Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารสำนักทรัพย์สินมีค่าของเเผ่นดิน ฉบับที่ 37

สารสำนักทรัพย์สินมีค่าของเเผ่นดิน ฉบับที่ 37

Published by pipittanarak, 2020-03-18 04:00:02

Description: มรดกโลกบนเหรียญที่ระลึกประจำจังหวัด

Keywords: สารสำนัก

Search

Read the Text Version

เ ป ด ส า ร สวัสดีค่ะผู้อ่านทุกท่าน เน้ือหาในสารส�านักฯ ฉบับน้ีเร่ิมต้นด้วยเรื่องน่ายินดีท่ีจะบอกกล่าวผู้อ่าน ทกุ ทา่ นว่า “พพิ ิธภัณฑ์เหรียญกษาปณานุรกั ษ์” (พ ิ - พิด - ทะ - พัน - เหรียน - กะ - สา - ปะ - นา - น ุ - รกั ) ภายใต้การด�าเนินงานของส�านักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ ได้เปิดบริการให้ประชาชนเข้าชม อยา่ งเตม็ รูปแบบท้งั ๓ ช้ัน ต้งั แต่วนั ท่ี ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๒ ท่ีผ่านมา ภายในพิพิธภัณฑม์ ีการจดั แสดงเงนิ ตรา ต้ังแต่ยุคโบราณจนถึงปัจจุบัน รวมถงึ เหรียญนานาชาติ โดยน�าเทคโนโลยีที่ทนั สมัยมาใช้รว่ มกับการจัดแสดง วตั ถแุ ละการบอกเลา่ เรอื่ งราว เชน่ ระบบ Interactive เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ ชมมสี ว่ นรว่ มกบั การชมนทิ รรศการ การจา� ลอง เหตุการณ์ในอดีตเพื่อให้เห็นภาพการใช้เงินในอดีตได้ชัดเจนย่ิงขึ้น และเกมแฟนพันธุ์แท้เหรียญให้ผู้เข้าชม ไดท้ ดสอบความรู้และรว่ มสนุก ฯลฯ นอกจากนัน้ ยงั ได้นา� แนวคิดอารยสถาปตั ยห์ รือการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) มาใชใ้ นการออกแบบอาคารและการจดั แสดงสา� หรบั ผเู้ ขา้ ชมหลายประเภท ไมว่ า่ จะเปน็ เดก็ ผสู้ งู อายุ รวมถงึ ผ้พู ิการอีกด้วย พพิ ธิ ภณั ฑเ์ หรยี ญกษาปณานรุ กั ษน์ บั เปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นเงนิ ตราทท่ี นั สมยั และใหญท่ ส่ี ดุ ในประเทศไทย หากทา่ นผอู้ า่ นทา่ นใดสนใจหรอื ผา่ นมาบรเิ วณวดั ชนะสงครามหรอื ถนนขา้ วสาร ขอเชญิ แวะมาเยยี่ มชมกนั นะคะ คณะผู้จดั ทา�

ส า ร บั ญ วตั ถุประสงค์ พพิ ิธภัณฑเ หรียญกษาปณานุรักษ 1 มรดกโลกบนเหรยี ญทีร่ ะลกึ ประจาํ จงั หวดั ๖ ● เผยแพรข่ า่ วสารความรŒู เกร็ดความรŒูเร่ืองเหรียญกษาปณ 1๒ ความคิดเหน็ และงานคนŒ ควาŒ ข‹าวประชาสมั พนั ธ 1๓ เก่ียวกับทรัพย์สินมีค่า ● เพื่อเปšนส่ือกลางแลกเปล่ียน ทป่ี รกึ ษา ความรŒู ความคดิ เหน็ ทางวชิ าการ ส�าหรับนักวิชาการและผูŒสนใจ ผู้อ�านวยการส�านักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ทั่วไปเกยี่ วกบั ทรัพยส์ นิ มีค่า ผู้เช่ียวชาญด้านอนุรักษ์ทรัพย์สิน ● เพอ่ื สง่ เสรมิ การสะสมเหรยี ญ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนโยบายและแผน (งานภัณฑารักษ์) ผู้อ�านวยการส่วนอ�านวยการ บรรณาธกิ าร ผู้อ�านวยการส่วนเก็บรักษาและอนุรักษ์ทรัพย์สิน ผู้อ�านวยการส่วนจัดการผลิตภัณฑ์ ผ้อู า� นวยการส่วนเผยแพร่ ผู้อ�านวยการส่วนบริหารเงินทุน ทรพั ยส์ นิ มีคา่ ของแผน่ ดิน ผู้อ�านวยการส่วนจัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ผู้อ�านวยการศาลาธนารักษ์ ๑ จังหวัดเชียงใหม่ ผŒชู ว่ ยบรรณาธกิ าร ผู้อ�านวยการศาลาธนารักษ์ ๒ จังหวัดสงขลา นายมานิต หละบิลลา จดั ทา� โดย นายชา่ งศิลปอาวโุ ส สา� นักทรัพยส์ ินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ ์ นางสาวนลนิ ี สมเกียรตกิ ลุ ถนนเจ้าฟา แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรงุ เทพฯ ๑๐๒๐๐ นกั วชิ าการเผยแพรช่ า� นาญการพเิ ศษ Tel : ๐ ๒๒๘๒ ๐๒๓๖ Website : http://emuseum.treasury.go.th นางสาวสุวรา สาครสวัสด์ิ Facebook : พพิ ิธภัณฑ์เหรยี ญกษาปณานรุ กั ษ์ และพิพธิ บางล�าพู นกั วิชาการเผยแพรป่ ฏิบัติการ โดยกรมธนารกั ษ์ Instragram : BNT.MUSEUMS ออกแบบ พิมพ์ที่ Twitter : พพิ ธิ ธนารักษ์ Youtube : พิพิธธนารักษ์ โรงพมิ พ ์ สกสค. ลาดพร้าว E-mail : [email protected] ถนนลาดพร้าว แขวงสะพานสอง เขตวงั ทองหลาง กรงุ เทพฯ ๑๐๓๑๐ โทร. ๐ ๒๕๓๘ ๓๐๓๓ โทรสาร ๐ ๒๕๓๙ ๓๒๑๕

พพิ ธิ ภณั ฑเ์ หรียญกษาปณานุรักษ์ ประวตั คิ วามเป็นมา สืบเนือ่ งจากกระทรวงการคลังมนี โยบายให้จดั สร้างพิพธิ ภณั ฑ์เฉพาะทางเก่ยี วกับเงนิ ตรา เพ่อื เป็น แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศผา่ นการจดั แสดงเหรยี ญและเงนิ ตราประเภท ต่าง ๆ จึงมอบหมายให้กรมธนารกั ษด์ �ำเนินการสร้างพพิ ธิ ภณั ฑ์ โดยปรบั เปลีย่ นอาคารส�ำนกั บริหารเงินตรา ถนนจักรพงษ์ ที่ตง้ั อยูบ่ นเกาะรตั นโกสนิ ทรอ์ ันเปน็ พ้ืนทีเ่ ขตท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมถึงภูมทิ ัศนภ์ ายนอก และระบบต่าง ๆ ให้เป็นพิพธิ ภัณฑ์เหรียญที่สวยงามและทันสมัย เพ่อื จดั แสดงเงนิ ตราโบราณ เหรียญกษาปณ์ หมุนเวียน เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึก เหรียญท่ีระลึก และเหรียญนานาชาติ รวมท้ังเผยแพร่ภารกิจของ กรมธนารกั ษด์ า้ นการผลติ เหรยี ญกษาปณแ์ ละการอนรุ กั ษเ์ งนิ ตราโบราณ ภายใตแ้ นวความคดิ “วถิ แี หง่ เงนิ ตรา สนิ ล�ำ้ ค่าของแผน่ ดิน” ทั้งนี้ กรมธนารักษ์ได้ตระหนักถึงความส�ำคญั ของผพู้ กิ าร ผสู้ ูงอายุ และเด็ก จึงได้น�ำ แนวคดิ อารยสถาปัตย์หรือการออกแบบเพอ่ื ทุกคน (Universal Design) มาใชป้ ระกอบการออกแบบอาคาร และการจดั แสดงนทิ รรศการภายในพพิ ธิ ภณั ฑใ์ หผ้ เู้ ขา้ ชมหลากหลายกลมุ่ สะดวกในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดม้ ากยงิ่ ขนึ้ เช่น พ้ืนท่ีสำ� หรบั ผูใ้ ชร้ ถเขน็ คำ� บรรยายอกั ษรเบรลล์ส�ำหรับผู้พิการทางสายตา ฯลฯ 1 สารส�ำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ฉบับท่ี ๓๗

พพิ ธิ ภณั ฑแ์ หง่ นไี้ ดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ จากพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว พระราชทานชื่อพิพิธภัณฑ์ว่า “พิพิธภัณฑ์เหรียญ กษาปณานรุ กั ษ”์ (พ ิ - พดิ - ทะ - พนั - เหรยี น - กะ - สา - ปะ - นา - น ุ - รกั ) หมายถงึ สถานทเี่ กบ็ รวบรวมและแสดงสง่ิ ตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั เหรยี ญอนั เปน็ ทอี่ นรุ กั ษเ์ หรยี ญกษาปณ ์ โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ี ไดเ้ สดจ็ พระราชดา� เนนิ ทรงเปดิ พพิ ธิ ภณั ฑ์ เหรียญกษาปณานุรกั ษ์ เมอื่ วนั ท่ ี ๑๕ ตุลาคม ๒๕๖๒ ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์เหรียญกษาปณานุรักษ์ได้จัดแสดง นิทรรศการถาวรและนิทรรศการช่ัวคราว ดังน้ี ๒ประจําเดือน ตุลาคม ๒๕๖๒ - มีนาคม ๒๕๖๓

ชัน้ 1 นทิ รรศการถาวร หอ้ งปฐมบทแหง่ เงินตรา จดั แสดงเรือ่ งราวความเป็นมาของ เงนิ ตรา จดุ เรม่ิ ตน้ การนา� สงิ่ ของมาแลกเปลย่ี นกนั ตง้ั แตย่ คุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร ์ ก่อนแปรเปล่ียนสู่การใช้ส่ือกลางที่หาได้จากธรรมชาติ และเปล่ียนเป็น โลหะในเวลาตอ่ มา เพอ่ื ความสะดวกตอ่ การใชจ้ า่ ยและคงทน ผา่ นการบอกเลา่ ดว้ ยแอนิเมชนั ๔ มิติ ทฉ่ี ายบนผนงั ถา�้ ด้วยมมุ มอง ๓๖๐ องศา หอ้ งเสน้ ทางววิ ฒั นาการเงนิ ตรา จดั แสดงววิ ฒั นาการ ของสอ่ื กลางในการแลกเปลยี่ นตามแตล่ ะพน้ื ท ่ี ซง่ึ แตกตา่ งกนั ไป ตามทวีป ภูมิประเทศ และความต้องการของท้องถ่ิน ในห้อง นิทรรศการนี้แบ่งออกเป็น ๓ ช่วง คือ ช่วงกลมกลืนธรรมชาติ ชว่ งประดดิ ประดอยสร้างมลู คา่ และชว่ งโลหะสินแรม่ คี า่ ช้นั ๒ นิทรรศการถาวร หอ้ งนานาอาณาจกั รเหรยี ญ จดั แสดงเหรยี ญ หองนานาอาณาจกั รเหรยี ญ หองเร่ิมตน อาณาจักรไทย โบราณท่พี บในอาณาจักรตา่ ง ๆ เช่น อาณาจกั รฟนู นั ทวารวด ี ลพบุร ี และศรวี ิชัย พรอ้ มจา� ลองบรรยากาศ แตล่ ะสมัยผา่ นการฉาย Projector และเทคโนโลย ี 4D หอ้ งเรม่ิ ตน้ อาณาจกั รไทย นา� เสนอเรอ่ื งราวการใชเ้ งนิ ตราในสมยั สโุ ขทยั และอยธุ ยา โดยเลา่ เรอื่ งราว ของการใช้เงินพดด้วงผ่านการจ�าลองบรรยากาศตลาดโบราณ ห้องวิวัฒนาการพดด้วง จัดแสดงเงินพดด้วง ตราสัญลักษณ์บนเงินพดด้วงในสมัยสุโขทัยจนถึง รตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น รวมถึงเงนิ ตราร่วมสมัยในอาณาจกั รลา้ นนา ล้านช้าง และเงินตราทางภาคใต้ ห้องกษาปณ์รัตนโกสินทร์ จัดแสดงเงินตราที่ผลิตข้ึนตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี ๔ จนถึงรัชกาลที่ ๙ และบอกเล่าความเฟอ งฟูทางการค้าและระบบเงินตราทน่ี า� ไปสู่ความเปน็ อารยะแหง่ ประเทศสยาม หอ้ งเหรยี ญกับสงั คมไทย จดั แสดงเร่ืองราวของเหรียญทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ประเพณี วฒั นธรรม ศาสนา และความเชอื่ ทงั้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น การใชเ้ หรียญในพระราชพิธสี มโภชเดือนและขึน้ พระอู่ งานแตง่ งาน งานบวช การโยนเหรยี ญเสย่ี งทาย ฯลฯ โดยนา� เสนอผา่ นการจา� ลองโมเดลและระบบ Interactive เพ่ือใหผ้ ชู้ มได้ลองสมั ผสั ดว้ ยตนเอง ๓ สารส�านักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ฉบับท่ี ๓๗

ห้องพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั : พระผปู้ ฏิรปู เหรียญกษาปณ์ไทย น�าเสนอพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่เกี่ยวข้องกับเงินตรา อันน�าไปสู่วิวัฒนาการ ในการผลิตเหรียญในรัชสมยั ตอ่ มาจนถงึ ปัจจุบัน นทิ รรศการชัว่ คราว หอ้ งเงนิ ตรารตั นโกสนิ ทร์ จดั แสดงเหรยี ญกษาปณแ์ ละ เหรยี ญท่รี ะลกึ ตั้งแต่รัชสมยั รัชกาลท่ ี ๔ จนถงึ รชั กาลปัจจุบนั หองเหรยี ญนานาชาติ หองเหรียญกบั สงั คมไทย หอ งรรู อบเหรยี ญ ห้องเหรียญนานาชาติ จัดแสดงเหรียญรูปทรงหลากหลายจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก บอกเล่า เรื่องราวของเหรียญผ่านสญั ลกั ษณข์ องประเทศนน้ั ๆ และเหตุการณ์สา� คัญ นอกจากน้ี ยงั มีจอระบบสัมผสั ทรงกลมขนาดใหญท่ ี่รวบรวมขอ้ มูลเก่ยี วกับเงินตราท่ีใชใ้ นแตล่ ะประเทศ ห้องกว่าจะมาเปนเหรยี ญ นา� เสนอขนั้ ตอนการผลิตเหรียญ ๔ ขน้ั ตอนหลกั ไดแ้ ก่ การทา� แม่แบบ การผลิตดวงตรา การผลติ เหรียญตัวเปล่า และการตตี ราเหรียญ โดยฉายวดี ิทศั นล์ งบนโตะทา� งาน และจา� ลอง ขัน้ ตอนการผลิตเหรยี ญในโรงกษาปณ์ หอ้ งรรู้ อบเหรยี ญ นา� เสนอเกรด็ ความรตู้ า่ ง ๆ เกย่ี วกบั เหรยี ญ เชน่ เทคนคิ การผลติ เหรยี ญ ลวดลาย บนหนา้ เหรยี ญ ประโยชนข์ องขอบสนั เหรียญ ฯลฯ ห้องร้อยเรียงเร่ืองเงินตรา จ�าลองสื่อกลางในการแลกเปล่ียนรูปแบบต่าง ๆ ตั้งแต่ยุคแรกเร่ิม เร่ือยมาจนถงึ ยคุ ปจั จบุ ัน ๔ประจําเดือน ตุลาคม ๒๕๖๒ - มีนาคม ๒๕๖๓

ชั้น ๓ นิทรรศการถาวร หอ้ งวฒั นากษาปณไ์ ทย จัดแสดงเหรียญในโอกาสต่าง ๆ ทกี่ รมธนารกั ษไ์ ดจ้ ดั สรา้ งขนึ้ ตลอด รัชสมยั รชั กาลที ่ ๙ ประกอบดว้ ย เหรยี ญกษาปณห์ มนุ เวยี น เหรยี ญ กษาปณท์ รี่ ะลกึ เหรยี ญทร่ี ะลกึ และ เหรยี ญทรี่ ะลกึ ประดับแพรแถบ วันและเวลาทาํ การ วันอังคาร – วนั ศกุ ร ์ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. รอบแรกเรมิ่ เวลา ๐๘.๓๐ น. รอบสุดท้ายเวลา ๑๕.๐๐ น. วนั เสาร ์ – วนั อาทติ ย ์ และวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ ์ เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. รอบแรกเรม่ิ เวลา ๑๐.๐๐ น. รอบสดุ ทา้ ยเวลา ๑๖.๓๐ น. เปดิ ให้เขา้ ชมเปน็ รอบ ทกุ ๆ ๓๐ นาที ปดิ ให้บริการทุกวันจันทร์ เทศกาลปใหม่ และเทศกาลสงกรานต์ อัตราคา‹ เขŒาชม ๕๐ บาท ชอ‹ งทางออนไลน บคุ คลชาวไทยและชาวตา่ งชาต ิ ๒๐ บาท Website : เดก็ หรอื เยาวชนชาวไทย (อายรุ ะหว่าง ๑๐ - ๑๘ ป) http://emuseum.treasury.go.th E-mail : ยกเวŒนคา‹ เขาŒ ชมสาํ หรบั [email protected] ● เด็กชาวไทยอายตุ า�่ กว่า ๑๐ ป  Facebook : ● ผู้สงู อายุชาวไทย อายตุ ้งั แต่ ๖๐ ป  ข้นึ ไป Coin Museum Thailand ● ผ้พู ิการทุกประเภท Instagram : ● นักบวชทกุ ศาสนา Coinmuseumthailand Twitter : ที่อยู‹ CoinMuseum_Thai พิพธิ ภัณฑเ์ หรียญกษาปณานุรกั ษ ์ ถนนจักรพงษ์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร Line Add : กรงุ เทพมหานคร ๑๐๒๐๐ เบอรโ์ ทรศพั ท ์ ๐ ๒๒๘๒ ๐๘๑๘ โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๐๓๕๒ ติดต‹อ สา� นกั ทรพั ยส์ นิ มคี า่ ของแผน่ ดนิ เลขท ี่ ๔ ซอยรามบตุ ร ี ถนนเจา้ ฟา แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทร ๐ ๒๒๘๑ ๐๓๔๕-๕๑ ต่อ ๑๒๒๒-๑๒๒๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๐๓๕๒ การเดินทาง ● รถประจ�าทางสาย A4, ๒, ๓, ๖, ๙, ๑๕, ๓๐, ๓๒, ๓๓, ๔๓, ๔๗, ๕๓, ๕๙, ๖๐, ๖๔, ๖๕, ๗๙, ๘๒, ๑๒๓, ๑๒๔, ๕๐๙ ● บริการทจี่ อดรถส�าหรับผู้เข้าชม ๕ สารส�านักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ฉบับท่ี ๓๗

มรดกโลกบนเหรยี ญที่ระลกึ ประจา� จังหวดั กานตภ พ ภิญโญ ภัณฑารกั ษป ฏิบัตกิ าร สาํ นักทรัพยส นิ มคี าของแผน ดนิ ตูจดั แสดงเหรียญทีร่ ะลกึ ประจาํ จังหวัด ภายในหอ งนทิ รรศการวัฒนากษาปณไทย อาคารพพิ ิธภณั ฑเหรยี ญกษาปณานรุ กั ษ เหรียญที่ระลึก (Medal) มนี ยิ ามตามรปู ศพั ทห์ มายถึง โลหะกลมแบน รปู เหลยี่ ม หรือรปู รา่ งใด ๆ ท่มี ีภาพ และตัวอักษรอยู่บนพื้นเหรียญที่ท�าให้ระลึกถึงเร่ืองราวหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน นัยว่าเป็นเหตุการณ์พิเศษหรือ โอกาสส�าคัญ โดยท่ีเหรียญที่ระลึกไม่มีราคาหน้าเหรียญ จึงไม่สามารถใช้ช�าระหนี้ได้ตามกฎหมายเช่นเดียวกับ เหรยี ญกษาปณ ์ แตเ่ หรียญที่ระลกึ ก็เป็นอีกหน่ึงบทบันทกึ เรอื่ งราวสา� คัญของยุคสมยั ผา่ นภาพและข้อความทปี่ ระทับ บนหนา้ เหรียญ อยา่ งเชน่ เหรียญทรี่ ะลึกทจี่ ดั สร้างขน้ึ ในประเทศไทยมักเปน็ เรื่องราวเหตกุ ารณ์ส�าคัญที่เก่ยี วเนือ่ งกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ศาสนา วนั ครบรอบของหนว่ ยงาน และองคก์ รทส่ี า� คญั ระดบั ประเทศ ตลอดจนเหรยี ญทรี่ ะลกึ ทจี่ ดั สร้างขนึ้ เพ่ือเปน็ รางวัลและขวัญก�าลงั ใจใหแ้ ก่ประชาชน นอกจากน ี้ ในวาระโอกาสหน่งึ กรมธนารกั ษ์ไดจ้ ัดสรา้ ง เหรียญท่ีระลึกประจ�าจังหวัดขึ้น เพ่ือถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติอันทรงคุณค่าของแต่ละพ้ืนที่ผ่าน ภาพบนหนา้ เหรยี ญทรี่ ะลกึ อกี ทงั้ ยงั เปน็ การเผยแพรภ่ มู ปิ ญั ญาและสถานทสี่ า� คญั เพอื่ นา� ไปสกู่ ารสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ ว ของประเทศไทยใหแ้ กป่ ระชาชนท่ัวไปทั้งชาวไทยและชาวตา่ งประเทศไดเ้ กบ็ เปน็ ของท่รี ะลึก ของสะสม หรือมอบให้ กับบุคคลอื่นเป็นสิ่งตอบแทน ของขวัญ หรือของฝากที่แสดงถึงเอกลักษณ์อันทรงคุณค่าของแต่ละจังหวัดและ เขตการปกครองพเิ ศษของประเทศไทย การจดั สราŒ งเหรยี ญท่ีระลึกประจ�าจังหวดั ช่วง พ.ศ. ๒๕๓๔ - ๒๕๓๖ กรมธนารักษ์ได้ริเริ่มโครงการจัดสร้างเหรียญที่ระลึกประจ�าจังหวัดขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์หลกั เพื่อสง่ เสรมิ การท่องเทย่ี วของประเทศไทย ตลอดจนเผยแพร่เอกลกั ษณแ์ ละประเพณีทอ้ งถ่ิน อนั ทรงคณุ คา่ ของแตล่ ะจงั หวดั ใหผ้ คู้ นภายนอก ทงั้ ในระดบั ประเทศและนานาชาตไิ ดร้ จู้ กั อยา่ งแพรห่ ลาย๑ ซง่ึ การจดั สรา้ ง เหรียญท่ีระลึกดังกล่าวสอดคล้องกับกระแสการส่งเสริมการท่องเที่ยวในขณะน้ัน เน่ืองจากรัฐบาลได้เล็งเห็นว่า การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศเป็นอันดับต้น ๆ จึงได้มีแผนพัฒนา แหลง่ ทอ่ งเท่ียวในเชิงกายภาพ เชน่ การสร้างระบบสาธารณปู โภคทีร่ องรับธุรกิจท่องเทย่ี วและบรกิ ารทัว่ ทุกภูมภิ าค เพื่อกระจายตัวของนักท่องเท่ียวไปสู่จังหวัดต่าง ๆ แทนท่ีจะกระจุกตัวท่องเท่ียวอยู่ภายในเมืองใหญ่ ควบคู่ไปกับ การเพ่ิมคุณค่าให้กับแหล่งท่องเท่ียว เช่น การผลักดันให้สถานท่ีท่องเที่ยวเป็นแหล่งเรียนรู้ การอนุรักษ์ฟนฟูมรดก ทางศิลปวัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติ ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นให้เป็นของท่ีระลึกที่แสดง ถึงเอกลกั ษณ์และภมู ปิ ญั ญาของผคู้ นแต่ละพืน้ ท๒่ี ๖ประจําเดือน ตุลาคม ๒๕๖๒ - มีนาคม ๒๕๖๓

เหรียญที่ระลึกประจ�ำจังหวัดที่กรมธนารักษ์จัดสร้างข้ึน จึงถือเป็นอีกส่ิงหน่ึงที่สนับสนุนนโยบายส่งเสริม การทอ่ งเทยี่ วของรฐั บาลในการถา่ ยทอดเอกลกั ษณข์ องแตล่ ะจงั หวดั ผา่ นภาพทปี่ รากฏบนหนา้ เหรยี ญ โดยกรมธนารกั ษ์ ไดก้ ำ� หนดรปู แบบของเหรยี ญทรี่ ะลกึ ประจำ� จงั หวดั ใหด้ า้ นหลงั เปน็ ภาพตราประจำ� จงั หวดั ทร่ี ฐั บาลไดก้ ำ� หนดใหแ้ ตล่ ะ จงั หวดั ใชม้ าตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๔๘๒ (รฐั บาลสมยั จอมพล แปลก พบิ ลู สงคราม) ซงึ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ ตราทก่ี รมศลิ ปากรออกแบบ ตามแนวคดิ ท่ีแตล่ ะจงั หวัดก�ำหนด ผนวกกบั ตราประจำ� ต�ำแหน่งของเจา้ เมอื งแตเ่ ดมิ ในสมัยสมบูรณาญาสิทธริ าชย์ ๓ สว่ นอกี ดา้ นหนงึ่ เปน็ ภาพทแี่ สดงถงึ เอกลกั ษณป์ ระจำ� จงั หวดั ซงึ่ กรมธนารกั ษเ์ ปน็ ผอู้ อกแบบ จำ� นวน ๓๔ จงั หวดั และ เปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมออกแบบหน้าเหรียญท่ีระลึก โดยส่งภาพให้คณะกรรมการวางแผนผลิตเหรียญกษาปณ์ ท่ีระลึกและเหรียญทีร่ ะลึกทก่ี รมธนารกั ษแ์ ต่งตง้ั ขนึ้ พิจารณา จ�ำนวน ๔๔ จังหวัด โดยผทู้ ่ีไดร้ บั การพิจารณาคดั เลอื ก ไดร้ บั เงนิ รางวลั จำ� นวน ๔,๐๐๐ บาท พรอ้ มใบประกาศเกยี รตคิ ณุ โดยมพี ธิ มี อบรางวลั ผชู้ นะเลศิ การออกแบบเหรยี ญ ที่ระลึกประจำ� จังหวัด ณ กรมธนารกั ษ๔์ ภาพเอกลกั ษณป์ ระจำ� จงั หวดั ตา่ ง ๆ ทปี่ รากฏบนหนา้ เหรยี ญทรี่ ะลกึ แตล่ ะเหรยี ญเปน็ สง่ิ ทไี่ ดร้ บั การยอมรบั ว่าเป็นท่ีเชิดหน้าชูตาของแต่ละจังหวัด และดึงดูดความสนใจให้ประชาชนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเข้ามา ท่องเท่ยี ว เชน่ โบราณสถาน ปชู นยี บคุ คล ประเพณี วิถีชวี ิต และสถานทท่ี ่องเทย่ี วทางธรรมชาต๕ิ ซ่ึงลว้ นเป็นมรดก ทางวฒั นธรรมและธรรมชาตขิ องแตล่ ะจงั หวดั ทมี่ ผี ลสะทอ้ นถงึ ความเปน็ มรดกอนั ทรงคณุ คา่ ระดบั ประเทศ นอกจากนี้ แหล่งมรดกของไทยหลายแห่งก็ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ จนกระท่ังยกฐานะขึ้นเป็นแหล่งมรดกโลก (World Heritage)๖ ทำ� ใหเ้ หรยี ญทรี่ ะลกึ ประจำ� จงั หวดั หลายเหรยี ญกลายเปน็ หลกั ฐานหนงึ่ ทบี่ นั ทกึ ภาพแหลง่ มรดก ทางวฒั นธรรมและธรรมชาตขิ องจงั หวดั และประเทศสู่มรดกโลกของมวลมนุษยชาติ ภาพมรดกโลกบนเหรียญทร่ี ะลึกประจำ� จังหวัด จากเหรยี ญทร่ี ะลกึ ทปี่ ระทบั ตราสญั ลกั ษณป์ ระจำ� จงั หวดั และภาพเอกลกั ษณป์ ระจำ� จงั หวดั บนหนา้ เหรยี ญ ทงั้ สองดา้ น กลายเปน็ เหรยี ญทร่ี ะลกึ ทไี่ ดถ้ า่ ยทอดภาพแหลง่ มรดกโลก เนอื่ งจากภาพบนเหรยี ญทร่ี ะลกึ ประจำ� จงั หวดั บางแห่งเป็นองค์ประกอบหน่ึงของแหล่งมรดกท่ีมีคุณค่าในระดับสากล จนได้รับการยกย่องว่าเป็นแหล่งมรดกของ มวลมนุษยชาติ ซง่ึ ปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๒) มภี าพแหล่งมรดกโลกและแหล่งมรดกทีไ่ ดร้ ับการขน้ึ ทะเบียนบญั ชีรายชือ่ เบ้ืองต้น (Tentative List)๗ ภายในพรมแดนราชอาณาจักรไทย ประทับลงบนหน้าเหรียญที่ระลึกประจ�ำจังหวัด จ�ำนวน ๕ เหรยี ญ จากรายชื่อแหล่งมรดกโลก ๓ แห่ง และภาพทเ่ี ปน็ ส่วนหน่งึ ของเป็นแหลง่ มรดกในบัญชรี ายช่ือ เบอ้ื งต้น จำ� นวน ๔ เหรียญ จากรายชื่อแหล่งมรดก ๔ แหง่ ดังนี้๘ ๑สำ� นกั ทรพั ยส์ นิ มคี า่ ของแผน่ ดนิ กรมธนารกั ษ,์ แผน่ พบั เหรยี ญทรี่ ะลกึ ประจำ� จงั หวดั ๗๗ จงั หวดั ๑ เมอื งพทั ยา,(กรงุ เทพฯ: กรมธนารกั ษ)์ , ม.ม.ป. ๒ภาราเดช พยั ฆวเิ ชยี ร. การพฒั นาด้านการท่องเท่ียวของไทยท้ังอดตี ปจั จบุ นั และอนาคต. เข้าถงึ เมอ่ื วนั ที่ ๒๔ ตลุ าคม ๒๕๖๒. เข้าถงึ ได้ จาก จลุ สารวชิ าการอิเลก็ ทรอนกิ ส์ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย http: www.etatjournal.com ๓ดเู พมิ่ เตมิ ใน กรมศลิ ปากร, ตราประจำ� จงั หวดั , (กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร), ๒๕๔๒. และ ประกาศสำ� นกั นายกรฐั มนตรี เรอ่ื ง กำ� หนด เครอ่ื งหมาย ราขการตามพระราชบญั ญัติเครอ่ื งหมายราชการ พทุ ธศักราช ๒๔๘๒ (ฉบับที่ ๒๔๑) ลงวนั ท่ี ๒ มิถนุ ายน ๒๔๘๒. ๔กองแผนงาน กรมธนารกั ษ์, พธิ ีมอบรางวัล ผู้ชนะเลิศการออกแบบเหรียญทร่ี ะลึกประจ�ำจังหวดั วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๖, (กรุงเทพฯ: กรมธนารักษ์, ๒๕๓๖). ๕กรมธนารักษ์, \"เหรยี ญทรี่ ะลกึ ประจ�ำจงั หวดั ,\" วารสารกรมธนารกั ษ์ ๒๓, ๕ (กันยายน - ตลุ าคม ๒๕๔๓), ๑๗ - ๒๓. ๖หมายถงึ สงิ่ ทสี่ ืบทอดมาจากอดตี ทดี่ ำ� รงอยกู่ บั เราจนทกุ วนั น้ี โดยไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งแตข่ องเกา่ หรอื แคเ่ รอ่ื งราวในหน้าประวตั ศิ าสตรแ์ ตค่ อื รอย ประทบั ทางวฒั นธรรมทแี่ สดงออกถงึ อารยธรรมของมนษุ ยชาติ แสดงออกถงึ เกยี รตภิ มู ิ และยงั ปรากฏอยมู่ าตงั้ แตต่ น้ ธารเรม่ิ ตน้ ของการกอ่ สรา้ งตวั จนกระท่ังปัจจุบนั 7 สารส�ำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ฉบับที่ ๓๗

1. เหรียญทรี่ ะลึกประจําจงั หวดั ท่มี ีภาพแหลง‹ มรดกโลก (World Heritage) ๑.๑ เหรยี ญทรี่ ะลกึ ประจา� จงั หวดั สโุ ขทยั ดา้ นหนา้ มภี าพวดั มหาธาต ุ ในเขตอทุ ยานประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั ออกแบบโดยกรมธนารกั ษ ์ ดา้ นหลงั มตี ราสญั ลกั ษณป์ ระจา� จงั หวดั ภาพพอ่ ขนุ รามคา� แหงมหาราชประทบั บนพระแทน่ มนังคศิลาอาสน์ ๑.๒ เหรียญที่ระลึกประจ�าจังหวัดก�าแพงเพชร ด้านหน้ามีภาพเจดีย์วัดพระแก้ว ในเขตอุทยาน ประวตั ศิ าสตรก์ า� แพงเพชร ออกแบบโดยนายวฒุ ชิ ยั แสงเงนิ ดา้ นหลงั มตี ราสญั ลกั ษณป์ ระจา� จงั หวดั ภาพกา� แพงเมอื ง มใี บเสมาประดับเพชร ๗การทแี่ หล่งมรดกวัฒนธรรมหรอื ธรรมชาตแิ หล่งใดจะไดร้ ับการข้นึ ทะเบยี นเป็นมรดกโลก ประเทศภาคีสมาชกิ จะต้องจดั เตรียมรายละเอียด แหลง่ มรดก พรอ้ มทงั้ รายละเอยี ดคณุ คา่ โดดเดน่ อนั เปน็ สากล เพอ่ื บรรจลุ งในบญั ชรี ายชอื่ เบอ้ื งตน้ (Tentative List) กอ่ น จงึ จะมสี ทิ ธยิ์ น่ื คา� รอ้ งประกอบ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การแหลง่ เพอ่ื ใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณา และประกาศขน้ึ ทะเบยี นเปน็ แหลง่ มรดกโลกตอ่ ไป ๘ดเู พม่ิ เตมิ เรอ่ื งตราสญั ลกั ษณป์ ระจา� จงั หวดั ใน กรมศลิ ปากร, ตราประจา� จงั หวดั , (กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร), ๒๕๔๒. ประกาศสา� นกั นายกรฐั มนตร ี เรอื่ ง กา� หนดเครอ่ื งหมายราชการตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายราชการ พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๒ (ฉบบั ท ี่ ๒๔๑) ลงวนั ท ี่ ๒ มถิ นุ ายน ๒๔๘๒. และภาพดา้ น หลงั เหรยี ญทร่ี ะลกึ ประจา� จงั หวดั ใน กองแผนงาน กรมธนารกั ษ,์ พธิ มี อบรางวลั ผชู้ นะเลศิ การออกแบบเหรยี ญทรี่ ะลกึ ประจา� จงั หวดั วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๖, (กรงุ เทพฯ: กรมธนารกั ษ,์ ๒๕๓๖). ๘ประจําเดือน ตุลาคม ๒๕๖๒ - มีนาคม ๒๕๖๓

๑.๓ เหรียญท่ีระลึกประจ�าจังหวัดอุดรธานี ด้านหน้ามีภาพโบราณวัตถุในวัฒนธรรมบ้านเชียง ระบขุ อ้ ความวา่ “วฒั นธรรมบา้ นเชยี ง ๒,๐๐๐ - ๕,๕๐๐ ปม าแลว้ ” ออกแบบโดยกรมธนารกั ษ ์ ดา้ นหลงั มตี ราสญั ลกั ษณ์ ประจา� จงั หวดั ภาพทา้ วเวสสวุ ณั หรอื ทา้ วกเุ วร เทพประจา� ทศิ เหนอื ซงึ่ เปน็ ตราเดมิ ในธงประจา� กองลกู เสอื มณฑลอดุ ร ๑.๔ เหรยี ญทร่ี ะลกึ ประจา� จงั หวดั นครนายก ดา้ นหนา้ มภี าพนา�้ ตกสารกิ า ในเขตอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ ่ ออกแบบโดยกรมธนารักษ์ ด้านหลังมีตราสัญลักษณ์ประจ�าจังหวัด (เดิม) ภาพช้างชูรวงข้าว เบ้ืองหลังเป็นลอมฟาง ๑.๕ เหรยี ญทร่ี ะลกึ ประจา� จงั หวดั สระแกว้ ดา้ นหนา้ มภี าพนา�้ ตกปางสดี า ในเขตอทุ ยานแหง่ ชาตปิ างสดี า ดา้ นหลงั มตี ราสญั ลกั ษณป์ ระจา� จงั หวดั ภาพพระพทุ ธรปู ปางสรงสรรี ะทรงยนื บนดอกบวั เบอื้ งหลงั มภี าพพระอาทติ ย์ ยามร่งุ ตอนกลางมีภาพปราสาทเขานอ้ ยสชี มพู ๙ สารส�านักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ฉบับที่ ๓๗

๒. เหรยี ญท่รี ะลกึ ประจาํ จังหวดั ทีม่ ีภาพแหลง‹ มรดกในบัญชีรายชือ่ เบอื้ งตนŒ (Tentative List) ๒.๑ เหรียญทรี่ ะลกึ ประจ�าจงั หวัดนครศรีธรรมราช ดา้ นหน้ามีภาพหนงั ตะลุงเมืองคอน ออกแบบโดย นายโอภาส ศรปี าน ดา้ นหลงั มตี ราสญั ลกั ษณป์ ระจา� จงั หวดั ภาพพระบรมธาตเุ มอื งนครศรธี รรมราช มตี รา ๑๒ นกั ษตั ร ลอ้ มรอบ ๒.๒ เหรียญท่ีระลึกประจ�าจังหวัดเชียงใหม่ ด้านหน้ามีภาพวัดพระธาตุดอยสุเทพ ออกแบบโดย กรมธนารกั ษ์ ดา้ นหลังมีตราสัญลกั ษณป์ ระจา� จงั หวดั ภาพชา้ งเผอื กยนื อย่ใู นเรอื นแก้ว ๒.๓ เหรียญที่ระลึกประจ�าจังหวัดนครพนม ด้านหน้ามีภาพชายเปาแคนและหญิงฟอนภูไท เบื้องหลัง มีภาพพระธาตพุ นม ออกแบบโดยกรมธนารักษ ์ ดา้ นหลังมตี ราสัญลกั ษณ์ประจ�าจงั หวดั ภาพพระธาตุพนม ๒.๔ เหรยี ญทรี่ ะลกึ ประจา� จงั หวดั บรุ รี มั ย์ ดา้ นหนา้ มภี าพปราสาทพนมรงุ้ ออกแบบโดยนายพนม บญุ ศลิ ป  ด้านหลงั มีตราสัญลกั ษณ์ประจา� จังหวัด ภาพเทพยดาฟอ นรา� หนา้ ปราสาทหินพนมรุ้ง 1๐ประจําเดือน ตุลาคม ๒๕๖๒ - มีนาคม ๒๕๖๓

จากภาพแหล่งมรดกโลกและแหล่งมรดกในบัญชีรายชื่อเบ้ืองต้นดังกล่าวท่ีปรากฏบนหน้าเหรียญท่ีระลึก ประจ�าจังหวัดทั้ง ๙ เหรียญ แสดงให้เห็นว่า นอกจากเหรียญท่ีระลึกประจ�าจังหวัดจะจัดสร้างขึ้นมาเพื่อส่งเสริม นโยบายการทอ่ งเทย่ี วและเผยแพรเ่ อกลกั ษณป์ ระเพณอี นั ดงี ามใหเ้ ปน็ ทร่ี จู้ กั แกป่ ระชาชนชาวไทยและชาวตา่ งประเทศแลว้ ยังเป็นเสมือนเครื่องมือบันทึกเร่ืองราวของคนไทยในแต่ละท้องถ่ิน ท่ีหลอมรวมวิถีชีวิตและทัศนคติผ่านภาพท่ี ถกู ประทับอยา่ งถาวร แตส่ ามารถหยบิ ยกประเดน็ มาศึกษาต่อได้อยู่เสมอตามพลวัตของสงั คม ปจั จุบนั กรมธนารกั ษ์ ไดส้ รา้ งพพิ ธิ ภณั ฑเ์ หรยี ญกษาปณานรุ กั ษข์ นึ้ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั เหรยี ญของประชาชนทว่ั ไป โดยไดจ้ ดั แสดง เงินตราและเหรียญประเภทต่าง ๆ ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันท้ังของไทยและนานาชาติ รวมถึงเหรียญท่ีระลึก ประจา� จงั หวดั ทง้ั ๗๗ จงั หวดั และอกี ๑ เหรยี ญทร่ี ะลกึ ประจา� เมอื งพทั ยา โดยจดั แสดงภายในหอ้ ง “วฒั นากษาปณไ์ ทย” ชน้ั ๓ อาคารพิพธิ ภัณฑ์เหรยี ญกษาปณานรุ ักษ์ หมายเหต ุ : อา่ นบทความฉบับเต็มไดท้ ่ี http://emuseum.treasury.go.th เอกสารอาŒ งองิ หนังสอื บทความ กรมธนารักษ์. “เหรียญที่ระลึกประจ�าจงั หวดั ,” วารสารกรมธนารกั ษ์ ๒๓, ๕ (กนั ยายน - ตลุ าคม ๒๕๔๓), ๑๗ - ๒๓. กรมศลิ ปากร. ตราประจ�าจังหวัด. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร, ๒๕๔๒. กองแผนงาน กรมธนารกั ษ.์ พธิ มี อบรางวลั ผชู้ นะเลศิ การออกแบบเหรยี ญทร่ี ะลกึ ประจา� จงั หวดั วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๓๖. กรุงเทพฯ: กรมธนารกั ษ์, ๒๕๓๖. ประกาศสา� นกั นายกรฐั มนตร ี เรื่อง กา� หนดเครอื่ งหมายราชการตามพระราชบญั ญัติเครอื่ งหมายราชการ พ.ศ. ๒๔๘๒ (ฉบับที ่ ๒๔๑) ลงวนั ที ่ ๒ มิถุนายน ๒๔๘๒. ส�านกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. คู่มือการน�าเสนอแหล่งมรดกทางวฒั นธรรมและแหลง่ มรดกทางธรรมชาตเิ ปนแหลง่ มรดกโลก. กรงุ เทพฯ: อี.ที.พบั ลชิ ชง่ิ , ๒๕๖๑. สา� นกั ทรัพยส์ ินมคี ่าของแผ่นดิน กรมธนารกั ษ์, แผน่ พับเหรียญที่ระลกึ ประจ�าจังหวดั ๗๗ จังหวัด ๑ เมอื งพัทยา, (กรงุ เทพฯ: กรมธนารกั ษ์), ม.ม.ป. ขอŒ มลู ออนไลน ภราเดช พยัฆวเิ ชยี ร. การพฒั นาด้านการท่องเที่ยวของไทยท้งั อดีตปจั จุบันและอนาคต. เขา้ ถงึ เมอื่ วนั ที ่ ๒๔ ตลุ าคม ๒๕๖๒. เขา้ ถงึ ได้จาก จุลสารวชิ าการอิเลก็ ทรอนกิ ส์ การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย http://www.etatjournal.com 11 สารส�านักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ฉบับท่ี ๓๗

เกร็ดความรŒเู รอ่ื งเหรียญกษาปณ์ รหู้ รอื ไมเ่ หรยี ญกษาปณท์ ใ่ี ชห้ มนุ เวยี นในระบบเศรษฐกจิ ในปจั จบุ นั ม ี “ขอบสนั ” แบบใด และเพราะ เหตใุ ดเหรยี ญจงึ ตอ้ งมีขอบสัน หากลองสงั เกตจะพบวา่ เหรยี ญ ๒๕ สตางค ์ ๕๐ สตางค ์ ๑ บาท และ ๕ บาท มขี อบ “เฟอ ง” ขณะท่ี เหรียญ ๒ บาท และ ๑๐ บาท มขี อบ “เฟอ งสลบั เรียบ” การท่เี หรียญแต่ละประเภทมขี อบสันแตกตา่ งกนั นนั้ จะช่วยให้ผู้พิการทางสายตาสามารถแยกความแตกต่างของเหรียญแต่ละชนิดราคาได้ง่ายข้ึนเม่ือใช้มือสัมผัส นอกจากนัน้ ขอบเฟองยังชว่ ยปองกันการปลอมแปลงอกี ด้วย ผลติ ภณั ฑ์ทน่ี า่ สนใจ แผน่ พบั บรรจเุ หรยี ญกษาปณท์ รี่ ะลกึ เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เนอื่ งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๕ รอบ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ชนดิ ราคา ๕๐ บาท ราคาจ�าหน่าย ๒๐๐ บาท สถานที่จําหนา‹ ย ● หน่วยจา� หนา่ ยพิพิธภณั ฑเ์ หรยี ญกษาปณานุรกั ษ์ ถ.จักรพงษ ์ กรงุ เทพมหานคร ● หน่วยจ�าหนา่ ยพิพธิ บางลา� พ ู ถ.พระสุเมรุ กรงุ เทพมหานคร ● หนว่ ยจ�าหนา่ ยบรเิ วณลานจอดรถกระทรวงการคลัง ถ. พระรามที่ ๖ กรุงเทพมหานคร ตดิ ต‹อสอบถามเพม่ิ เตมิ โทร ๐ ๒๒๘๑ ๐๓๔๕ – ๕๑ ตอ่ ๓๑๐๑ – ๓๑๐๔ 1๒ประจําเดือน ตุลาคม ๒๕๖๒ - มีนาคม ๒๕๖๓

ขา่ วประชาสมั พนั ธ์ “พิพธิ ภัณฑ์เหรียญกษาปณานุรักษ์” และ “พิพิธบางลา� พ”ู จัดกิจกรรมชมพิพิธภัณฑ์ยามค�่าคนื ครงั้ ท่ี ๙ (Night at the Museum Season 9) ระหวา่ งวนั ท ี่ ๑๙ – ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๖.๐๐ – ๒๑.๐๐ น. ภายในงานมีกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีเต็มไปด้วยสาระและความบันเทิง อาทิ การเปิดให้ประชาชนเข้าชมพิพิธภัณฑ์ ยามค่�าคืน การแสดงดนตรีและศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน การเย่ียมชมชุมชนบางล�าพู การชมหนังกลางแปลง บนดาดฟา ฯลฯ กิจกรรม “น้องพดด้วงพาเท่ียว พิพิธภัณฑ์ยามค่�าคืน” ณ พิพิธภัณฑ์เหรียญกษาปณานุรักษ์ กิจกรรม “Banglamphu Connect and Connext” ณ พิพิธบางล�าพู 1๓ สารส�านักทรแัพลยว้์สินพมบีค่ากขันองใแหผ่นมด ่ ินNฉiบgับhทtี่ ๓a๗t the Museum Season 10 ในเดอื นธันวาคมปห นา้ นะคะ 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook