโนโลยี สมัยใหม่ เปรยี บได้เสมือน ก่ิงตอนชน้ั ดี ท่ีเอาเข้าไปตดิ ตาทาบกิง่ เพ่อื ให้ออกดอกออกผลท่ีดี 6. สภาพแวดล้อมท่คี วรเป็น การพฒั นาต้องคานงึ ถึงการพฒั นาทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาพทเ่ี ปน็ จริงและเกดิ ประโยชน์แกป่ ระชาชนในชุมชนน้นั เปน็ ส่วนใหญ่ อันเกิดจากการผสมผสานระหวา่ งสภาพแวดลอ้ มทงั้ 5 ขอ้ ที่ กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม กล่าวมาแล้ว ในขณะท่ีประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี สังคมและสิ่งแวดลอ้ มกต็ ้องไม่เสื่อมโทรม ประชาชน สามารถพึง่ ตนเองได้ในที่สดุ แผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ประเทศไทยไดป้ ระกาศใชแ้ ผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คม ฉบบั แรกตง้ั แต่ปี 2504 โดยอยู่ในสมัยของ พณ. นายกรัฐมนตรจี อมพล สฤิษด์ิ ธนะรชั ต์ จนถึงปี พ.ศ. 2547 ประเทศไทยได้ประกาศใช้แผนพัฒนาการ เศรษฐกจิ และสงั คม มาแล้ว 9 ฉบบั ด้วยกัน โดยในแผนฯ แต่ละฉบับ มจี ดุ เน้นพอสรปุ ได้ดงั นี้ แผนพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ. 2504 – 2509) เปน็ แผน ฯ ฉบบั แรกและฉบับเดียวท่ีมีระยะเวลาของแผน 6 ปี จุดเนน้ ของ แผน ฯ น้ีคอื การปพู ืน้ ฐานเพื่อการเร่งรัดพัฒนาประเทศด้านเศรษฐกิจ โดยเน้นลงทนุ ด้านโครงสร้างพนื้ ฐาน (Infrastructure Facilities) อนั ได้แกก่ ารแร่งรดั สรา้ งระบบชลประทาน พลังงาน ถนน ทางรถไฟ และการ คมนาคมอ่นื ๆ รวมท้ังโครงการบริการตา่ ง ๆ (Services Project) เช่น โครงการวจิ ยั ทดลองด้านเกษตร อตุ สาหกรรม และโครงการพฒั นาการศึกษาสาธารณสขุ แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 – 2514) เนน้ การพัฒนาสงั คม ยกระดับมาตรฐานการครองชีพ ขยายพลังการผลติ รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ กระจายการพัฒนา และเร่งรดั การพัฒนาสูช่ นบท แผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คม ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2515 – 2519) ยังมจี ดุ เน้นดา้ นการกระจายความเจรญิ สชู่ นบท พยายามลดช่องว่างคนรวยกบั คนจน ขยายการผลติ และรกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ เนน้ ใหเ้ อกชนเข้ามามสี ่วนรว่ มในการพฒั นาประเทศ และให้ความสาคัญกับการวางแผนครอบครวั และการมีงานทาเป็นครงั้ แรก แผนพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2520 – 2524) มกี ารกระจายการพัฒนาในรูปแบบภาค และภมู ิภาคเพือ่ การเพิ่มผลผลติ ทาง การเกษตร ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งอตุ สาหกรรม มีโครงการผนั เงนิ อาสาพฒั นาชนบท การสรา้ งงานในชนบท(กสช) โดยมกี ารเน้นการอนรุ ักษแ์ ละฟน้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาตทิ ี่สูญเสยี ไป แผนพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คม กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม ฉบับท่ี 5 (พ.ศ. 2525 – 2529) เป็นแผนทีม่ กี ารกาหนดการดาเนนิ งานในเชงิ รับ และเชิงรกุ เนน้ การแกป้ ัญหา ความยากจน โดยการกาหนดพืน้ ท่ีตามระดบั ความยากจน มีพืน้ ทเี่ ปาู หมาย ชนบทยากจนทวั่ ประเทศ 286 อาเภอ และรกั ษาวินัยทางการเงนิ การคลงั แก้ปัญหาการขาดดลุ การค้า แผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 6 (พ.ศ. 2530 – 2534) เป็นแผนท่ีเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต สง่ เสรมิ ใหเ้ อกชนเข้ามามบี ทบาทในการ พฒั นามากขนึ้ เน้นใหม้ ีการกระจายความเจริญสภู่ ูมภิ าคและชนบทมากขน้ึ แผนพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 7 (พ.ศ. 2535 – 2539) มุ่งเนน้ การสร้างความสมดุลทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้ การพัฒนา ทรพั ยากรมนษุ ย์ และการพัฒนาคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมควบคกู่ นั ไป แผนพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) ในแผนนี้ กาหนดให้ คนเปน็ จุดหมายหลกั ของการพัฒนา เน้นเรื่องการพัฒนา ทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Resource Development) เนน้ การวางแผนพฒั นาแบบองคร์ วม หรือบรู ณาการ ระหวา่ งเศรษฐกิจกับสังคมเข้าดว้ ยกนั มงุ่ เนน้ ความเป็นไทย และสามารถแข่งขนั ในเวทีโลกได้ แผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2544 – 2549) เปน็ แผนที่มีปรชั ญาการพัฒนาบิรหารประเทศตามกระแสพระราชดารขิ อง พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว เร่อื ง เศรษฐกจิ แบบพอเพียง มุง่ เนน้ การพฒั นาท่ียงั่ ยนื ดว้ ยการวางรากฐานการ พัฒนาประเทศใหเ้ ขม้ แขง็ ยง่ั ยืน มีภมู ิคุ้มกนั ทางเศรษฐกิจทส่ี ามารถพึ่งตนเองได้ รวมท้ังความเขม้ แข็งของ ชมุ ชนและเครือข่ายชุมชนให้เกิดการเชอ่ื มโยงการพัฒนาท้งั ชนบทและเมอื งอย่างยั่งยนื มกี ารดูแลจัดการ ทรพั ยากร ส่ิงแวดลอ้ ม ควบคไู่ ปกับการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกบั สังคมไทย เปูาหมาย สาคญั ของแผนฯ ฉบับน้คี ือ การสรา้ งดลุ ภาพทางเศรษฐกจิ การยกระดับคุณภาพชวี ติ การบริหารจัดการระบบ ราชการท้ังสว่ นกลาง ภูมภิ าค และทอ้ งถน่ิ ทด่ี ี กระจายอานาจให้เกิดการบรหิ ารท่โี ปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และ เนน้ การปราบปรามการทจุ ริตประพฤตมิ ชิ อบให้เกิดผล มีการดาเนนิ การทางเศรษฐกิจท่ีเออ้ื อาทรต่อคนจน เปิดโอกาสและสร้างศักยภาพในการพฒั นาใหค้ นจนมีความเขม้ แข็ง มีภมู ิคุ้มกัน สามารถพึ่งตนเองได้ สามารถ ลดอตั ราคนจนให้เหลือไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 12 ของประชากรท้งั ประเทศ ในปี พ.ศ. 2549 ซึ่งเปน็ ปสี ิ้นสุดแผน กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนนิ การ ในการดาเนินงานจดั โครงการหน้าบา้ นสวย หลังบ้านสวน ในเรือนงาม กศน.ตาบลนาดี มรี ายละเอียด ดงั ต่อไปน้ี ขนั้ ตอนการวางแผน (plan) ขั้นตอนการลงมือทา (Do) ขน้ั ตอนการตรวจสอบ (Check) ข้ันตอนการปรบั ปรุงแก้ไข (Act) ขั้นตอนการวางแผน (plan) 1. ดาเนนิ การประชาคมกลุ่มผ้สู นใจเข้าร่วมโครงการ 2. ไดก้ ลมุ่ เปาู หมาย 3. เตรียมหลักสูตร เสนอโครงการเพือ่ ขออนุมัติ 4. แต่งตงั้ คณะทางานภายในตาบล คณะกรรมการนเิ ทศกจิ กรรม 5. ประสานวทิ ยากร ขั้นตอนการลงมือทา (Do) 1. ดาเนนิ การประสานงานผู้ท่เี กี่ยวขอ้ ง ครู กศน.ตาบล ครู ศรช. ผนู้ าชุมชน คณะกรรมการหมู่บา้ นและชาวบา้ นจัดเตรยี ม สถานที่ 2. นาประชาชนท่ีสนใจมาเข้าร่วมกจิ กรรม 3. ประเมนิ ผลโครงการโดยใหผ้ เู้ ข้ารว่ มโครงการออกแบบประเมินความพงึ พอใจในการเข้ารว่ ม โครงการ 4. รวบรวมขอ้ มลู จากแบบประเมนิ 5. สรปุ ผลความพงึ พอใจของผู้เขา้ รว่ มโครงการ ขนั้ ตอนการตรวจสอบ (Check) 1.เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการตรวจสอบ แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการ 2. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล กศน.ตาบลดงมะไฟ ไดด้ าเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากผู้เขา้ ร่วมโครงการ - ประชาชนกลุ่มเปูาหมาย จานวน 36 คน กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม 3.การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การประเมินผลการดาเนนิ งานของโครงการหนา้ บา้ นสวย หลังบา้ นสวน ใน เรือนงาม กศน.ตาบลนาดี ดาเนนิ การวิเคราะห์ข้อมูล ดงั น้ี 3.1 แบบประเมนิ ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไป วิเคราะห์หาคา่ ร้อยละ 3.2 แบบประเมนิ ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจตัวบ่งชข้ี องโครงการ 3.2.1 ใหค้ ะแนนตามนา้ หนกั แบบประเมินฉบบั สมบูรณ์ ตามเกณฑ์ มาตรฐานของ สมศ. โดยมีเกณฑ์ให้คะแนน ดังน้ี ระดบั 5 หมายถงึ ดาเนนิ งานไดต้ ามเกณฑข์ องตัวบ่งชี้ดีมาก ระดับ 4 หมายถงึ ดาเนินงานไดต้ ามเกณฑ์ของตวั บง่ ช้ีดี ระดับ 3 หมายถงึ ดาเนนิ งานได้ตามเกณฑข์ องตวั บง่ ช้พี อใช้ ระดับ 2 หมายถงึ ดาเนนิ งานได้ตามเกณฑข์ องตวั บง่ ชปี้ รบั ปรุง ระดบั 1 หมายถงึ ดาเนนิ งานไดต้ ามเกณฑ์ของตัวบง่ ช้ีตอ้ งปรบั ปรุง 1.2.2 วิเคราะห์ขอ้ มลู โดยการหาคา่ เฉล่ียรอ้ ยละความพงึ พอใจ 1.3 แบบประเมินตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอน่ื ๆ วิเคราะห์ดว้ ยเนื้อหา (Content analysis) กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน การจัดกจิ กรรมโครงการหนา้ บ้านสวย หลังบ้านสวน ในเรือนงาม ณ ศาลาประชาคมบ้านราษฎร์ เกษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคหู า จังหวดั หนองบวั ลาภู สรุปผลการดาเนนิ งานได้ดงั นี้ ชอ่ื โครงการ วันทด่ี าเนนิ การ เปาู ที่ไดร้ บั จัดสรร ผล คดิ เป็นร้อยละ โครงการการหนา้ 16-17 ธันวาคม 32 36 100 บา้ นสวย หลงั บ้าน 2564 สวน ในเรือนงาม การประเมนิ ความพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการหน้าบ้านสวย หลังบา้ นสวน ในเรอื นงาม กศน.ตาบลนาดี ของผูร้ บั บรกิ ารที่เข้ารว่ มโครงการ โดยเสนอรายละเอยี ดตามลาดบั คือ สญั ลกั ษณ์ที่ใช้ใน การวิเคราะหข์ อ้ มูล ลาดับขนั้ ตอนในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู และการแปลความหมาย ขอ้ มูลดงั ตอ่ ไปนี้ สัญลกั ษณ์ท่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การเสนอผลการประเมนิ ครั้งน้ีไดก้ าหนดสัญลักษณ์ที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู ดงั น้ี N แทน ขนาดของกลุ่มผูป้ ระเมินการใชค้ มู่ ือ (Sample size) % แทน คา่ รอ้ ยละ (Percentage) ลาดบั ขนั้ ตอนในการวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ผู้ประเมินได้เสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู เป็นตอนๆ เรียงลาดับดงั น้ี ตอนที่ 1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เกีย่ วกบั ขอ้ มูลทั่วไป ตอนที่ 2 การวิเคราะหข์ อ้ มลู ด้านความพึงพอใจของผรู้ ับบริการ ตอนท่ี 3 การวเิ คราะห์ข้อมลู ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม ในการสรุปผลการดาเนนิ งานโครงการหนา้ บ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม ณ ศาลาประชาคม บ้านราษฎรเ์ กษมศรี ม.7 ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคุหา จงั หวดั หนองบัวลาภู ได้จดั ทาเครื่องมอื เปน็ แบบสอบถาม วดั ระดับความคิดเหน็ และความพงึ พอใจในการดาเนนิ การพัฒนาซึง่ แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ นคอื สว่ นแรกเปน็ คาถามปลายเปิด มาตราส่วนประมาณคา่ (Rating scales) ส่วนท่ี 2 มาตราสว่ นประมาณ คา่ ของ ลิเคิรท์ likert’s Scales 5 ระดับ ส่วนท่สี ามเปน็ คาถามปลายเปดิ ข้อเสนอแนะอื่นๆ สว่ นท่สี าม เป็นคาถามปลายเปดิ เนอื้ หาสาระทต่ี ้องการพฒั นาในครั้งต่อไป ซ่งึ ในการเกบ็ รวบรวมนนั้ ได้แจก แบบสอบถามแก่ผู้เขา้ รว่ มโครงการหนา้ บา้ นสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม จานวน 36 คน ได้ แบบสอบถามคนื จานวน 36 ฉบบั จากผเู้ ข้ารว่ มโครงการ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 กระทาการวิเคราะหข์ ้อมูล ตามประเภทและลกั ษณะของข้อมลู โดยหาค่าเฉลีย่ เป็นค่ารอ้ ยละ ซึง่ ได้วดั ระดบั ความคิดเหน็ และความพึง พอใจทีม่ ตี ่อโครงการจะปรากฏดังน้ี สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพงึ พอใจ โครงการการบริหารจดั การขยะเพอ่ื สิ่งแวดล้อมในชุมชน ตอนที่ 1 ข้อมลู ทัว่ ไป รายการข้อมูลพน้ื ฐาน จานวน รอ้ ยละ (ƒ) (%) 1.เพศ 1.1 ชาย 14 38.89 1.2 หญิง 22 61.11 รวม 36 100.00 2.อายุ 2.1 ตา่ กวา่ 15 ปี 00 2.2 อายุ 15 – 39 ปี 00 2.3 อายุ 40 – 59 ปี 23 63.89 2.4 อายุ 60 ปีข้นึ ไป 13 36.11 รวม 36 100.00 3.ระดับการศึกษา 17 47.22 3.1 ป.4 8 22.22 3.2 ป.6 4 16.12 3.3 ม.ต้น 7 14.44 3.4 ม.ปลาย 00 3.5 ปวช. 00 3.6 ปวส. กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม 3.7 ปริญญาตรี 00 3.8 อนื่ ๆ 00 รวม 36 100.00 4.อาชีพ 4.1 ผนู้ าท้องถิน่ 00 4.2 อบต/เทศบาล 00 4.3 พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ 00 4.4 ทหารกองประจาการ 00 4.5 เกษตรกร 36 100 4.6 รบั ราชการ 00 4.7 คา้ ขาย 00 4.8 รับจา้ ง 00 4.9 อสม. 00 4.10 แรงงานตา่ งดา้ ว 00 4.11 ว่างงาน 00 4.12 อื่นๆ 00 รวม 36 100.00 จากตาราง ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลความพึงพอใจของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการหน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรอื น งาม ผลการวิเคราะห์ปรากฏวา่ ผ้เู ข้ารว่ มโครงการ 36 คน เปน็ เพศหญงิ จานวน 22 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 61.11 เพศชายจานวน 14 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 38.89 ดา้ นอายุ อายุ 40-59 ปี จานวน 23 คน คิดเปน็ ร้อยละ 63.89 อายุ 60 ปี ข้ึนไป จานวน 13 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 36.61 ตามลาดบั ระดับการศกึ ษา ป. 4 จานวน 17 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 47.22 ป.6 จานวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 22.22 ม.ปลาย จานวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 14.44 และม.ตน้ จานวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16.12 ตามลาดบั ดา้ นอาชีพ เกษตรกร จานวน 36 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม สรปุ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ความพึงพอใจ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หลักสูตรหน้าบา้ นสวน หลงั บ้าน สวน ในเรอื นงาม ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจในการให้บรกิ าร ตารางที่ 2.1 จุดม่งุ หมาย/เนอ้ื หาหลกั สูตร ระดับความพงึ พอใจ/จานวน หมาย เหตุ ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ทส่ี ดุ กลาง ท่ีสุด ตอนท่ี ๑ ความพงึ พอใจดา้ นเนือ้ หา 1 เนื้อหาตรงตามความตอ้ งการ 34 2 94.44 5.56 2 เนอื้ หาเพียงพอตอ่ ความต้องการ 36 100 3 เนอ้ื หาปจั จุบันทนั สมัย 35 1 97.22 2.78 4 เนอื้ หามีประโยชนต์ อ่ การนาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพ 36 ชีวิต 100 ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นอบรม 35 1 97.22 2.78 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 33 3 91.67 8.33 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 36 100 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปาู หมาย 36 100 9 วิธกี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 34 2 94.44 5.56 ตอนท่ี ๓ ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 10 วิทยากรมีความร้คู วามสามารถในเรื่องท่ีถ่ายทอด 36 100 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้สอ่ื เหมาะสม 34 2 94.44 5.56 กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีสว่ นร่วมและซักถาม 36 100 ตอนที่ ๔ ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก 36 100 14 การสื่อสาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้ 36 100 15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแก้ปญั หา 34 2 94.44 5.56 สรุปความคิดเหน็ และความพึงพอใจของผรู้ ับบริการ โครงการพฒั นาสังคมและชุมชน หลักสูตรหน้าบา้ นสวย หลังบ้านสวน ในเรอื นงาม สรุปไดด้ งั น้ี ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนอื้ หา ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจด้านเน้อื หา ดงั น้ี เนอ้ื หามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพฒั นา คณุ ภาพชีวติ ตอบมากท่ีสุดรอ้ ยละ 100 เนื้อหามีความเพียงพอตอ่ ความต้องการ ตอบมากท่สี ุดรอ้ ยละ 100 เน้อื หาปัจจบุ ันทันสมัย ตอบมากท่ีสุดร้อยละ 97.22 ตอบมากร้อยละ 2.78 .เน้ือหาตรงตามความตอ้ งการ ตอบมากที่สุดร้อย 94.44 และตอบมากรอ้ ยละ 5.56 ตามลาดบั ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมการอบรม ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปูาหมาย ตอบมากทีส่ ดุ ร้อยละ 100 จดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา ตอบมากท่สี ดุ ร้อยละ 100 การเตรยี มความพร้อมก่อนการ อบรม ตอบมากท่ีสดุ รอ้ ยละ 97.22 ตอบมากรอ้ ยละ 2.78 และ วิธกี ารวัดผล ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ตอบมากทสี่ ุดรอ้ ยละ 94.44 ตอบมากรอ้ ยละ 5.56 และการออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ ตอบมากทสี่ ุดรอ้ ยละ 91.67 ตอบมากรอ้ ยละ 8.33 ตามลาดบั ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วทิ ยากร ผ้ตู อบแบบสอบถามมคี วามพงึ พอใจด้านวิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรื่องทถ่ี ่ายทอด ตอบมาก ท่ีสุดรอ้ ยละ 100 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มสี ่วนร่วมและซกั ถาม ตอบมากทสี่ ุดรอ้ ยละ 100 วิทยากรมี เทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ือ่ ที่เหมาะสม ตอบมากท่ีสุดรอ้ ยละ 94.44 และตอบมากร้อยละ 5.56 ตามลาดับ ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก ผูต้ อบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจด้านสถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก ดา้ น การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพือ่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ ตอบมากทส่ี ุดร้อยละ 100และดา้ นการบรกิ าร การ ช่วยเหลือและการแกป้ ัญหา ตอบมากที่สุดร้อยละ 94.44 ตอบมากรอ้ ยละ 5.56 กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม บทท่ี 5 สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ การดาเนนิ งานโครงการพฒั นาสังคมและชมุ ชน หลักสตู รหน้าบ้านสวย หลงั บา้ นสวน ในเรือนงาม สรุปผลการดาเนินงานได้ดังน้ี 1. เพอื่ เป็นการเสริมสรา้ งกระบวนการเรียนรู้ และพฒั นาสังคมและชุมชนใหม้ คี วามเข้มแขง็ สามารถ พง่ึ พาตนเองได้ 2. เพื่อเปน็ การค้นหาปัญหา และกาหนดแนวทางในการแก้ปญั หารว่ มกนั ในชมุ ชนตามวถิ ีความพอเพียง 3. เพ่ือสร้างจติ สานึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมอื งดีเศรษฐกิจชุมชน และการอนุรักษ์ พัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม เป้าหมาย เชงิ ประมาณ ประชาชนตาบลนาดี จานวน 36 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปูาหมาย มีความรู้ทักษะด้านต่างๆท่ีผู้เข้าร่วม กจิ กรรมสามารถนาความรู้ที่ไดร้ บั มาใช้ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเองและสังคมนาไปใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อแก้ไข ปญั หาของตนเองและทอ้ งถนิ่ ผลการดาเนินโครงการ ประชาชนตาบลนาดี ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการหนา้ บ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม มีความพอใจใน การจดั กจิ กรรมในระดบั ดีขึ้นไป รอ้ ยละ 100 และประชาชนที่เข้ารว่ มกิจกรรมสามารถนาความรู้ทีไ่ ดไ้ ปใช้ใน ชีวิตประจาวนั ปญั หา-อปุ สรรค - แนวทางแก้ไขปัญหา ขอ้ เสนอแนะ ประชาชนทเี่ ข้าร่วมโครงการสามารถนาความร้ทู ไ่ี ดไ้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม ภาคผนวก กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม ภาพประกอบกิจกรรมกิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน โครงการหนา้ บ้านสวย หลงั บา้ นสวน ในเรอื นงาม ดาเนินการระหว่างวนั ท่ี 16-17 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคมบ้านราษฎรเ์ กษมศรี ม.7 ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคูหา ลงทะเบยี นผู้เข้ารว่ มโครการฯ กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม นายฤาชยั สาจันทร์ นายกเทศบาลตาบลนาดี ให้เกยี รติมาเปน็ ประธานเปดิ โครงการฯ กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม . วทิ ยากรใหค้ วามรู้ กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม วทิ ยากร กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม ใหช้ าวบา้ นนายางรถยนตท์ ไ่ี ม่ได้ใช้แล้วมาทากระถาง เพ่อื ไปปลกู พชื ผักต่างๆ กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม คณะผจู้ ดั ทาณาน ทป่ี รึก า นายวินยั แสงใส ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งหนองบัวลาภู รกั ษาการในตาแหน่ง ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอสวุ รรณคูหา นางสาวพชิ ชาพิมพ์ เพช็ รเวยี ง ครู ผูช้ ว่ ย นางสาวอารยา วชิ าสวสั ด์ิ ครู ผชู้ ่วย นายวชรพล เพียเทพ ครอู าสามสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน นายอภชิ าติ สุทธิโสม ครอู าสามสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น นางสุวรรณา สทุ ธิโสม ครูอาสามสมัครการศึกษานอกโรงเรียน คณะทางาน นางสภุ าวดี ไชยโพธ์ิ ครู กศน.ตาบล นายอฒั ชา คาสีทา ครู กศน.ตาบล นายพสิ ิษฐ โคตุราช ครู กศน.ตาบล ผู้รวบรวม/เรียบเรียง/จัดรปู เล่ม นางสภุ าวดี ไชยโพธิ์ ครู กศน.ตาบล ออกแบบปก ครู กศน.ตาบล นางสุภาวดี ไชยโพธ์ิ เจา้ ของเอกสาร กศน.ตาบลนาดี กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม กศน.ตาบลนาดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook