Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Internet of things

Internet of things

Published by mayree38, 2021-12-21 13:15:10

Description: Internet of things

Search

Read the Text Version

อินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่ง Internet of things by Kanyapak Mekjan

สารบัญ หน้า เรื่อง 4 -5 6-8 Smart Home 9 - 10 Smart City 11- 14 Smart grids 15 - 17 Smart farmingm 18 - 21 Connected Car 22 - 23 Smart retail 24 - 28 Smart wearable Smart Supply Chain

Smart home ความหมายของ Smart Home ซึ่งการจะเป็นบ้านอัจฉริยะ ความหมายในบ้านเราที่ใช้กันนั้น มีความหมายที่กว้าง คืออาจจะเป็นบ้านที่มีระบบอัตโนมัติเล็ก ๆ ที่เรียกว่า user control(ผู้อยู่อาศัย สามารถปรับเปลี่ยนฟังก์ชั่นต่าง ๆ ของบ้านให้ตอบสนองความต้องการของตนได้ด้วย ตัวของผู้อยู่อาศัยเอง) จนไปถึงระบบอัตโนมัติที่เต็มรูปแบบที่เรียกว่า rule-based control คือบ้านจะมีระบบควบคุมที่สามารถตรวจจับค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ภายใน บ้านแล้วทำการปรับเปลี่ยนหรือตอบสนองต่อความต้องการของผู้อยู่อาศัยได้โดย อัตโนมัติ(ซึ่งระบบที่เต็มรูปแบบนี้ยังอยู่ในขั้นตอนของงานวิจัยซึ่งบริษัทหลาย ๆ แห่ง ในต่างประเทศได้เซตห้องแลปขึ้นเพื่อทำการวิจัยด้านนี้โดยเฉพาะ) นั่นคือเราเข้าใจว่า หากบ้านของเรามีระบบอัตโนมัติแค่นิด ๆ หน่อย ๆ เราก็ถือว่าบ้านของเราเป็นบ้าน อัจฉริยะแล้ว เช่นอาจมีระบบประตูอัตโนมัติ หรือมีระบบรีโมทช่วยควบคุมการเปิดปิด อุปกรณ์ทุกอย่าง หรือเพียงติดตั้งกล้องวงจรปิดก็คิดว่าบ้านของเรานี่เป็น smart home แล้ว ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ลวกหยาบเกินไป smart home จะต้องมีคุณสมบัติ 3 ประการคือ 1. มี Smart Home Network คือระบบพื้นฐานของ smart home อาจเป็นการเดิน สายหรือไร้สายก็ได้ ประกอบด้วย 1.1 Power line System(X10) เป็น protocol ที่ใช้สื่อสารระหว่าง อุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบ home automation ถูกพัฒนาการอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อม ต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟหลักได้โดยตรง เป็นระบบที่ง่ายในการ config ทำงานได้เร็ว และราคาถูก โดยข้อเสียหลัก ๆ ของระบบนี้คือการรบกวนค่อนข้างมาก 1.2 Bus line(EIB,Cebus) ใช้สาย 12volt แยกออกมา(ตีเกลียว) เพื่อรับ ส่งข้อมูลกับอุปกรณ์ เป็นอิสระจากแหล่งจ่ายไฟ เพื่อป้องกันการรบกวน 1.3 Radio frequency(RF) และ Infrared(IR) system เป็นระบบที่ใช้ กันมาก ผู้ผลิตส่วนใหญ่มักใช้ระบบนี้ในอุปกรณ์ smart home แต่ระบนี้ก็ยังมีปัญหา อันเกิดจากการรบกวนสัญญาณและระยะทางในการส่งสัญญาณ

2. มี Intelligent Control System คือ ระบบการควบคุมระบบอัจฉริยะที่มีความชาญ ฉลาด 2.1 เป็นเสมือนสะพานเชื่อมต่อระหว่างเทคโนโลยีที่แตกต่างกันของุ ปกรณ์ภายในบ้าน 2.2 เป็นเสมือน gateway เพื่อเชื่อมต่อกับบริการที่อยู่ภายนอกบ้าน 3. มี Home Automation Device คือ อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านที่สามารถ เชื่อมโยงกันได้ เช่น 3.1 smart refrigerator คือ ตู้เย็นอัจฉริยะสามารถบอกได้ว่ามีอาหาร อะไรกี่อย่างอยู่ภายในตู้เย็น อีกทั้งยังบอกได้ว่าอาหารจะหมดอายุเมื่อไหร่ 3.2 smart sofa คือโซฟาที่สามารถปรับความอ่อนแข็งได้ตามสรีระและ ความพอใจของแต่ล่ะคน 3.3 smart bathroom คือห้องน้ำอัจฉริยะ ที่สามารถควบคุมอุณภูมิ เสียง แสง และกลิ่นภายในห้องน้ำได้ 3.4 smart door คือประตูอัตโนมัติ ที่สามารถตรวจจับใบหน้าของสมาชิก ภายในบ้ายแล้วทำการเปิดปิดเองโดยอัตโนมัติ 3.5 smart remote คือรีโมทที่สามารถควบคุมอุปกรณ์ที่เป็นเครื่องใช้ ไฟฟ้าภายในบ้านทั้งหมด 3.6 security system คือระบบรักษาความปลอดภัยที่ไม่ใช่เป็นเพียง กล้องที่บันทึกเหตุเท่านั้น แต่ยังมีเซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว และไซเรนเพื่อส่ง เสียงในการระงับเหตุ 3.7 robot ปัจจุบันได้มีการนำหุ่นยนต์เข้ามาใช้ภายในบ้านเช่น หุ่นยนต์ ดูดฝุ่น หุ่นยนต์ให้อาหารสัตว์เลี้ยง

Smart City ปัจจุบันกระแสการพัฒนาเมืองภายใต้แนวคิด \"เมืองอัจฉริยะ\" หรือสมาร์ทซิตี้ (Smart City) กำลังเป็นกระแสที่ได้รับความนิยมอย่างยิ่งจากนานาประเทศทั่ว โลก จากรายงานของ Smart City Tracker 1Q18 ซึ่งจัดทำโดยสถาบันวิจัยที่มีชื่อ เสียงระดับโลกที่มีชื่อว่า Navigant Research ได้ทำการสำรวจจำนวนโครงการที่ ถูกพัฒนาขึ้นภายใต้แนวคิด \"เมืองอัจฉริยะ\" หรือ Smart City พบว่า ปัจจุบันมี โครงการเมืองอัฉริยะมากถึง 355 โครงการใน 221 เมืองทั่วโลก เมืองอัจฉริยะ คือ เมืองที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย และชาญฉลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการและการบริหารจัดการเมือง นิยาม ขอบเขต และองค์ประกอบของเมืองอัจฉริยะ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร พั ฒ น า เ มื อ ง อั จ ฉ ริ ย ะ ไ ด้ กำ ห น ด นิ ย า ม ข อ ง เ มื อ ง อัจฉริยะว่าเป็น \"เมืองที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยและ ชาญฉลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการและการบริหารจัดการเมือง ลด ค่ า ใ ช้ จ่ า ย แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร โ ด ย ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ภ า ค ธุ ร กิ จ แ ล ะ ภ า ค ป ร ะ ช า ช น ในการพัฒนาเมือง ภายใต้แนวคิดการพัฒนาเมืองน่าอยู่ ทันสมัย ให้ประชาชนใน เ มื อ ง อ ยู่ ดี มี สุ ข อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น ทั้งนี้เพื่อให้ภาพของเมืองอัจฉริยะมีความชัดเจนมากขึ้น จึงมีการแบ่งกลุ่ม เ มื อ ง อั จ ฉ ริ ย ะ แ ล ะ กำ ห น ด ก ร อ บ ก า ร พั ฒ น า เ มื อ ง อั จ ฉ ริ ย ะ ขึ้ น โ ด ย แ บ่ ง เ มื อ ง อั จ ฉ ริ ย ะ ออกเป็น 2 กลุ่ม 1. เมืองอัจฉริยะน่าอยู่ คือ การฟื้นฟูเมืองเดิม พัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่ อัจฉริยะที่ใช้เทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่ง พลังงาน และดิจิทัล ใ น ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น เ พิ่ ม เ ติ ม เ มื อ ง ที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม ใ ห้ น่ า อ ยู่ ยิ่ ง ขึ้ น

2. เมืองอัจฉริยะทันสมัย คือ การพัฒนาเมืองใหม่โดยก่อสร้างพื้นที่เมืองขึ้น ใหม่ทั้งหมด รวมถึงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเมือง สาธารณูปโภค ที่อยู่อาศัย แหล่งงาน พาณิชยกรรม พื้นที่พักผ่อน ให้เป็นเมืองที่ทันสมัยระดับโลก เป็น ศูนย์กลางด้านการคมนาคม การค้า การลงทุน การวิจัยพัฒนา ไปจนถึงการพัฒนา น วั ต ก ร ร ม น อ ก จ า ก นั้ น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร พั ฒ น า เ มื อ ง อั จ ฉ ริ ย ะ ยั ง ไ ด้ กำ ห น ด องค์ประกอบพื้นฐานของเมืองอัจฉริยะไว้ 7 ด้าน คือ 1.เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) เมืองที่มุ่งเน้นประสิทธิภาพและ ความคล่องตัวในการดำเนินธุรกิจ สร้างให้เกิดความเชื่อมโยงและความร่วมมือทาง ธุรกิจ และประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการพัฒนาเพื่อปรับเปลี่ยนธุรกิจ โดยจะผลักดัน เมืองเป้าหมายเป็นศูนย์กลางธุรกิจด้านใดด้านหนึ่งบนฐานนวัตกรรม เช่น เมือง เกษตรอัจฉริยะ เมืองท่องเที่ยวอัจฉริยะ เป็นต้น 2.ระบบขนส่งและการสื่อสารอัจฉริยะ (Smart Mobility) เมืองที่มุ่งเน้นการ เพิ่มความสะดวกในการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชน การเดินทางสะดวกปลอดภัย เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการระบบโลจิสติกส์ และการใช้ยานพาหนะประหยัด พ ลั ง ง า น 3.พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) เมืองที่มุ่งเน้นเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ พลังงานของเมือง หรือใช้พลังงานทางเลือกเป็นพลังงานสะอาด (Renewable Energy) 4.สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) เมืองที่มุ่งเน้นปรับปรุง คุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการบริหารจัดการ และติดตามเฝ้า ร ะ วั ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ส ภ า ว ะ แ ว ด ล้ อ ม อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ 5.ระบบบริหารภาครัฐอัจฉริยะ (Smart Governance) เมืองที่มุ่งเน้นการ พัฒนาระบบบริการเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการภาครัฐ เช่น Smart Portal เพิ่ม ช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชน รวมถึงการเปิดให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูล ทำให้เกิดความโปร่งใส ตรวจสอบได้

6.พลเมืองอัจฉริยะ (Smart People) เมืองที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้บริหารเมือง ห รื อ ผู้ นำ ท้ อ ง ถิ่ น ที่ ส า ม า ร ถ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล ใ น ก า ร พั ฒ น า เ มื อ ง ส ร้ า ง พ ล เ มื อ ง ที่ มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ส ร้ า ง ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ที่ ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แ ล ะ ก า ร เ รี ย น รู้ น อ ก ร ะ บ บ ร ว ม ถึ ง ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น ด้ ว ย ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง สั ง ค ม 7.การดำรงชีวิตอัจฉริยะ (Smart Living) เมืองที่มุ่งเน้นการสนับสนุนให้มี ระบบบริการที่อำนวยความสะดวกต่อการดำรงชีวิต เช่น บริการด้านสุขภาพให้ ประชาชนมีสุขภาพและสุขภาวะที่ดี การเพิ่มความปลอดภัยของประชาชนด้วยการ เ ฝ้ า ร ะ วั ง ภั ย จ า ก อ า ช ญ า ก ร ร ม ไ ป จ น ถึ ง ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ กิ ด สิ่ ง อำ น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก สำ ห รั บ ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต ที่ เ ห ม า ะ ส ม

Smart grids SMART GRID (สมาร์ทกริด) คือ ระบบบริหารการใช้ไฟฟ้าอย่างมี ประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร (Information Technology) ความ อัจฉริยะของ SMART GRID จะช่วยคำนวณกำลังการผลิตไฟฟ้า จากเชื้อเพลิง ฟ อ ส ซิ ล แ ล ะ พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น ใ ห้ เ ห มื อ น โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า โ ร ง เ ดี ย ว กั น แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ปริมาณการใช้งานจริง เนื่องจากไฟฟ้าผลิตแล้วต้องใช้ทันที หากจัดเก็บจะมีต้นทุน สูง สรุปแบบเข้าใจง่ายๆ ก็คือ ลดความสูญเปล่าของการสำรองการผลิตไฟฟ้าใน ช่ ว ง ที่ ไ ม่ มี ก า ร นำ ม า ใ ช้ นั่ น เ อ ง ทำไมต้องมี SMARTGRID? แหล่งเชื้อเพลิงอยู่ห่างไกลจากโรงไฟฟ้า เชื้อเพลิงเริ่มเหลือน้อย หายากและ ร า ค า แ พ ง ขึ้ น สภาพอากาศที่แตกต่างกันในแต่ละฤดูกาล หรือการใช้ไฟฟ้าที่แตกต่างกันใน ช่ ว ง วั น ทำ ง า น แ ล ะ วั น ห ยุ ด ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ก า ร ใ ช้ ไ ฟ ฟ้ า ช่ ว ง เ ว ล า ก ล า ง วั น แ ล ะ ก ล า ง คื น ใ น ป ร ะ เ ท ศ อุตสาหกรรม หรือกำลังพัฒนาด้านอุตสาหกรรม อาจแตกต่างกันถึง ± 10% ประโยชน์ของระบบ SMART GRID การรวมพลังงานหมุนเวียนเข้าในระบบไฟฟ้า (Renewable Energy Integration) การลดความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (Peak Reduction) ก า ร เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ร ะ บ บ โ ค ร ง ข่ า ย ไ ฟ ฟ้ า เ พิ่ ม ก า ร รั บ รู้ ข้ อ มู ล ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ น ร ะ บ บ ไ ฟ ฟ้ า

ภ า พ ข อ ง ร ะ บ บ ไ ฟ ฟ้ า ใ น อ น า ค ต ในบริบทของระบบ SMART GRID นั้นมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายประการใน การผลิตไฟฟ้า ทั้งในเรื่องของการใช้พลังงานหมุนเวียนที่มีความไม่แน่นอนในการ ผลิตมากขึ้น การผลิตไฟฟ้าที่มีลักษณะกระจายตัวไม่รวมศูนย์ (Decentralized Power System) และมีจำนวนโรงไฟฟ้าที่มีกำลังผลิตไม่สูง แต่มีเป็นจำนวนมาก และกระจายอยู่ทั่วไป (Distributed Generation: DG)

Smart farmingm Smart Farming คือการทำการเกษตรอัจฉริยะที่นำเทคโนโลยีเข้ามาบริหาร จัดการระบบการเพาะปลูกในทุก ๆ ขั้นตอน และสามารถควบคุมทุกอย่างได้ด้วย เทคโนโลยี เพื่อทำการตรวจสอบ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ และแก้ปัญหาการเพาะ ปลูกได้แบบ Real-Time พร้อมกับสามารถแสดงผลข้อมูลการเจริญเติบโตและ คาดการณ์ผลผลิตได้อย่างแม่นยำ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ประเทศไทยของเรายัง คงอยู่ในจุดเริ่มต้นของการทำเท่านั้น เนื่องจากการทำ Smart Farming จำเป็น ต้องมีบุคลากรที่เชี่ยวชาญ และได้รับการสนับสนุนจากหลายภาคส่วน อีกทั้งตัว เกษตรกรเองก็จำเป็นต้องมีการเรียนรู้ พัฒนาตัวเอง และพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลง จ า ก วิ ถี เ ดิ ม ที่ เ ค ย ทำ ม า อุปสรรคและความยากในการทำ Smart Farming เราเคยเข้าใจกันมาตลอดว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่ทำให้เราสามารถทำอะไรหลาย ๆ อย่างได้ง่ายขึ้น แต่หากว่าได้ลองคิดกันอย่างถี่ด้วนจริง ๆ กว่าที่จะมาถึงจุดที่คน ส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างแพร่หลายไม่ใช่เรื่องที่ทำได้ง่าย โดย เฉพาะในภาคเกษตร ที่ใครหลายคนต่างเคยตั้งคำถามกันว่า ทำไมเกษตรกรไทยไม่ ใช้เทคโนโลยี ทำไมเกษตกรไทยยังทำฟาร์มแบบเก่า ซึ่งคำถามเหล่านี้ต่างก็เป็น ความท้าทายที่จำเป็นต้องหาทางช่วยเหลือและแก้ไข เพื่อให้เกษตรกรไทยมีขีด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น ไ ด้ ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น

ปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำให้เกษตรกรไทยไม่สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเต็มรูปแบบ นั้น จริง ๆ แล้วมีจำนวนมาก และมีความซับซ้อนของปัญหาสูง แต่หากจะต้องการ จำแนกอย่างกว้างๆ สามารถจำแนกปัญหาออกมาได้ดังนี้ อุปสรรคและความยากในการทำ Smart Farming เราเคยเข้าใจกันมาตลอดว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่ทำให้เราสามารถทำอะไรหลาย ๆ อย่างได้ง่ายขึ้น แต่หากว่าได้ลองคิดกันอย่างถี่ด้วนจริง ๆ กว่าที่จะมาถึงจุดที่คน ส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างแพร่หลายไม่ใช่เรื่องที่ทำได้ง่าย โดย เฉพาะในภาคเกษตร ที่ใครหลายคนต่างเคยตั้งคำถามกันว่า ทำไมเกษตรกรไทยไม่ ใช้เทคโนโลยี ทำไมเกษตกรไทยยังทำฟาร์มแบบเก่า ซึ่งคำถามเหล่านี้ต่างก็เป็น ความท้าทายที่จำเป็นต้องหาทางช่วยเหลือและแก้ไข เพื่อให้เกษตรกรไทยมีขีด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น ไ ด้ ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น 1.การลงทุนในนวัตกรรมทำให้เข้าถึงปลายทางได้ยาก: หลายครั้งที่เราเข้าใจ ไปว่านวัตกรรมจะทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ซึ่งนั่นเป็นแค่การมองไปถึงปลายทาง ของการใช้นวัตกรรม แต่หากมองกันอย่างละเอียด การที่คนทั่วไปจะสามารถใช้ นวัตกรรมได้ จำเป็นที่จะต้องมีการลงทุนในกระบวนการสร้างสภาพแวดล้อมให้ใช้ นวัตกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น หากเราต้องการทำระบบให้น้ำอัตโนมัติ เพื่อควบคุมการให้น้ำในฟาร์มผ่านสมาร์ทโฟนได้ ปัญหาที่จะเกิดขึ้นคือ ฟาร์มส่วน ใหญ่ของเกษตรกรไทยจะใช้ระบบไฟบ้าน ซึ้งไม่สามารถตอบสนองกับปริมาณการ ใช้ไฟฟ้าของระบบได้อย่างเพียงพอ จำเป็นต้องมีการจ้างวิศวกรเพื่อออกแบบระบบ ไฟใหม่ให้เป็นระบบอุตสาหกรรม เสียทั้งเวลาและเงินทองจำนวนมาก กว่าที่ระบบ การให้น้ำจะสามารถใช้งานได้จริง และยังต้องมีอีกหลายอย่างที่จำเป็นต้อง วางแผน เช่น ระบบชลประทาน การวางผังไร่ การวางระบบท่อน้ำ ฯลฯ ซึ่งจำเป็น ต้ อ ง ใ ช้ ค ว า ม รู้ ห ล า ก ห ล า ย ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ส ร้ า ง ร ะ บ บ เ ห ล่ า นี้

2. UX – UI ไม่สอดคล้องกับสิ่งที่เคยใช้มา: ในการปรับระบบฟาร์มมาเป็น Smart Farming นั้น เรามักจินตนาการว่าทุกอย่างจะเป็นระบบที่มีข้อมูลที่ชัดเจน มีเทคโนโลยีชั้นสูง มีการให้ข้อมูลกลับมาสู่เกษตรกรแบบละเอียด ครบถ้วน แต่ใน หลายๆ ครั้ง ข้อมูลหรือระบบในการใช้งานเหล่านั้นก็สูงและยากเกินกว่าที่คน ทั่วไปจะสามารถใช้งานได้จริง ซึ่งจะทำให้การทำฟาร์มอัจฉริยะไม่ประสบผลสำเร็จ เพราะถึงแม้ว่าจะมีนวัตกรรมที่ดีพอ แต่ผู้ที่ใช้งานกลับเกิดความยุ่งยากในการ เรียนรู้ที่จะใช้ รวมไปถึงความซับซ้อนของเทคโนโลยีก็มีสูงเกินกว่าผู้ที่ไม่เคยได้ ศึกษาจะเข้ามาทำความเข้าใจได้ เพราะฉะนั้นการออกแบบระบบ Smart Farming จำเป็นต้องมองลงไปถึงความคุ้นชินเดิมของผู้ที่ใช้งานจริง เพื่อให้ความยุ่งยากใน ก า ร เ รี ย น รู้ ไ ม่ สู ง เ กิ น ไ ป 3.นวัตกรรมถูกสร้างจากหลายคน: เนื่องด้วยกระบวนการและขั้นตอนในการ ทำการเกษตรนั้นมีความหลากหลาย และผู้ผลิตเทคโนโลยีเองก็อาจไม่ได้มีความ เชี่ยวชาญในทุกจุดของการทำการเกษตร ทำให้ในแต่ละขั้นตอนของการปลูก จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีของผู้ผลิตหลายๆ เจ้าเข้ามาใช้งานร่วมกัน ซึ่งปัญหาที่ เกิดขึ้นคือผู้ผลิตแต่ละเจ้าต่างก็มีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ทำให้การเชื่อมโยงมี ความยากลำบาก และอาจทำให้ไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเลยก็เป็น ไ ด้ 4.ความคุ้มค่าในการลงทุนที่ไม่ชัดเจน: โดยส่วนใหญ่แล้ว เกษตรกรรายย่อย ที่ทำอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก มักมีภาระในการดำเนินชีวิตอยู่แล้ว หากเขา จำเป็นต้องลงทุนในการทำระบบ Smart Farming ที่มีต้นทุนเริ่มต้นจำนวนมาก อีก ทั้งยังมีต้นทุนแฝงในอนาคตที่ตามมาอีกจำนวนมาก อาจทำให้เกษตรกรรายย่อยไม่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี นี้ ไ ด้ จ ริ ง เ นื่ อ ง จ า ก ไ ม่ ส า ม า ร ถ ล ง ทุ น กั บ เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ด้ ใ น ต อ น นี้ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ อ ง ก็ เ ริ่ ม มี ก า ร นำ เ ท ค โ น โ ล ยี เ ข้ า ม า ทำ ร ะ บ บ ฟ า ร์ ม อัจฉริยะกันมากขึ้นแล้ว แต่ก็ยังเป็นเพียงกลุ่มเล็ก ๆ เท่านั้น และยังคงไม่แพร่ หลายมากเนื่องด้วยปัญหาต่าง ๆ ทั้งในเรื่องต้นทุน การนำเข้าเครื่องมือ อุปกรณ์ และความคุ้มค่าในการผลิตที่อาจยังไม่เห็นชัดมาก แต่หากว่าเราสามารถพัฒนา เทคโนโลยีได้เองเพื่อทำให้ต้นทุนถูกลง Smart Farming ก็อาจเป็นสิ่งที่จะแพร่ ห ล า ย ใ น อ น า ค ต ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ม่ ย า ก เ ย็ น จ น เ กิ น ไ ป

ห า ก ต้ น ทุ น ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ต่ำ ล ง ม า ม า ก พ อ แ ล ะ เ ก ษ ต ร ก ร ไ ท ย ไ ด้ รั บ ก า ร สนับสนุนในการเปลี่ยนผ่านมาใช้ระบบ Smart Farming กันอย่างแพร่หลาย ประเทศไทยสามารถที่จะควบคุมคุณภาพผลผลิตได้ตามที่ต้องการ ไม่ว่าจะควบคุม ความหวาน ขนาด สีสัน และยังสามารถที่จะปลูกอะไรก็ได้บนโลกใบนี้ โดยจะ เ ป็ น ก า ร เ พิ่ ม มู ล ค่ า อ ย่ า ง ม า ก ใ ห้ กั บ ว ง ก า ร เ ก ษ ต ร ก ร ไ ท ย

Connected Car Connected Car เป็นการประยุกต์ใช้งานอย่างหนึ่งของ Internet of Things (IoT) โดยเป็นการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้กับยานยนต์และการคมนาคม ขนส่ง ทำให้รถยนต์สามารถสื่อสารกับสิ่งต่างๆ หรือเป็นเหมือน “สมาร์ทโฟนติด ล้อ (Smartphone on wheels)” ตามคำกล่าวของ Akio Toyoda ประธานบริษัท Toyota Motor Corporation Connected Car จะทำให้เกิดบริการแอพพลิเคชันและรูปแบบธุรกิจใหม่ๆ ที่ ช่วยให้การคมนาคมขนส่งมีความปลอดภัยมากขึ้น มีประสิทธิภาพคล่องตัวมากขึ้น ช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้แก่ผู้เดินทาง ดังนี้ 1) บริการด้านข่าวสารและความบันเทิง (Infotainment) โดยผู้โดยสารรถยนต์ สามารถดูหนังฟังเพลงจากในรถที่ sync ข้อมูลกับโทรศัพท์มือถือ ทำให้ ประสบการณ์ในการใช้งานระหว่างอุปกรณ์เป็นไปอย่างลื่นไหล ตัวอย่างเช่น Apple Carplay 2) บริการประกันภัยที่คิดเงินตามการขับจริง (Usage-based Insurance) โดย จ า ก ข้ อ มู ล ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ขั บ ขี่ จ ะ ทำ ใ ห้ บ ริ ษั ท ป ร ะ กั น ภั ย ส า ม า ร ถ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ สี่ ย ง ของผู้ขับขี่ได้ดีขึ้น และนำมาคิดค่าเบี้ยประกันตามพฤติกรรมในการขับรถได้ เช่น ผู้ ขับขี่เป็นระยะทางสั้นๆ และใช้ความเร็วต่ำ ก็จะจ่ายค่าเบี้ยประกันต่ำกว่าผู้ขับขี่ ระยะทางไกลๆ และใช้ความเร็วสูง 3) บริการช่วยเหลือฉุกเฉิน ในกรณีที่ผู้ขับขี่ประสบอุบัติเหตุ หน่วยงานให้ความ ช่วยเหลือฉุกเฉินสามารถให้ความช่วยเหลือได้อย่างทันท่วงที ตัวอย่างเช่น ใน ยุโรปได้มีบริการที่เรียกว่า eCall กำหนดให้รถยนต์ใหม่ทุกคันต้องติดตั้งอุปกรณ์ที่ จะโทรเรียกหมายเลขฉุกเฉิน 112 โดยอัตโนมัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุการชนรุนแรง และส่งข้อมูลการทำงานของถุงลมนิรภัย และพิกัดของรถยนต์ให้หน่วยงานให้ ความช่วยเหลือฉุกเฉินทราบ ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาการให้ความช่วยเหลือผู้ ประสบเหตุได้ถึง 40-50%

4) บริการตรวจเช็ครถยนต์จากระยะไกล (Remote Diagnostic and Maintenance) โดยเซนเซอร์ที่อยู่บนรถยนต์จะตรวจวัดสภาพรถและส่งข้อมูลไป ยังศูนย์บริการโดยอัตโนมัติ ทำให้ศูนย์บริการสามารถวิเคราะห์สภาพรถและ พ ย า ก ร ณ์ ก า ร เ สี ย ข อ ง ร ถ ไ ด้ ล่ ว ง ห น้ า แ ล้ ว แ จ้ ง ใ ห้ ผู้ ขั บ ขี่ นำ ร ถ ม า ซ่ อ ม ไ ด้ ก่ อ น ที่ จ ะ เ กิ ด ก า ร เ สี ย จ ริ ง 5) การสื่อสารของรถยนต์กับสิ่งรอบตัว (Vehicle-to-Everything Communications: V2X) โดยมีทั้งการสื่อสารระหว่างรถยนต์ (Vehicle-to- vehicle: V2V) เช่น รถยนต์คันหน้าแจ้งเตือนรถยนต์ที่ตามมาเมื่อมีการเบรกเพื่อ ความปลอดภัย การสื่อสารระหว่างรถและโครงสร้างพื้นฐาน (Vehicle-to- infrastructure: V2I) เช่น สัญญาณไฟจราจรอาจแจ้งให้รถหลีกเลี่ยงเส้นทางรถ ติด ช่วยให้การคมนาคมคล่องตัวขึ้น ซึ่งการสื่อสารของรถยนต์ในลักษณะนี้จะเป็น โ อ ก า ส ข อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม โ ท ร ค ม น า ค ม ใ น ก า ร เ ข้ า ม า มี บ ท บ า ท ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า น ยนต์ ตัวอย่างเช่น การจัดตั้งสมาคม 5G Automotive Association ซึ่งเป็นความ ร่ ว ม มื อ กั น ร ะ ห ว่ า ง ผู้ เ ล่ น ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม โ ท ร ค ม น า ค ม กั บ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า น ย น ต์ 6) การประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) โดยสามารถนำข้อมูลจาก เซนเซอร์ต่างๆ ที่ติดตั้งในรถยนต์มาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงระบบการ คมนาคมขนส่งและการพัฒนาเมือง ตามแนวคิดของเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ได้ เช่น หากเซนเซอร์ตรวจพบการเบรกของรถยนต์บนถนนเส้นหนึ่งอย่างผิดปกติ อาจเป็นไปได้ว่าผู้ใช้ทางเบรกเนื่องจากถนนดังกล่าวเกิดการทรุดตัว ข้อมูลดัง ก ล่ า ว ส า ม า ร ถ นำ ม า ใ ช้ ใ น ก า ร แ จ้ ง ผู้ เ กี่ ย ว ข้ อ ง เ พื่ อ ซ่ อ ม แ ซ ม ถ น น ไ ด้ 7) การขับขี่โดยอัตโนมัติ (Automated Driving) โดยนำการสื่อสารมาใช้ร่วมกับ เซนเซอร์ต่างๆ ซึ่งใช้ในการตรวจจับสิ่งที่อยู่รอบตัว

และนำข้อมูลมาประมวลผลโดย Artificial Intelligence (AI) เกิดเป็นรถยนต์ ไร้คนขับหรือรถยนต์ขับอัตโนมัติ (Automated Vehicles) ซึ่งจะทำให้การเดินทาง มีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น เนื่องจากปัจจุบัน 90% ของอุบัติเหตุทางถนนเกิดจาก ความผิดพลาดของมนุษย์ (human error) และช่วยให้เกิดรูปแบบธุรกิจ Mobility as a service ซึ่งทำให้เราสามารถใช้บริการรถยนต์ที่ใช้งานร่วมกันกับผู้อื่นเมื่อ เราไม่ได้ใช้งานได้ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐกิจแบ่งปัน (Sharing Economy) การให้บริการ Connected Car จะทำให้ผู้เล่นใน Ecosystem ที่หลากหลาย เช่น ผู้ผลิตรถยนต์ ผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ ผู้ให้บริการ Content ผู้ให้บริการระบบ โทรคมนาคม ผู้ให้บริการประกันภัยรถยนต์ และหน่วยงานภาครัฐ จะต้องมีการ ร่วมมือกัน (Collaboration) เพื่อให้เกิดการพัฒนาบริการแอพพลิเคชันใหม่ๆ อย่างไรก็ตาม การพัฒนา Connected Car ให้ใช้งานได้จริงก็มีความท้าทาย ไม่ว่า จะเป็นเรื่องของการร่วมมือกันของอุตสาหกรรมที่มีความแตกต่างกัน การปรับปรุง กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎจราจรเพื่อรองรับการใช้งานของ รถยนต์ไร้คนขับ ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์และความเป็นส่วนตัวของข้อมูล บุคคล เป็นต้น ซึ่งจำเป็นที่ทุกภาคส่วนใน Ecosystem จะต้องร่วมมือกันหา ทางออกในเรื่องต่างๆ เหล่านี้ร่วมกันต่อไป

Smart retail Smart Retail Smart Sale” เกี่ยวกับ IoT Smart Retail หรือ ระบบค้าปลีก อัจฉริยะ เป็นการนำเทคโนโลยี IoT (Internet of Things) มาใช้ในการขายสินค้า และบริการ เพื่อช่วยเพิ่มโอกาสในการดำเนินธุรกิจห้างร้าน ด้วยการเพิ่ม ประสบการณ์สำหรับลูกค้าในการซื้อ ผ่านการส่งข้อมูลให้กับลูกค้าด้วยอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเชื่อมต่อกับลูกค้าได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยลูกค้าสามารถเช็ครายการสินค้า และซื้อสินค้าได้ด้วยตนเอง เพื่อ อำนวยความสะดวกให้กับลูกค้า และลดการใช้ทรัพยากรแรงงานในการบริการ ลูกค้าด้วยระบบการทำงานที่ชาญฉลาดของ IoT ซึ่งในอนาคตมีแนวโน้มที่ระบบนี้ จะถูกนำไปใช้และพัฒนามากยิ่งขึ้น เพื่อตอบโจทย์ความต้องการและการใช้ชีวิต ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ใ น ปั จ จุ บั น เพิ่มประสิทธิภาพของร้านค้า ซึ่งมีจุดเด่นหลักดังต่อไปนี้ 1. ติดตั้งง่าย (Easy installation) เพราะสามารถทำงานร่วมกับกล้อง วงจรปิดที่มีอยู่แล้วในร้านได้ ผู้ประกอบการไม่จำเป็นต้องลงทุนระบบโครงสร้าง หรือเดินสายเคเบิ้ลในการติดตั้งกล้องวงจรปิดใหม่ ช่วยลดต้นทุนของผู้ประกอบ ก า ร แ ล ะ ใ ช้ เ ว ล า น้ อ ย ก ว่ า ใ น ก า ร ติ ด ตั้ ง ร ะ บ บ 2. ใช้งานง่าย ด้วยระบบหน้าจอที่ใช้งานง่าย (friendly user interface) จึง เหมาะกับพนักงาน ผู้ควบคุม หรือผู้ประกอบการทุกเพศทุกวัย ไม่จำเป็นต้องมี ความรู้ด้านไอทีก็สามารถปรับแต่งให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ ได้ 3. ราคาถูกกว่า ด้วยระบบที่ไม่จำเป็นต้องติดตั้งกล้องเพิ่มและไม่จำเป็นต้อง วางระบบโครงสร้างใหม่ (infrastructure) จึงมีค่าใช้จ่ายเพียงแค่ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟต์แวร์ต่อกล้อง (camera license) 4. น่าเชื่อถือ ด้วยโครงการมากกว่า 27,000 โครงการ ใน 40 ประเทศทั่วโลก ทำ ใ ห้ มั่ น ใ จ ใ น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง โ ซ ลู ชั น นี้ ไ ด้ อ ย่ า ง เ ต็ ม ที่

ผลิตภัณฑ์ Eocortex มี module ที่น่าสนใจมากมายสำหรับร้านค้าปลีกอัจฉริยะ หรือช็อปปิ้งมอลล์ในห้างสรรพสินค้า อันประกอบด้วย 1. ระบบป้องกันบุคคลต้องสงสัยจากใบหน้า (Face recognition) เพื่อป้องกันการสูญเสียที่เกิดขึ้นจากการโจรกรรม โดยบุคคลผู้ต้องสงสัยเดิม ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส า ม า ร ถ นำ ใ บ ห น้ า ข อ ง ผู้ ต้ อ ง ส ง สั ย จ า ก ก า ร โ จ ร ก ร ร ม ใ น ร้ า น ค้ า ม า บันทึกในระบบ เพื่อป้องกันการกระทำผิดซ้ำหากผู้ต้องสงสัยย้อนกลับมาที่ร้าน 2. ระบบนับจำนวนบุคคลด้วยกล้อง (People counting camera) สามารถนับจำนวนของลูกค้าในจุดเข้า-ออก แล้วทำรายงานทางสถิติเพื่อวางแผน ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล ใ น แ ต่ ล ะ ช่ ว ง เ ว ล า แ ล ะ เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร

3. ระบบภาพแสดงความหนาแน่นของผู้ใช้บริการ (heatmap) ระบบเก็บข้อมูลความหนาแน่นของลูกค้าในแต่ละพื้นที่ สามารถทำรายงานกำหนด ช่วงเวลาต่างๆ เพื่อนำมาวิเคราะห์พื้นที่หรือสินค้าที่ได้รับความนิยม บริหารจัดการ พื้นที่ให้เกิดความสะดวกสบาย และวางแผนการขายให้มีประสิทธิภาพ 4. ระบบนับคนในขณะเข้าคิว (People counting in queue) เป็นระบบแจ้งเตือนเมื่อมีลูกค้ารอคิวมากกว่าที่กำหนดไว้ ในชุดเช็คอิน หรือจุด ชำระสินค้า เพื่อแจ้งเตือนไปยังผู้ประกอบการให้ทราบโดยทันที

5. ระบบตรวจจับความหนาแน่นของชั้นวางสินค้า (shelf fullness check) ร ะ บ บ จั บ ภ า พ ชั้ น ว า ง สิ น ค้ า แ ล ะ แ จ้ ง เ ตื อ น ป ริ ม า ณ ข อ ง สิ น ค้ า ที่ เ ห ลื อ อ ยู่ ไ ป ยั ง พนักงานให้มาเติมสินค้าให้เต็มอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสร้างโอกาสการขายสินค้าให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด ลดการเสียโอกาสจากชั้นวางสินค้าที่ไม่เต็ม

Smart wearable Smart Wearable หมายถึงอุปกรณ์อัจฉริยะที่สามารถทำงานได้หลายอย่าง ตั้งแต่ วัดชีพจร วัดก้าว คำนวณเวลานอนหลับ อ่านข้อความ รับโทรศัพท์ การ ทำ ง า น เ ห ล่ า นี้ จ ะ ถู ก ร ว ม อ ยู่ ใ น อุ ป ก ร ณ์ ชิ้ น เ ดี ย ว ซึ่ ง เ ร า จ ะ ส า ม า ร ถ ส ว ม ใ ส่ บ น ร่ า ง ก า ย เ ร า ไ ด้ 6 ข้อดีของสมาร์ทวอทช์ ที่มากกว่านาฬิกา 1 . ต อ บ ข้ อ ค ว า ม แ ล ะ รั บ ส า ย ไ ด้ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว เพียงแค่เชื่อมต่อสมาร์ทวอชเข้ากับสมาร์ทโฟน ก็ไม่ต้องคอยกังวลที่จะพลาดรับ สายสำคัญไป เพราะไม่ว่าจะวางมือถือทิ้งไว้ ออกกำลังกายอยู่ มือไม่ว่าง หรือไม่ สะดวกจะหยิบมือถือขึ้นมา เมื่อมีคนโทรศัพท์เข้ามาเราจะสามารถรับรู้ว่ามีสาย เ ข้ า ผ่ า น ห น้ า ปั ด น า ฬิ ก า ไ ด้ แ ล ะ ก ด รั บ ส า ย ไ ด้ เ ล ย โ ด ย ไ ม่ ต้ อ ง เ สี ย เ ว ล า ห า โ ท ร ศั พ ท์ ที่ วางทิ้งไว้ และยังสามารถตอบข้อความได้อย่างรวดเร็วผ่านการแจ้งเตือนโดยที่ไม่ ต้ อ ง ห ยิ บ โ ท ร ศั พ ท์ อ อ ก ม า จ า ก ก ร ะ เ ป๋ า 2.เป็นเพื่อนเดินทาง ไม่มีหลง อี ก ห นึ่ ง ฟั ง ก์ ชั น ที่ ส ร้ า ง ขึ้ น เ พื่ อ เ พิ่ ม ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ ห้ กั บ ผู้ ใ ช้ ง า น คื อ ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ ส ม า ร์ทวอทช์เข้ากับแอพพลิเคชันแผนที่ในโทรศัพท์มือถือ เพราะตัวนาฬิกาจะใช้ระดับ การสั่นเพื่อนำทางเรา การสั่นนี้จะเป็นตัวบอกว่าเราควรจะเลี้ยวขวาหรือซ้าย โดย แทนที่จะต้องคอยกังวลเหลือบดูที่หน้าจอตลอดเวลา เราก็สามารถสัมผัสได้โดยที่ ไ ม่ ต้ อ ง ล ะ ส า ย ต า ไ ป จ า ก ถ น น 3.เป็นเครื่องติดตาม GPS สมาร์ทวอชสามารถทำงานร่วมกับ GPS เพื่อระบุตำแหน่งของผู้สวมใส่ได้ สำหรับผู้ ปกครองที่เป็นห่วงความปลอดภัยของลูกที่ต้องห่างตัวออกไป สามารถเช็คดูดำ แหน่งของลูกได้แบบเรียลไทม์ผ่านสมาร์ทโฟน และยังกำหนดพื้นที่ปลอดภัยเช่น บริเวณพื้นที่รอบโรงเรียนได้ เมื่อออกไปจากบริเวณที่กำหนด จะมีสัญญานเตือนส่ง

ไปยังผู้ปกครองทันที หรือเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินก็มีปุ่มสำหรับกดที่จะแจ้งขอความ ช่วยเหลือได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งไม่ใช่เพียงแต่เด็กเท่านั้น สมาร์ทวอชบางรุ่นยังมีการ ตรวจจับสัญญานความปลอดภัยของผู้สวมใส่อีกด้วย เมื่อมีการตรวจจับว่าเกิดเหตุ ไม่ปกติขึ้นเช่นตกจากที่สูงในเวลารวดเร็วหรือชีพจรมีความผิดปกติ ตัวนาฬิกาจะ ส่ ง สั ญ ญ า น ช่ ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ ร ะ บุ ตำ แ ห น่ ง ที่ อ ยู่ โ ด ย อั ต โ น มั ติ 4 . เ ก็ บ ข้ อ มู ล สุ ข ภ า พ อี ก ห นึ่ ง ฟั ง ก์ ชั น ที่ โ ด ด เ ด่ น สำ ห รั บ ส ม า ร์ ท ว อ ช รุ่ น ใ ห ม่ แ ล ะ ไ ด้ รั บ ค ว า ม นิ ย ม แ ล ะ ถู ก พัฒนาอย่างต่อเนื่องเลยก็คือการเก็บข้อมูลสุขภาพของเรา เนื่องจากนาฬิกานี้จะ อยู่ติดตัวเราตลอดเวลา จึงสามารถเก็บข้อมูลได้อย่างต่อเนื่องครบถ้วน ทั้งการนับ ก้าวเดินในแต่ละวัน บอกระยะทาง จำนวนพลังงานที่ใช้ไป อัตราการเต้นของหัวใจ คุณภาพของการนอนหลับ เก็บเป็นสถิติเพื่อดูความคืบหน้าในแต่ละวัน ซึ่งเราจะ เชื่อมต่อกับโทรศัพท์โดยทันทีหรือหลังจากนั้นก็ได้ และยังสามารถตั้งค่าเป้าหมาย การออกกำลังกายเพื่อสร้างแรงจูงใจได้ให้ได้สุขภาพที่ดีขึ้น สำหรับผู้ที่มีปัญหาด้าน โรคหัวใจ ก็สามารถใช้เป็นตัวเช็คอัตราการเต้นของหัวใจว่ามีความผิดปกติหรือไม่ 5 . ขึ้ น แ จ้ ง เ ตื อ น แ บ บ เ รี ย ล ไ ท ม์ เนื่องจากตอนนี้ช่องทางโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็นเฟสบุ๊ค ไลน์ วอทแอพ หรืออื่นๆ เป็นส่วนหนึ่งของตัวเราไปแล้ว สมาร์ทวอทช์จึงตอบโจทย์ของผู้ที่ต้องการใช้ชีวิต ออนไลน์อยู่ตลอดเวลา ด้วยการขึ้นแจ้งเตือนเมื่อมีความเคลื่อนไหวเกิดขึ้น ซึ่งเรา สามารถเปิดและปิดการตั้งเตือนเฉพาะบางแอพได้ตามที่ต้องการ ทำให้ไม่พลาด ข้อความที่สำคัญ และในบางรุ่นสามารถตอบกลับได้จากสมาร์ทวอทช์โดยตรงได้ ด้วย ไม่เพียงแค่เตือนโซเชียลมีเดีย เรายังสามารถตั้งค่าให้แจ้งเตือนกำหนดการ นัดหมายต่างๆ ทำให้ไม่พลาดนัดหมายสำคัญอีกด้วย 6 . ส ร้ า ง ค ว า ม บั น เ ทิ ง ผ่ า น ข้ อ มื อ หน้าปัดเล็กๆบนข้อมือนั้นนอกจากจะบอกเวลา แสดงแจ้งเตือน และเก็บข้อมูล แล้ว ยังถูกพัฒนาให้ควบคุมการเล่นเพลงและแสดงผลวิดีโอจากยูทูปได้อีกด้วย! เราสามารถควบคุมเพลย์ลิสเพลงที่อยากฟัง ไม่ว่าจะกดเล่น หยุด หรือข้ามเพลง ได้ง่ายๆเพียงปลายนิ้ว นอกจากนี้ยังสามารถค้นหาวิดีโอจากแป้นพิมขนาดเล็ก แสดงภาพจากหน้าปัดนาฬิกา กดเล่นหรือหยุดได้ตามที่ต้องการ เป็นอุปกรณ์สร้าง ค ว า ม บั น เ ทิ ง ไ ด้ ง่ า ย ๆ ที่ ข้ อ มื อ

Smart Supply Chain Supply Chain คืออะไร สำคัญขนาดไหน ขอบอกเลยว่ามันเปรียบเสมือนตัวชี้ เป็นชี้ตายสำหรับธุรกิจต่างๆ เลยก็ว่าได้ น่าเสียดายที่ผู้ประกอบการหลายราย แม้ว่าจะรู้จักมันแต่กลับไมไ่ด้ให้ความใส่ใจกับ Supply Chain เท่าที่ควร ดังนั้นวันนี้ เราจะมาแถลงไขเกี่ยวกับเรื่องของ Supply Chain ว่ามันคืออะไร และการ ประยุกต์ใช้ Supply Chain จะสามารถทำรูปแบบไหนได้บ้าง การจัดการ Supply Chain มีมากมายหลากหลายรูปแบบ แต่ไม่ว่าจะรูปแบบ ใดก็ตามมักจะมีการเอ่ยถึง 5 ส่วนหลักๆ ซึ่งก็คือ 1. Suppliers: ผู้สนับสนุนด้านวัตถุดิบ 2. Manufacturers: ผู้ผลิต 3. Wholesalers: ผู้กระจายสินค้า 4. Retailers: ผู้ค้าปลีก 5. Customer: ผู้บริโภค ดังที่กล่าวไปข้างต้น แม้จะมีการแบ่งเป็น 5 ส่วนหลัก แต่ในเชิงการทำงานแล้ว ในการทำงานจริงก็จะมีการแบ่งแยกย่อยออกไป ตามแต่การจัดการของผู้ประกอบ การ เช่น กระบวนการของซัพพลายเออร์ก็จะมีทั้งการจัดซื้อ จัดจ้าง และการ จัดหาผู้ขาย การนำเข้าวัตถุดิบเองก็จะแยกย่อยออกไปเป็นการเก็บรักษา การซื้อ เพื่อใช้ในทันที รวมไปถึงการกระจายสินค้าเองก็ต้องผ่านการวางแผนการผลิตเช่น กั น ชัดเจนว่าหากเราแบ่งกันตามจริง Supply Chain จะเป็นอะไรที่ค่อนข้างมี ความยุ่งยากสูง ทำให้เกิดการทำงานของ Supply Chain Management (SCM) ขึ้น ซึ่งจะเป็นการรวบรวมข้อมูลทั้งผู้ซื้อ ผู้ขายรายย่อย รวมไปถึงลูกค้าไว้ในที่ เดียว ให้สามารถบริหารจัดการคลังสินค้า ลูกค้า หรือการบริหารจัดการภายใน องค์กร สามารถทำได้ง่าย ไม่ซับซ้อน

Supply Chain ในปัจจุบัน องค์ความรู้เกี่ยวกับ Supply Chain มีมาช้านาน แต่ด้วยการปรับเปลี่ยน ของธุรกิจต่างๆ ทำให้เหล่าผู้ประกอบการจำเป็นต้องใส่ใจเรื่องนี้มากขึ้น ทั้ง ที่ๆ เดิมทีจะมีเพียงพ่อค้าแม่ค้าเท่านั้นที่คิดคำนวนเรื่องนี้แบบจริงจัง Supply Chain ในปัจจุบันจะมีการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้ประยุกต์ใช้และ เทคโนโลยีเป็นหลัก ทำให้ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงการจัดการ Supply Chain ได้ ทั้งความรู้และอุปกรณ์ นั่นทำให้เกิดการพัฒนาเกี่ยวกับ Supply Chain ขึ้ น ม า เ ป็ น จำ น ว น ม า ก

การพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับ Supply Chain ขึ้นชื่อว่าเทคโนโลยีย่อมมีส่วนร่วมกับชีวิตเราไม่มากก็น้อย และนี่คือ เทคโนโลยีที่คุณรู้จักแต่อาจไม่รู้ว่ามันเกี่ยวกับ Supply Chain โดยตรง ซึ่ง ครอบคลุมทั้ง 5 ประเด็นที่กล่าวมา Suppliers, Manufacturers Wholesalers, Retailers หรือ Customer 1. เทคโนโลยีด้านการขนส่ง ไม่ว่าจะเป็นรถขนส่งรูปแบบใหม่ การเข้ามา ของเครื่องบินขนส่งสินค้า ทุกอย่างล้วนทำให้การสั่งสินค้าจากในและ ต่างประเทศเป็นไปได้ง่ายขึ้น หากเราสามารถใช้งานเทคโนโลยีนี้ได้ดี เ ร า อ า จ ไ ม่ จำ เ ป็ น ต้ อ ง ข ยั บ อ อ ก จ า ก บ้ า น เ พื่ อ สั่ ง สิ น ค้ า เ ข้ า ม า ข า ย ใ น ประเทศ หรือส่งออกไปต่างประเทศด้วยซ้ำไป อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้ สินค้าบางประเภทที่เน่าเสียง่าย สามารถออกขายที่อื่นมากขึ้นในเวลา อั น สั้ น ด้ ว ย 2. แพลตฟอร์มค้าปลีกออนไลน์ อินเทอร์เน็ตเปลี่ยนโลกของการสื่อสาร ไปโดยปริยาย และได้เปลี่ยนเกี่ยวกับการค้าขายด้วย การเกิดขึ้นของ แพลตฟอร์มค้าปลีกออนไลน์ทำให้เราต้องจัดการ Supply Chain ให้ดี ยิ่งขึ้น ไวยิ่งขึ้น แทนที่จะเป็นการสต๊อกของเผื่อแบบสมัยก่อน เรา จำเป็นต้องมีการจัดการเป็นเดือน ไตรมาส หรือบางทีก็วันต่อวัน เพื่อ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ลู ก ค้ า ใ ห้ ดี ที่ สุ ด 3. เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลสมัยใหม่ Big Data และ Cloud Storage มีบทบาทมากในส่วนนี้ การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่และการทำให้ผู้คน เข้าถึงข้อมูลจากที่ไหนก็ได้ ช่วยให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลสินค้าที่ กำลังผลิต รวมถึงการจัดซื้อวัสดุที่ทำให้เราสามารถทำได้ รวดเร็วขึ้น เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก 4. เทคโนโลยีภายในโรงงาน ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์อัตโนมัติ Automation หรือเทคโนโลยีการจัดการและการตรวจสอบในโรงงาน ก็ล้วนแล้วแต่ เพิ่มความว่องไวและประสิทธิภาพในการจัดการ ซึ่งส่งเสริมการ ผ ลิ ต ด้ ว ย กั น แ ท บ ทั้ ง สิ้ น

5. เทคโนโลยีเกี่ยวกับการจัดการลูกค้ารูปแบบต่างๆ การเก็บข้อมูลของ ลูกค้าและนำมาประยุกต์ใช้เป็นสิ่งสำคัญไม่น้อย ทั้งการนำเสนอโปรดักต์ ใหม่ๆ และการจัดแคมเปญต่างๆ เทคโนโลยีอย่าง CRM E-mail ไปจนถึง การเก็บข้อมูลลูกค้าแบบตรงๆ ผ่านเว็บไซต์ ช่วยให้เราสามารถคาดเดา ความต้องการ ปริมาณ รวมถึงคอมเมนต์ต่างๆ ได้ ทำให้การทำงานของเรา ง่ายขึ้นมาก และลงแรงน้อยลงไปเยอะ การประยุกต์ใช้ Supply Chain ในอุตสาหกรรม การประยุกต์ใช้ Supply Chain ไม่ใช่เรื่องยาก แต่ก็ไม่ใช่สิ่งที่เราสามารถ ทำได้โดยไม่มีแผนการ เพราะผู้ประกอบการทุกรายจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสินค้าและบริการของตัวเองก่อน จึงจะสามารถมอง การจัดการห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมตนเองได้ เช่น 1. การจัดการจัดซื้อ จัดจ้าง และการผลิต ตรวจสอบว่าปัจจุบันมีการจัด ซื้อจัดจ้างเพียงพอหรือไม่ คุ้มค่า มาก หรือน้อยเกินไปอย่างไร ถ้าเรา ไม่รู้และไม่มีข้อมูลในส่วนนี้ ให้กลับไปดูว่า ‘เพราะอะไร’ เราถึงไม่มี ข้อมูล ไม่มีการเก็บข้อมุลหรือเปล่า หรือขาดการบริหารจัดการข้อมูลที่ ดี หรือแค่ฝ่ายบริหารไม่ให้ได้ความสนใจด้านนี้แต่ต้น 2. ความยืดหยุ่นในองค์กร หากเกิดปัญหาขึ้นมา องค์กรของเรามีความ ยืดหยุ่นและความสามารถในการแก้ไขปัญหาต่างๆ อย่างไร เช่น ถ้า หากลูกค้ารายหนึ่งแคนเซิลสินค้า จะมีวิธีใดบ้างที่สามารถลดความ สู ญ เ สี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ ห้ น้ อ ย ที่ สุ ด 3. การจัดการข้อมูล ข้อมูลคือพระเจ้า และยังเป็นพระเจ้าสำหรับเรื่องนี้ การจัดการ Supply Chain ในองก์กรปัจจุบันจะก้าวต่อไปไม่ได้เลย หากเราไม่ได้มีการรวมศูนย์หรือจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ เรา จำเป็นต้องมีเทคโนโลยีที่รองรับข้อมูลต่างๆ ที่จะช่วยให้การตัดสินใจ ของทุกฝ่ายเป็นไปได้รวดเร็ว ว่องไวมากขึ้น

4.การสร้างฐานลูกค้า CRM (Custormer Relationship Management)เป็นตัวอย่างที่ดี การจัดการลูกค้าสำหรับผู้ประกอบการ แ ต่ ล ะ ร า ย ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ก า ร จั ด ก า ร เ กี่ ย ว กั บ บุ ค ค ล ที่ จ ะ ซื้ อ ข อ ง เ พี ย ง อ ย่ า ง เ ดี ย ว แต่ต้องบริหารจัดการไปพร้อมๆ กับการนำเสนอสิ่งที่เรามี ยิ่งเราผสาน CRM ของตัวเองเข้ากับข้อมูลของสิ่งที่มีได้เท่าไหร่ การนำเสนอสิ่งต่างๆ ให้ ลูกค้า และการเก็บข้อมูลความชอบของลูกค้าก็ยิ่งมีประสิทธิภาพมากขึ้น เ ท่ า นั้ น ส รุ ป Supply Chain แท้จริงแล้วไม่ใช่วิธีการแต่เป็นองค์ความรู้ที่ฝ่ายบริหาร องค์กรควรนำมาประยุกต์ใช้เสียมากกว่า ซึ่งการใช้งาน Supply Chain ให้มี ประสิทธิภาพเองก็มีวิธีการที่หลากหลาย แต่ต้องมองให้ออกว่าองค์กรของ เราต้องการอะไร ลูกค้าของเราต้องการอะไร และเราจะทำอะไรที่จะ serve ลูกค้าเหล่านั้นให้ได้พอดี ไม่มีติดขัด ซึ่งอีกหนึ่งทางเลือกคือการใช้ ERP เพราะระบบ ERP สามารถช่วยคุณบริหารจัดการทรัพยากรในส่วนนี้ได้ อ ย่ า ง ล ง ตั ว แม้ว่าองค์ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ของ Supply Chain จะแทบไม่มีความ เปลี่ยนแปลง จากความยืดหยุ่นในตัวมันเอง แต่สิ่งที่เปลี่ยนไปคือการใช้ เทคโนโลยีเข้ามาสนับสนุน Supply Chain ต่างๆ ให้เป็นอุตสาหกรรม 4.0 มากขึ้น ดังนั้นผู้ประกอบการทุกคนจำเป็นต้องมีการศึกษาหาความรู้ในสาย งานตนเองอยู่เรื่อยๆ เพื่อที่จะให้เราก้าวทันยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook