Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Network Architecture

Network Architecture

Published by wiraya_srikarw, 2021-07-09 07:59:57

Description: Network Architecture

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการเชื่อมต่อ ระบบเครือข่าย

สถาปัตกรรมเครือข่าย (Network Architecture)

สถาปัตยกรรมเครือข่าย นิยาม เลเยอร์ (Layer) โครงสร้างของการสื่อสารขอ้ มูล ภายในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะถูกแบ่งออกเป็ น ช้นั ๆ (Level) เรียกวา่ เลเยอร์ (Layer) ซ่ึงแต่ละเลเยอร์ จะมีขบวนการลาดบั การทางานของตนเอง แต่ละเลเยอร์ จะมีหลายเลขลาดบั ชื่อ รายละเอียด และหนา้ ท่ีการทา งานของตนแตกต่างกนั ไป

สถาปัตยกรรมเครือข่าย(ต่อ) โปรโตคอล (Protocol) คือ กลุ่มหรือเซ็ตของข้นั ตอน รูปแบบ ลกั ษณะหรือวิธีการสื่อสารในการทาใหอ้ ุปกรณ์ ต่าง ๆ สามารถติดต่อส่ือสารกนั ได้ ในสถาปัตยกรรมเครือขา่ ย การส่ือสารกนั ระหวา่ ง คอมพิวเตอร์กบั คอมพิวเตอร์ โปรโตคอลแบบหน่ึงจะใช้ สาหรับการสื่อสารระหวา่ งเลเยอร์ช้นั N ของคอมพิวเตอร์ เครื่องหน่ึงกบั เลเยอร์ช้นั N เดียวกนั ของอีกเคร่ืองหน่ึง

สถาปัตยกรรมเครือข่าย(ต่อ) ในการสื่อสารขอ้ มูลจริง ๆ น้นั เลเยอร์ N ของอุปกรณ์ ท้งั สองเคร่ืองจะสื่อสารผา่ นเลเยอร์ช้นั ล่างซ่ึงเป็นกายภาพ (คือ ส่ือกลางในการสื่อสาร) แต่ในแนวความคิดของการส่ือสารขอ้ มูล ถือวา่ เลเยอร์ N ของเครื่องหน่ึงกาลงั ติดต่อโดยตรงกบั เลเยอร์ N ของอีกเครื่องหน่ึง เรียกการส่ือสารแบบน้ีวา่ “การส่ือสาร แบบเสมือนจริง” (Virtual Communication)

สถาปัตยกรรมเครือข่าย(ต่อ) อินเตอร์เฟซ (Interface) ในการติดต่อส่ือสารระหวา่ ง เลเยอร์ช้นั N และช้นั N+1 หรือช้นั N-1 โดยทว่ั ไปเลเยอร์ ช้นั ล่างจะทางานใหก้ บั เลเยอร์ท่ีอยชู่ ้นั บน ถา้ หากมีการ เปล่ียนแปลงในเลเยอร์ใด เลเยอร์ในช้นั อ่ืน ๆ จะไม่มีผล กระทบกระเทือนเลย ตราบใดท่ีอินเตอร์เฟซระหวา่ ง เลเยอร์น้นั ยงั คงเหมือนเดิม

สถาปัตยกรรมเครือข่าย(ต่อ) เซตหรือกลุ่มของเลเยอร์และโปรโตคอลและอินเตอร์- เฟซรวมกนั เรียกวา่ “สถาปัตยกรรมเครือขา่ ย” (Network Architecture)

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI ในปี ค.ศ.1977 องคก์ ร ISO (International Organization for Standard) ไดจ้ ดั ต้งั คณะกรรมการข้ึนกลุ่มหน่ึง เพือ่ ทา การศึกษาจดั รูปแบบมาตรฐาน และพฒั นาสถาปัตยกรรม เครือข่าย และในปี ค.ศ.1983 องคก์ ร ISO กไ็ ดอ้ อกประกาศ รูปแบบของสถาปัตยกรรมเครือขา่ ยมาตรฐานในช่ือของ \"รูปแบบ OSI\" (Open Systems Interconnection Model) เพือ่ ใชเ้ ป็นรูปแบบมาตรฐานในการเชื่อมต่อระบบคอม พวิ เตอร์

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) อกั ษร \"O\" หรือ \" Open\" กห็ มายถึง การที่ คอมพวิ เตอร์ หรือระบบคอมพวิ เตอร์หน่ึงสามารถ \"เปิ ด\" กวา้ งให้ คอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่น ที่ใชม้ าตรฐาน OSI เหมือนกนั สามารถติดต่อไปมาหาสู่ ระหวา่ งกนั ได้

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) จุดมุ่งหมายของการกาหนดมาตรฐานรูปแบบ OSI เพ่ือเป็ นการกาหนดการแบ่งโครงสร้างของสถาปัตยกรรม เครือข่ายออกเป็นเลเยอร์ ๆ และกาหนดหนา้ ที่การทางาน ในแต่ละเลเยอร์ รวมถึงกาหนดรูปแบบการอินเตอร์เฟซ ระหวา่ งเลเยอร์ดว้ ย โดยมีหลกั เกณฑใ์ นการกาหนด ดงั ต่อไปน้ี

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) 1. ไม่แบ่งโครงสร้างออกเป็นเลเยอร์ ๆ มากจนเกินไป 2. แต่ละเลเยอร์จะตอ้ งมีหนา้ ที่การทางานแตกต่างกนั ท้งั ขบวนการและเทคโนโลยี 3. จดั กลุ่มหนา้ ที่การทางานท่ีคลา้ ยกนั ใหอ้ ยใู่ นเลเยอร์ เดียวกนั 4. เลือกเฉพาะการทางานท่ีเคยใชไ้ ดผ้ ลประสบความสาเร็จ มาแลว้

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) 5. กาหนดหนา้ ที่การทางานเฉพาะง่าย ๆ แก่เลเยอร์ เผอื่ วา่ ต่อไปถา้ มีการออกแบบเลเยอร์ใหม่ หรือมีการ เปลี่ยนแปลงโปรโตคอลใหม่ในอนั ท่ีจะทาใหส้ ถาปัตย- กรรมมีประสิทธิภาพดียง่ิ ข้ึน จะไม่มีผลทาใหอ้ ุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ และซอฟตแ์ วร์ท่ีเคยใชไ้ ดผ้ ลอยเู่ ดิมจะตอ้ ง เปลี่ยนแปลงตาม 6. กาหนดอินเตอร์เฟซมาตรฐาน

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) 7. ใหม้ ีความยดื หยนุ่ ในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอล ในแต่ละเลเยอร์ 8. สาหรับเลเยอร์ยอ่ ยของแต่ละเลเยอร์ใหใ้ ชห้ ลกั เกณฑ์ เดียวกนั กบั ท่ีกล่าวมาใน 7 ขอ้ แรก

แบบจำลอง OSI

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) โฮสต์ A โปรโตคอล Application โฮสต์ B 7 Application โปรโตคอล Presentation 7 Application อินเตอร์เฟซ 6/7 โปรโตคอล Session อินเตอร์เฟซ 5/6 6 Presentation โปรโตคอล Transport 6 Presentation อินเตอร์เฟซ 4/5 5 Session โปรโตคอล Network 5 Session อินเตอร์เฟซ 3/4 4 Transport โปรโตคอล Data Link 4 Transport อินเตอร์เฟซ 2/3 3 Network 0101 0101 0101 0101 3 Network อินเตอร์เฟซ 1/2 2 Data Link 2 Data Link 1 Physical สายส่ือสาร 1 Physical

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) Application Layer เสมือนเช่ือมต่อกนั Application Layer Presentation Layer Presentation Layer Session Layer Session Layer Transport Layer Transport Layer Network Layer Network Layer Datalink Layer Datalink Layer Physical Layer Physical Layer สายส่ งข้ อมูลจริง

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) Apoprileicnatteidon- Application Layer 7 Layer Presentation Layer 6 5 Aจpดั pกlาicรaเรti่ือoงn Session Layer Network-dependent Transport Layer 4 Layer Network Layer 3 Datalink Layer 2 ขดู้แอลมเูลรใ่ือนงกNาeรtรwับoสr่kง Physical Layer 1 การแบ่งกล่มุ ของ OSI 7-Layer Reference Model



สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) 1. เลเยอร์ช้ัน Physical เป็นช้นั ล่างสุดของการติดต่อสื่อ สาร ทาหนา้ ท่ีส่ง-รับขอ้ มูลจริง ๆ จากช่องทางการสื่อสาร (สื่อกลาง) ระหวา่ งคอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงกบั คอมพิวเตอร์ เครื่องอื่น ๆ มาตรฐานสาหรับเลเยอร์ช้นั น้ีจะกาหนดวา่ แต่ ละคอนเนคเตอร์ (Connector) เช่น RS-232-C มีก่ีพนิ (PIN) แต่ละพินทาหนา้ ที่อะไรบา้ ง ใชส้ ญั ญาณไฟก่ีโวลต์ เทคนิคการมลั ติเพลก็ ซ์แบบต่าง ๆ เป็นตน้

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) 2. เลเยอร์ช้ัน Data Link จะเป็นเสมือนผตู้ รวจสอบ หรือ ควบคุมความผดิ พลาดในขอ้ มูลโดยจะแบ่งขอ้ มูลที่จะส่ง ออกเป็นแพก็ เกจหรือเฟรม ถา้ ผรู้ ับไดร้ ับขอ้ มูลถูกตอ้ งกจ็ ะ ส่งสญั ญาณยนื ยนั กลบั วา่ ไดร้ ับขอ้ มูลแลว้ เรียกวา่ สญั ญาณ ACK (Acknowledge) ใหก้ บั ผสู้ ่ง แต่ถา้ ผสู้ ่งไม่ไดร้ ับ สญั ญาณ ACK หรือไดร้ ับสญั ญาณ NAK (Negative Acknowledge) กลบั มา

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) ผสู้ ่งกอ็ าจจะทาการส่งขอ้ มูลไปใหใ้ หม่ อีกหนา้ ท่ีหน่ึง ของเลเยอร์ช้นั น้ีคือป้องกนั ไม่ใหเ้ ครื่องส่งทาการส่งขอ้ มูล เร็วจนเกิดขีดความสามารถเครื่องผรู้ ับจะรับขอ้ มูลได้

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) 3. เลเยอร์ช้ัน Network เป็นช้นั ท่ีออกแบบหรือกาหนด เสน้ ทางการเดินทางของขอ้ มูลที่ส่ง-รับในการส่งผา่ น ขอ้ มูลระหวา่ งตน้ ทางและปลายทาง ซ่ึงแน่นอนวา่ ในการ ส่ือสารขอ้ มูลผา่ นเครือข่ายการสื่อสารจะตอ้ งเสน้ ทางการ รับ-ส่งขอ้ มูลมากกวา่ 1 เสน้ ทาง

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) ดงั น้นั เลเยอร์ช้นั Network น้ีจะมีหนา้ ที่เลือกเสน้ ทางที่ ใชเ้ วลาในการสื่อสารนอ้ ยท่ีสุด และระยะทางส้นั ที่สุดดว้ ย ข่าวสารท่ีรับมาจากเลเยอร์ช้นั ท่ี 4 จะถูกแบ่งออกเป็น แพก็ เกต ๆ ในช้นั ที่ 3 น้ี

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) 4. เลเยอร์ช้ัน Transport บางคร้ังเรียกวา่ เลเยอร์ช้นั Host-to-Host หรือเครื่องต่อเครื่อง และจากเลเยอร์ช้นั ท่ี 4 ถึงช้นั ที่ 7 น้ีรวมกนั จะเรียกวา่ เลเยอร์ End-to-End ในเลเยอร์ช้นั Transport น้ีเป็นการส่ือสารกนั ระหวา่ งตน้ ทางและปลายทาง (คอมพวิ เตอร์กบั คอมพวิ เตอร์) กนั จริง ๆ

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) เลเยอร์ช้นั Transport จะทาหนา้ ท่ีตรวจสอบวา่ ขอ้ มูลที่ ส่งมาจากเลเยอร์ช้นั Session น้นั ไปถึงปลายทางจริง ๆ หรือไม่ ดงั น้นั การกาหนดตาแหน่งของขอ้ มูล (Address) จึงเป็นเร่ืองสาคญั ในช้นั น้ี เนื่องจากจะตอ้ งรับรู้วา่ ใครคือ ผสู้ ่ง และใครคือผรู้ ับขอ้ มูลน้นั

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) 5. เลเยอร์ช้ัน Session ทาหนา้ ท่ีเช่ือมโยงระหวา่ งผใู้ ชง้ าน กบั คอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่ืน ๆ โดยผใู้ ชจ้ ะใชค้ าสงั่ หรือ ขอ้ ความที่กาหนดไวป้ ้อนเขา้ ไปในระบบ ในการสร้าง การเช่ือมโยงน้ีผใู้ ชจ้ ะตอ้ งกาหนดรหสั ตาแหน่งของจุด หมายปลายทางที่ตอ้ งการติดต่อสื่อสารดว้ ย

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) เลเยอร์ช้นั Session จะส่งขอ้ มูลท้งั หมดใหก้ บั เลเยอร์ช้นั Transport เป็นผจู้ ดั การต่อไป ในบางเครือข่ายท้งั เลเยอร์ Session และเลเยอร์ Transport อาจจะเป็นเลเยอร์ช้นั เดียวกนั

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) 6. เลเยอร์ช้ัน Presentation ทาหนา้ ที่เหมือนบรรณารักษ์ กล่าวคือคอยรวบรวมขอ้ ความ (Text) และแปลงรหสั หรือแปลงรูปของขอ้ มูลใหเ้ ป็นรูปแบบการสื่อสารเดียวกนั เพอ่ื ช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดข้ึนกบั ผใู้ ชง้ านใน ระบบ

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) 7. เลเยอร์ช้ัน Application เป็นเลเยอร์ช้นั บนสุดของรูป- แบบ OSI ซ่ึงเป็นช้นั ท่ีใชต้ ิดต่อกนั ระหวา่ งผใู้ ชโ้ ดยตรง ซ่ึงไดแ้ ก่ โฮสตค์ อมพวิ เตอร์ เทอร์มินลั หรือคอมพิวเตอร์ PC เป็นตน้ แอปพลิเคชนั ในเลเยอร์ช้นั น้ีสามารถนาเขา้ หรือออกจากระบบเครือข่ายไดโ้ ดยไม่จาเป็นตอ้ งสนใจ วา่ จะมีข้นั ตอนการทางานอยา่ งไร เพราะจะมีเลเยอร์ช้นั Presentation เป็นผรู้ ับผดิ ชอบแทนอยแู่ ลว้

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) ในรูปแบบ OSI เลเยอร์น้นั Application จะทาการติดต่อ กบั เลเยอร์ช้นั Presentation โดยตรงเท่าน้นั โปรโตคอลของในแต่ละช้นั จะแตกต่างกนั ออกไป อยา่ งไรกต็ ามการที่เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ หลาย ๆ เคร่ืองจะ ติดต่อส่ือสารกนั ได้ ในแต่ละเลเยอร์ของแต่ละเคร่ืองจะ ตอ้ งใชโ้ ปรโตคอลแบบเดียวกนั

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI (ต่อ) หรือถา้ ใชโ้ ปรโตคอลต่างกนั กต็ อ้ งมีอุปกรณ์ หรือ ซอฟร์แวร์ท่ีสามารถแปลงโปรโตคอลที่ต่างกนั น้นั ใหม้ ีรูปแบบเป็นอยา่ งเดียวกนั เพ่ือเช่ือมโยงใหค้ อม- พิวเตอร์ท้งั 2 เครื่องสามารถติดต่อกนั ได้

สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI สรุปหน้าทกี่ ารทางานแต่ละเลเยอร์ 1. Physical เป็นช้นั ล่างสุด ทาหนา้ ที่รับส่งขอ้ มูลจริง ๆ จาก ช่องทางการส่ือสาร 2. Data Link เป็นผตู้ รวจสอบ หรือ ควบคุมความผดิ พลาดใน ขอ้ มูล 3. Network ออกแบบหรือกาหนดเสน้ ทางการเดินของขอ้ มูลที่ ส่ง-รับ

สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI สรุปหน้าทกี่ ารทางานแต่ละเลเยอร์ 4. Transport ตรวจสอบขอ้ มูลท่ีส่งมาเลเยอร์ Session วา่ ไป ถึงปลายทางจริงหรือ ไม่ ตอ้ งรู้วา่ ใครคือผสู้ ่งและผรู้ ับ 5. Session เช่ือมโยงระหวา่ งผใู้ ชง้ านคอมพวิ เตอร์เครื่องอ่ืน ๆ 6. Presentation คอยรวบรวม ขอ้ มูล และแปลง รหสั ใหอ้ ยใู่ น รูปแบบเดียวกนั 7. Application เป็นช้นั ท่ีติดต่อกบั ผใู้ ชโ้ ดยตรง

เลเยอร์ท้งั 7 เลเยอร์ มีดงั นี้ 1. Physical Layer เลเยอร์นีเ้ ป็ นเลเยอร์ล่างสุดทต่ี ิดกบั ฮาร์ดแวร์ เลเยอร์นีจ้ ะนิยามถงึ สื่อส่งข้อมูลเชื่อมต่อกบั คอมพวิ เตอร์และรวมถึงการกาหนดว่า สัญญาณข้อมูลจะวง่ิ ผ่าน บนส่ือข้อมูลได้อย่างไร 2. Data Link Layer เลเยอร์นีจ้ ะทาหน้าทร่ี วมกล่มุ ข้อมูลเข้าด้วยกนั เป็ นชุดเพ่ือ เตรียมส่ง ข้อมูลบนเครือข่าย 3. Network Layer เลเยอร์นีท้ าหน้าทแ่ี ยกแยะคอมพวิ เตอร์แต่ละตัวบนเครือข่าย และ กาหนดทศิ ทางการวงิ่ ของข้อมูลบนเครือข่าย 4. Transport Layer เลเยอร์นีท้ าหน้าทแ่ี ก้ไขข้อผดิ พลาดในการส่งข้อมูลและรับประกนั ว่าข้อมูลส่ งถึงปลายทางแน่ นอน 5. Session Layer เลเยอร์นีท้ าให้อปุ กรณ์สองตัวหรือโปรแกรมประยุกต์สองตวั เชื่อม ต่อ และสามารถติดต่อสื่อสารกนั ได้ 6. Presentation Layer เลเยอร์นีเ้ ป็ นการจดั รูปแบบข้อมูลซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นโค้ดควบคุม เพ่ือโปรแกรมแอปพลเิ คช่ันสามารถอ่านข้อมูล นีไ้ ด้ 7. Application Layer เลเยอร์นีเ้ ป็ นการแลกเปลย่ี นข้อมูลระหว่างโปรแกรมทรี่ ันอยู่ บน คอมพวิ เตอร์และบริการอ่ืนในเครือข่าย เช่น ดาต้าเบส หรือบริการงานพมิ พ์ Reference : http://www.etaf.co.uk



สถาปัตยกรรมเครือข่าย TCP/IP โปรโตคอลชนิดหน่ึงที่ใชส้ าหรับการสื่อสารขอ้ มูล ในเครือข่ายที่ไดร้ ับการพฒั นาแลว้ และไดร้ ับความ นิยมมากที่สุดในปัจจุบนั คือ ชุดโปรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เพราะเป็นโปรโตคอลหลกั ท่ีใชใ้ นการเช่ือมโยงการส่ือ สารภายในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

สถาปัตยกรรมเครือข่าย TCP/IP (ต่อ) โปรโตคอล TCP/IP สามารถใชเ้ ช่ือมโยงการส่ือสาร ขอ้ มูลระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ท่ีมีระบบแตกต่างกนั ทาให้ สามารถติดต่อส่ือสารกนั ได้

สถาปัตยกรรมเครือข่าย TCP/IP (ต่อ) เนื่องจาก OSI เกิดข้ึนมาหลงั จากท่ี TCP/IP ไดม้ ีการ ใชง้ านกนั อยา่ งแพร่หลายแลว้ รวมถึง TCP/IP เป็น โปรโตคอลชนิดท่ีใหใ้ ชไ้ ดฟ้ รีไม่ตอ้ งจ่ายค่าลิขสิทธ์ิ และเป็นโปรโตคอลหลกั ในอินเทอร์เน็ต ทาให้ มาตรฐานของ TCP/IP เป็นที่ยอมรับกนั อยา่ งกวา้ งขวาง และมีผใู้ ชร้ ับส่งขอ้ มูลมากท่ีสุดในปัจจุบนั

สถาปัตยกรรมเครือข่าย TCP/IP (ต่อ) TCP/IP มีการแบ่งโปรโตคอลส่ือสารออกเป็นช้นั ๆ โดยมีจานวนช้นั อยู่ 4 ช้นั ทาใหส้ ามารถเปรียบเทียบกบั OSI model ไดโ้ ดยง่าย จะเรียกลาดบั ช้นั ของ TCP/IP วา่ TCP/IP Stack

สถาปัตยกรรมเครือข่าย TCP/IP (ต่อ) Process Layer (FTP, Telnet, SNMP) Host - to - Host Layer (TCP) Internetwork Layer (IP) Network Interface (IEEE 802.3, 802.5) โครงสร้างของโปรโตคอล TCP/IP (TCP/IP Stack)

สถาปัตยกรรมเครือข่าย TCP/IP (ต่อ) 1. ช้ัน Process Layer จะเป็น Application protocol ท่ีทา หนา้ ท่ีเช่ือมต่อกบั ผใู้ ชแ้ ละใหบ้ ริการต่างๆ เช่น FTP, Telnet, SNMP ฯลฯ

สถาปัตยกรรมเครือข่าย TCP/IP (ต่อ) 2. ช้ัน Host - to - Host Layer จะเป็น TCP หรือ UDP ที่ทาหนา้ ท่ีคลา้ ยกบั Layer ท่ี 4 ของ OSI Model คือ ควบคุมการรับส่งขอ้ มูลจากปลายดา้ นส่งถึงปลายดา้ นรับ ขอ้ มูลและตดั ขอ้ มูลออกเป็นส่วนยอ่ ยใหเ้ หมาะสมกบั เครือข่ายที่ใชร้ ับส่งขอ้ มูล รวมท้งั ประกอบขอ้ มูลส่วนยอ่ ยๆ น้ีเขา้ ดว้ ยกนั เมื่อถึงปลายทาง

สถาปัตยกรรมเครือข่าย TCP/IP (ต่อ) 3. Internetwork Layer ไดแ้ ก่ส่วนของโปรโตคอล IP ซ่ึงทาหนา้ ท่ีคลา้ ยกบั Layer ท่ี 3 ของ OSI Model คือเชื่อม ต่อคอมพวิ เตอร์เขา้ กบั ระบบเครือข่ายท่ีอยชู่ ้นั ล่างลงไป และทาหนา้ ที่เลือกเสน้ ทางการรับส่งขอ้ มูลผา่ นอุปกรณ์ เครือข่ายต่างๆ จนไปถึงผรู้ ับขอ้ มูล ในช้นั น้ีจะจดั การกบั กลุ่มขอ้ มูลที่เรียกวา่ Frame ในรูปแบบของ TCP/IP

สถาปัตยกรรมเครือข่าย TCP/IP (ต่อ) 4. ช้ัน Network Interface คือช้นั ที่ควบคุมฮาร์ดแวร์การ รับส่งขอ้ มูลผา่ นเครือข่าย ซีงเทียบไดก้ บั Layer ที่ 1 และ 2 ของ OSI Model ในช้นั น้ีจะทาหนา้ ท่ีเชื่อมต่อกบั ฮาร์ดแวร์ และควบคุมการรับส่งขอ้ มูลในระดบั ฮาร์ดแวร์ของเครือ ข่าย ซ่ึงที่ใชก้ นั อยจู่ ะเป็นตามมาตรฐานของ IEEE เช่น IEEE 802.5 จะเป็นการเช่ือมต่อผา่ น LAN แบบ Token Ring เป็นตน้

สถาปัตยกรรมเครือข่าย TCP/IP (ต่อ) TCP/IP Stack OSI 7-Layer Model Process Layer (FTP, Telnet, SNMP) Application Layer Host - to - Host Layer Presentation Layer (TCP) Session Layer Internetwork Layer Transport Layer Network Layer (IP) Datalink Layer Network Interface Physical Layer (IEEE 802.3, 802.5)

สรุป สถาปัตยกรรมเครือข่าย หมายถึง เซตหรือกลุ่มของ เลเยอร์และโปรโตคอลและอินเตอร์เฟซรวมกนั สถาปัตยกรรมเครือข่ายที่เป็นมาตรฐาน คือ สถาปัตยกรรมเครือข่ายแบบ OSI ซ่ึงประกอบไปดว้ ย Physical Layer, Data Link Layer, Network Layer, Transport Layer, Session Layer, Presentation Layer และ Application Layer ซ่ึงแต่ละเลเยอร์กม็ ีหนา้ ท่ีต่างกนั ไป

สรุป (ต่อ) สถาปัตยกรรมเครือข่ายที่เป็นท่ีนิยมและใชก้ นั มากใน ปัจจุบนั ไดแ้ ก่ สถาปัตยกรรมเครือข่ายแบบ TCP/IP เน่ืองจากเป็นโปรโตคอลท่ีใชใ้ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประกอบไปดว้ ย Network Interface, Internetwork Layer, Host-to-Host Layer และ Process Layer


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook