Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอำนวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งที่ 2/2562 วันที่ 26 กันยายน 2562

เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอำนวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งที่ 2/2562 วันที่ 26 กันยายน 2562

Published by Winee Mai, 2019-09-25 06:25:04

Description: โดยมี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรางสาธารณสุข (นายอนุทิน ชาญวีรกูล) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (นายพิพัฒน์ รัชกิจประการ) เป็นประธานการประชุมฯ

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็น ศนู ย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งที่ 2/2562 วันที่ 26 กันยายน 2562 เวลา 13.30 – 16.30 น. ณ หอ้ งประชุมชยั นาทนเรนทร ช้ัน 2 กระทรวงสาธารณสุข ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมการอํานวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทย ให้เปน็ ศนู ยก์ ลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical hub) กรมสนระับเบสยี นบุนวาบระรกกิ าารปรสระุขชภุมาพ กระทรวงสาธารณสขุ http://gg.gg/f7yya

การประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการเพ่อื พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครงั้ ที่ 2/2562 วนั ที่ 26 กนั ยายน 2562เวลา 13.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชมุ ชยั นาทนเรนทร ช้นั 2 สํานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ **************************************** วาระท่ี เรือ่ ง หนา้ ที่ 1 เรอื่ งทป่ี ระธานแจง้ ใหท้ ป่ี ระชุมทราบ ประธานการประชมุ : รองนายกรฐั มนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข และ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา 1.1 คณะรฐั มนตรชี ุดใหม่ 1 1.2 นโยบายรัฐบาล 1 2 เร่ืองรบั รองรายงานการประชมุ (นําเสนอเป็นเอกสาร) 2.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพ 3 นานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครงั้ ท่ี 1/2562 เมือ่ วนั ท่ี 8 มนี าคม 2562 3 เรือ่ งเพอื่ ทราบ (นาํ เสนอเปน็ เอกสาร) 3.1 สรปุ ผลการประชมุ ตามนโยบายการพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) จาํ นวน 3 เรื่อง ดงั น้ี (3.1.1) การประชุมคณะกรรมการอํานวยการและคณะอนุกรรมการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้ 4 เป็นศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) จํานวน 4 คณะ และคณะอนุกรรมการ ติดตามผลการดําเนินงานในการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) รวมท้ังกลไกการดาํ เนนิ งาน (3.1.2) รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามนโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลาง 6 สขุ ภาพนานาชาติ (Medical Hub) ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (3.1.3) การประชุมเพ่ือปฏิรูปกลไกการดําเนินงาน (Retreat) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 8 ไทยให้เป็นศนู ยก์ ลางสขุ ภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ.2560-2569) 3.2 การทบทวนความคงอยู่ของคณะกรรมการต่างๆ ท่ีแต่งตั้งโดยมติคณะรัฐมนตรีและการ 11 เสนอคณะรัฐมนตรแี ต่งตง้ั คณะกรรมการใหม่ 3.3 ตวั ชว้ี ดั ตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี และงบบูรณาการของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 14 ประจําปี 2563 3.4 สรุปผลการดําเนินการวิจัยและสํารวจข้อมูล ด้าน Medical Hub ประจําปี 2562 16 โดย สาํ นักวจิ ัยเศรษฐกจิ และประเมินผล บริษัท BNH Research and Consulting จํากัด 4 เรอื่ งเพอื่ พจิ ารณา 4.1 การเสนอเร่อื งเขา้ สกู่ ารพิจารณาของคณะรัฐมนตรี จํานวน 3 เรือ่ ง ดังนี้ 23 (4.1.1) การเพม่ิ เติมกลุม่ ประเทศเป้าหมายสําหรับการยกเว้นการตรวจลงตราเพอ่ื การรกั ษา พยาบาล 90 วนั สําหรับผู้ปว่ ยและผู้ตดิ ตามรวมไมเ่ กิน 4 ราย ได้แก่ สหรัฐอเมริกา และญ่ปี ุ่น (4.1.2) การเพิม่ เติมกลมุ่ ประเทศเป้าหมายสําหรบั กลุ่มพาํ นกั ระยะยาว Long Stay Visa รหสั 25 Non-O-X (10 ป)ี ได้แก่ เกาหลี เบลเยีย่ ม ออสเตรยี และนวิ ซแี ลนด์

วาระที่ เรอ่ื ง หนา้ ท่ี (4.1.3) การกาํ หนดประเภทการตรวจลงตราชนดิ ใหม่กรณเี ขา้ รบั การรกั ษาพยาบาล (Medical 27 Visa) รหัส Non-MT ระยะเวลา 1 ปี เข้าออกไดห้ ลายครงั้ (Multiple Entry) 4.2 การเปดิ ระบบรองรบั การทาํ ประกันสขุ ภาพสาํ หรบั คนต่างดา้ วผขู้ อรบั การตรวจลงตรา 29 ประเภทคนอยชู่ ่ัวคราว Non-Immigrant Visa รหสั O-A (1 ปี) ตามมติคณะรัฐมนตรเี มอ่ื วนั ที่ 2 เมษายน 2562 โดยพร้อมเปดิ ระบบภายในวนั ท่ี 31 ตลุ าคม 2562 32 และการแถลงข่าวฯ ณ ทาํ เนียบรัฐบาล 33 4.3 กิจกรรมสําคญั เรง่ ด่วน (Quick Win) ประจําปงี บประมาณ 2563 (4.3.1) การจดั ตั้ง Body กลางในการรบั ผดิ ชอบนโยบาย Medical Hub (4.3.2) การจัดตั้งทูตสาธารณสุข (Medical Attaché) และการจัดตั้งสํานกั งานในตา่ งประเทศ   (4.3.3) การสง่ เสริมบรกิ ารรักษาพยาบาลและบริการ Wellness ทมี่ ศี ักยภาพสูงและดงึ ดูด 37 ชาวตา่ งชาติ (Magnet) รองรบั การเปน็ อุตสาหกรรมการแพทยค์ รบวงจร และกาํ หนดเป็นเส้นทาง ทอ่ งเท่ยี วเชิงสุขภาพ (4.3.4) การปรบั ปรงุ และพฒั นากฎหมายใหมร่ องรบั นโยบาย Medical Hub 38 (4.3.5) การยกระดบั การเรยี นการสอนในหลักสตู รแพทยศ์ าสตรบ์ ัณฑิตนานาชาติ (International 40 Program) ของมหาวทิ ยาลยั ภาครัฐรว่ มกบั สถานพยาบาลภาคเอกชนทีม่ ีคุณภาพระดบั สากล (4.3.6) การยกระดับการเรยี นการสอนในหลกั สูตรดา้ น Wellness ระดับ Undergraduate 42 (4.3.7) การเปิดตลาดใหมใ่ นการจําหนา่ ยสนิ ค้าสมนุ ไพรไทยทมี่ ศี ักยภาพสูงในต่างประเทศ 43 (New Marketing of Product Outlet) 44 (4.3.8) การประชาสมั พนั ธ์นโยบาย Medical Hub (4.3.8.1) การประกาศแคมเปญสาํ คัญ 2020 : Thailand’s Medical Hub of the World และ Logo Medical Hub (4.3.8.2) การจัดทาํ Package พเิ ศษใน Magnet ทม่ี ีศกั ยภาพเพื่อสง่ เสรมิ รายได้ (4.3.8.3) การประชาสมั พันธบ์ นสายการบนิ ไทยและสายการบนิ ท่ีบินตรงสปู่ ระเทศไทย รวมทั้งประชาสมั พันธใ์ นนติ ยสารสวัสดี (4.3.8.4) การประชาสมั พันธ์ผา่ นชอ่ งทางในต่างประเทศ : Series, ขา่ ว, ภาพยนตร์ (4.3.9) การทํา Business Matching ในกลมุ่ ตลาดใหม่ (Niche Market) : LGBT 48 (4.3.10) การเปดิ ศนู ยข์ อ้ มูล Medical Hub Intelligence Center 49 (4.3.11) การจัดทาํ Healthcare Complex ขนาดใหญแ่ บบครบวงจรในลกั ษณะ 51 Free Trade Zone 5 เรอ่ื งสบื เนือ่ ง (นําเสนอเปน็ เอกสาร) ความกา้ วหนา้ การดําเนนิ งานภายใตค้ ณะอนกุ รรมการเพือ่ พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลาง 53 สขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) 5.1 คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) (5.1.1) ความกา้ วหนา้ การดําเนินการรองรับการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยกรณีเดิน ทางเข้ามารับการรักษาพยาบาลรวม 90 วัน สําหรับผู้ป่วยและผู้ติดตามรวมไม่เกิน 4 ราย ในกลุ่ม ประเทศสมาชกิ คณะมนตรคี วามรว่ มมือรัฐอา่ วอาหรบั (GCC) รวมท้ังกลุ่มประเทศ CLMV และจีน

วาระท่ี เรื่อง หน้าท่ี (5.1.2) ความก้าวหน้าการพัฒนาศูนย์ประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บ 54 คา่ รกั ษาพยาบาลชาวต่างชาตสิ าํ หรับสถานพยาบาลภาครฐั ในจงั หวดั ทอ่ งเทย่ี ว (5.1.3) ความก้าวหน้าการส่งเสริมการลงทุนภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์ของ BOI และในเขต 55 เศรษฐกจิ พเิ ศษ EEC 5.2 คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 57 (Wellness Hub) 58 (5.2.1) ความกา้ วหนา้ การประกาศใหอ้ าชพี นวดไทยเปน็ อาชพี สงวนสําหรับคนไทย 63 (5.2.2) แนวปฏิบัติและกิจกรรมรองรับการประกาศให้บริการนวดไทยผ่านการรับรองจาก UNESCO 63 (5.2.3) ความกา้ วหนา้ การพฒั นา Healthy Home Stay ในจงั หวดั ท่องเท่ยี วชั้นนาํ 65 (โดย กรมการท่องเท่ยี ว) (5.2.4) ความก้าวหนา้ การพฒั นา Medical Spa ในประเทศไทย (5.2.5) ความกา้ วหนา้ การสง่ เสริมพัฒนาสมาคม ชมรมนวดไทย สปาไทยในต่างประเทศ 5.3 คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการวิชาการและงานวิจัย 67 (Academic Hub) 67 68 (5.3.1) ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบการศึกษาต่อแพทย์เฉพาะทาง (Post Graduate 69 Training) โดยให้ภาคเอกชนร่วม (Affiliated Private Training) 72 (5.3.2) ความกา้ วหน้าการพัฒนาระบบการใหท้ นุ การศึกษาแก่กลุ่มประเทศ CLMV (5.3.3) ความกา้ วหนา้ การพัฒนา Clinical Research Center ในประเทศไทยแบบครบวงจร (5.3.4) ความกา้ วหนา้ การเปน็ ศนู ย์กลางการประชุมวชิ าการทางการแพทย์ (5.3.41) การจดั ประชมุ Medical MICE ทไ่ี ด้รับการประมูลสิทธแ์ิ ล้ว (5.3.4.2) การจดั ประชุมวชิ าการนานาชาติในประเทศไทย ประจาํ ปี 2563 (International Conference 2020) และ Medical Hub Expo 2020 (5.3.5) ความก้าวหน้าการจัดทําระบบ Online Learning มาตรฐานสากล (JCI-GHA-HA- WellHotel) 5.4 คณะอนุกรรมการพฒั นาประเทศไทยให้เป็นศนู ยก์ ลางยาและผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพ (Product 74 Hub) 76 (5.4.1) ความก้าวหนา้ การจัดตง้ั Product Outlet จําหน่ายผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพในประเทศ 77 (5.4.2) ความก้าวหน้าการจัดต้ังศูนย์ทดสอบเครื่องมือแพทย์ท่ีมีมาตรฐานสากลในประเทศไทย (Medical Device Laboratory Testing) 78 (5.4.3) ความกา้ วหนา้ การเพ่ิมขดี ความสามารถเครือ่ งสาํ อางประชารัฐของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ (5.4.4) ความก้าวหน้าการจัดต้ังศูนย์สาธิตนวัตกรรมทางการแพทย์ไทย และการพัฒนา นวตั กรรมผลิตภัณฑ์เพ่อื ผ้สู ูงอายุ 6 เร่อื งอืน่ ๆ (เอกสารแนบ) 6.1 กาํ หนดการประชุมคณะกรรมการอาํ นวยการเพ่อื พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศูนย์กลาง 82 สขุ ภาพนานาชาติ (Medical Hub) คร้งั ที่ 3/2562 ในเดือนธนั วาคม 2562

วาระที่ เรื่อง หนา้ ที่ ภาคผนวก (QR Code) 84 1. คําสั่งแต่งตงั้ คณะรฐั มนตรีชุดใหม่ 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. 2560-2569) 3. คําส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพ นานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) 4. คําสั่งแต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) จํานวน 4 คณะ และคณะอนุกรรมการติดตามผลการดําเนินงานในการ พัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ยก์ ลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) 5. สรุปผลการประชุมคณะอนุกรรมการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) จํานวน 4 คณะ และคณะอนุกรรมการติดตามผลการดําเนินงานในการ พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) 6. รายงานการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพ นานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งที่ 1/2562 เม่ือวันท่ี 8 มนี าคม 2562 7. รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามนโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพ นานาชาติ Medical Hub ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

ระเบยี บวาระที่ 1 เรือ่ งทปี่ ระธานแจง้ ใหท้ ป่ี ระชมุ ทราบ ประธานการประชุม : รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข และ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า 1.1 คณะรัฐมนตรชี ดุ ใหม่ ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๗๖ ง วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ได้มีพระบรมราช โองการโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศลงวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๖๒ และอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๕๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่งตั้ง นาย อนุทิน ชาญวีรกูล เป็นรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และ นายพิพัฒน์ รัชกิจประการ เป็นรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รายละเอียดคําสงั่ แต่งต้งั ตาม QR Code ในภาคผนวก ขอ้ 1 1.2 นโยบายรัฐบาล นายอนทุ นิ ชาญวรี กลู รองนายกรัฐมนตรีและรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการ กระทรวงสาธารณสุข มีภารกิจดูแลประชาชนทุกช่วงวัย ต้ังแต่เกิดจนสิ้นอายุขัย ทํางานในมิติสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อลดความเจ็บป่วย ลดความจนของประชาชน ซ่ึงนโยบายท่ีต้องการให้เกิดผลต่อประชาชนทุกคนใน ประเทศไทย นับจากนี้ คือ “ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ ร่างกายแข็งแรง ทําให้เศรษฐกิจของประเทศแข็งแรง” โดยมี นโยบายท่ีจะทํางานร่วมกัน 5 ด้าน ดังน้ี (1) การพัฒนางานสาธารณสุขตามแนวพระราชดําริ โครงการเฉลิมพระ เกียรติ และโครงการที่เก่ียวเนื่องกับพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ เพ่ือสืบสาน รักษาต่อยอด และพัฒนาการบริการ ด้านสาธารณสุข ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน (2) การดูแลให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางกาย ทางใจ และมีความม่ันคงทางสุขภาพ ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ และจัดการภัยคุกคามความมั่นคงทางสุขภาพอย่าง ครบวงจรและบูรณาการ (3) การดูแลให้ประชาชนได้รับบริการท่ีมีคุณภาพ ปลอดภัย ลดความเหลื่อมลํ้าความแออัด ระยะเวลารอคอย และภาระค่าใช้จ่าย โดยเพ่ิมขีดความสามารถโรงพยาบาลทุกระดับ พัฒนาและยกระดับความรู้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็นหมอประจําบ้าน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทาง การแพทย์เพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการบรกิ าร (4) ผลกั ดันพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข ส่งเสริมนวัตกรรมและศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ ท้ังระบบบริการ การสร้างเสริมสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิง สุขภาพ การศึกษาวิจัย การผลิตและพัฒนากําลังคน ประชาชนได้รับการบริการที่ทันสมัย เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ เพมิ่ รายได้ให้ประเทศ (5) การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการ ทุกหน่วยงานยึดหลักธรรมาภิบาล ความโปร่งใสใน การปฏิบัติงาน ผู้บริหารหน่วยงานทุกระดับต้องให้ความสําคัญในการสร้างขวัญกําลังใจบุคลากร มีความสุขในการ ทาํ งาน และกา้ วหนา้ ในอาชพี นายพพิ ฒั น์ รัชกจิ ประการ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า ประธานกรรมการรว่ ม กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา มีนโยบายที่จะเร่งรัดผลักดันให้เกิดผลสําเร็จเป็นรูปธรรมเกิดประโยชน์แก่ ประเทศชาติและประชาชนท้ังด้านการท่องเที่ยวและด้านการกีฬา แนวนโยบายในการขับเคล่ือนด้านการท่องเที่ยว (1) ยกระดับความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว (Safe) (2) ส่งเสริมความสะอาดในแหล่งท่องเท่ียว (Clean) (3) ส่งเสริมความเป็นธรรมในการท่องเท่ียว (Fair) รณรงค์และส่งเสริมผู้ประกอบการไม่ให้เอารัดเอาเปรียบ นักท่องเที่ยว (4) ส่งเสริมการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนและรักษ์ส่ิงแวดล้อม (Sustainablity) ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดย ชุมชน (Community-Based Tourism) เพ่ือกระจายรายได้สู่ชุมชน ส่วนนโยบายอ่ืนๆ คือ (1) ขับเคลื่อนไทยแลนด์ ริเวียร่า เพือ่ เช่อื มโยง EEC และระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (2) เนน้ ตลาดนักท่องเที่ยวท่ีมีคุณภาพสูง เช่น ยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย เป็นต้น (3) ส่งเสริมความร่วมมือด้านการท่องเท่ียวระหว่างประเทศ โดยเฉพาะ ไทย-จีน, ไทย- อาเซียน , ไทย-อินเดีย (4) ส่งเสริมความเชื่อมโยงระหว่างประเทศ ท้ังทางอากาศ ทางบก ทางรางและทางนํ้า (5) เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) คร้ังที่ 2/2562 หนา้ 1

ส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ (6) ส่งเสริมธุรกิจ Sharing Economy (7) พัฒนา Big Data เพ่ือการท่องเท่ียวและ กีฬา / สร้าง Application ท่ีเป็นของเราเอง (8) ยกระดับมาตรฐานบุคลากรด้านการท่องเท่ียว เพื่อบริการ นักท่องเท่ียวให้มีคุณภาพ (9) บริหารจัดการท่องเท่ียวอย่างมีธรรมาภิบาลแนวนโยบายในการขับเคล่ือนด้านการกีฬา 1) ส่งเสริมให้คนไทยออกกําลังกาย เล่นกีฬาและนันทนาการอย่างสมํ่าเสมอ 2) ส่งเสริมการนําวิทยาศาสตร์การกีฬา มาใช้ในการพัฒนานักกีฬา 3) ส่งเสริมโรงเรียนกีฬา เฉพาะด้าน เช่น ฟุตบอล, กอล์ฟ และวอลเล่ย์บอล เป็นต้น 4) ส่งเสริม Sport Tourism 5) ส่งเสริมความร่วมมือด้านกีฬาระหว่างประเทศ 6) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมกีฬาระดับ โลกในประเทศไทย 7) ส่งเสรมิ นกั กีฬาไทยสกู่ ีฬาระดบั โลก ความเหน็ /มตทิ ่ปี ระชุม ............................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการเพ่อื พัฒนาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครง้ั ที่ 2/2562 หนา้ 2

ระเบยี บวาระที่ 2 เร่ืองรบั รองรายงานการประชุม (นําเสนอเป็นเอกสาร) 2.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพ นานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) คร้ังที่ 1/2562 เม่ือวันท่ี 8 มีนาคม 2562 ฝ่ายเลขานุการฯ ได้นําส่งรายงานการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้เป็น ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2562 เม่ือวันท่ี 8 มีนาคม 2562 ไปเพื่อคณะ กรรมการฯ ทุกท่านพิจารณา ตามหนังสือ ท่ี สธ 0707.03/450 ลงวันที่ 11 เมษายน 2562 และหนังสือ ท่ี สธ 0707.03/ว453 ลงวนั ท่ี 11 เมษายน 2562 ซง่ึ ในเบอ้ื งต้นมีหนว่ ยงานขอแก้ไข จํานวน 3 แห่ง ได้แก่ กองบริหาร การสาธารณสุข กรมการท่องเท่ียว และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซ่ึงฝ่ายเลขานุการฯ ได้ดําเนินการแก้ไขรายงาน การประชุมเรยี บรอ้ ยแลว้ รายละเอยี ดตาม QR Code ในภาคผนวกข้อ 6 จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดเพื่อพจิ ารณารับรองรายงานการประชมุ ความเห็น/มติท่ีประชมุ ...................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการเพอื่ พฒั นาประเทศไทยให้เป็นศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครง้ั ท่ี 2/2562 หน้า 3

ระเบยี บวาระที่ 3 เรื่องแจ้งเพอื่ ทราบ (นาํ เสนอเป็นเอกสาร) 3.1 สรุปผลการประชุมตามนโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) จาํ นวน 3 เรื่อง ดังน้ี (3.1.1) การประชุมคณะกรรมการอํานวยการและคณะอนุกรรมการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้เป็น ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) จํานวน 4 คณะ และคณะอนุกรรมการติดตามผลการ ดําเนินงานในการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) รวมทั้งกลไกการ ดําเนนิ งาน ฝ่ายเลขานุการฯ ได้จดั ประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการฯ และคณะอนกุ รรมการเพื่อพัฒนาประเทศไทย ใหเ้ ป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) 4 คณะ และคณะอนุกรรมการตดิ ตามผลการดําเนินงาน ฯ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จาํ นวนรวม 16 คร้งั ดงั นี้ คร้ังที่ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนกุ รรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนกุ รรมการ อํานวยการฯ Wellness Hub Medical Academic Product Hub ตดิ ตามผลฯ Service Hub Hub 1 14 ธันวาคม 30 พฤศจกิ ายน 27 พฤศจกิ ายน 4 ธันวาคม 30 พฤศจิกายน 27 พฤษภาคม 2561 2561 2561 2561 2561 2562 2 8 มีนาคม 26 กมุ ภาพนั ธ์ 27 กมุ ภาพันธ์ 28 กุมภาพันธ์ 1 มีนาคม 21 มิถนุ ายน 2562 2562 2562 2562 2562 2562 3 - 28 พฤษภาคม 29 พฤษภาคม 30 พฤษภาคม 31 พฤษภาคม - 2562 2562 2562 2562 กลไกการดาํ เนนิ งานของคณะกรรมการอํานวยการและคณะอนกุ รรมการ มดี งั นี้ 1. คณะกรรมการอํานวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) มีมติมอบหมายสั่งการให้คณะอนุกรรมการติดตามผลการดําเนินงานในการพัฒนาประเทศไทยให้เป็น ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) แจ้งมติไปยังประธานทั้ง 4 คณะ ได้แก่ คณะอนุกรรมการ พัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศ ไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยให้เป็น ศูนย์กลางบริการวิชาการ (Academic Hub) และคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางยา และ ผลติ ภณั ฑ์สุขภาพ (Product Hub) ดาํ เนินการขับเคลอื่ นโครงการ/กิจกรรมสําคัญ (Quick win) ตามมติท่ปี ระชมุ 2. ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการติดตามฯ (กองสุขภาพระหว่างประเทศ เป็นเลขานุการ และกอง พัฒนาบริการท่องเที่ยว เป็นเลขานุการร่วม) จัดให้มีการประชุมคณะอนุกรรมการติดตามผลการดําเนินงานตามมติ คณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ไตรมาสละ 2 คร้ัง ในช่วงก่อนและหลังการประชุมคณะกรรมการอํานวยการฯ และจัดทําหนังสือติดตามมติการ ประชมุ ของคณะกรรมการอาํ นวยการฯ ไปยงั อนุกรรมการแตล่ ะคณะฯ เพื่อติดตามความก้าวหนา้ ของการดาํ เนินงาน 3. ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการติดตามฯ ดําเนินการติดตามผลและอุปสรรคในการพัฒนาประเทศ ไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) โดยจัดทําเป็นรายงานต่อประธานคณะกรรมการ อํานวยการฯ โดยในวาระการจัดประชุมคณะกรรมการอํานวยการฯ ทุกครั้ง จะต้องกําหนดให้มีระเบียบวาระรายงาน ความก้าวหน้าของคณะอนุกรรมการฯ ทั้ง 4 คณะ รวมท้ังความก้าวหน้าการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการติดตาม ผลการดําเนินงานในการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) โดยมีลําดับ ขั้นตอนของการดาํ เนินงาน ดงั นี้ เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอาํ นวยการเพือ่ พัฒนาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศูนย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) คร้ังที่ 2/2562 หน้า 4

ทั้งนี้ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (ฝ่ายเลขานุการฯ) ได้เสนอหนังสือสรุปผลการดําเนินงานตามมติที่ ประชุมนโยบาย Medical Hub ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2562 (ระหวา่ งเดอื นตุลาคม 2561 – กรกฎาคม 2562) นําเรียนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เรียบร้อยแล้ว เมอ่ื วนั ที่ 13 กนั ยายน 2562 (หนงั สอื กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ ดว่ นทสี่ ดุ ที่ สธ 0707.03/1124-1125) โดย มรี ายละเอยี ดสรุปผลการดาํ เนนิ งานตามมตทิ ี่ประชุมฯ ดงั เอกสารแนบ QR Code ด้านล่างนี้ จึงเสนอมาเพ่อื โปรดทราบ ความเหน็ /มติที่ประชมุ http://gg.gg/f7nwv ............................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งที่ 2/2562 หนา้ 5

ระเบยี บวาระท่ี 3 เรือ่ งแจง้ เพอ่ื ทราบ (นาํ เสนอเปน็ เอกสาร) (ต่อ) 3.1 สรุปผลการประชุมตามนโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) จํานวน 3 เร่ือง (ต่อ) (3.1.2) รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามนโยบายการพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศูนย์กลางสขุ ภาพ นานาชาติ (Medical Hub) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพได้ดําเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลาง สุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. 2560 - 2569) โดยมีผลการดําเนินงานภายใต้โครงการสําคัญ (Flagship) ในระยะเร่งด่วน (Quick Win) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ใน 4 ผลผลิตหลัก จากสถิตินักท่องเท่ียว ชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทย ปี 2562 ประจําเดือนสิงหาคม 2562 มีจํานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ท้ังหมดรวม 3,466,456 คน เพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 7.35 เกิดรายได้จํานวน 169,771.51 ล้านบาท (ข้อมูลจาก กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา : สิงหาคม 2562) มีสถานพยาบาลท้ังโรงพยาบาลและคลินิกในประเทศไทยท่ีผ่าน การรับรองมาตราฐาน JCI ท้ังหมด 67 แห่ง แบ่งเป็นโรงพยาบาล 49 แห่ง และคลินิก 18 แห่ง ธุรกิจโรงพยาบาล เอกชนมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเน่ืองเฉลี่ย 10 - 13% ในช่วงปี 2562-2564 ซึ่งได้แรงหนุนสําคัญจากนโยบาย ภาครัฐที่มุ่งส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) ต้ังแต่ปี 2547 เป็นต้นมา (ข้อมูลจาก ศูนยว์ ิจยั กรุงศรฯี : ปี 2562) และโรงพยาบาลเอกชนของไทยตดิ อนั ดับ 5 ของโรงพยาบาลท่ีดที ส่ี ุดในโลก (ขอ้ มลู จาก website : worldsbesthospitals.net : 2019) (รายละเอียดตาม QR Code ภาคผนวก ข้อ 7) โดยแบ่งผลการ ดาํ เนินงานตาม 4 ผลผลติ หลัก ดงั น้ี ศูนยก์ ลางบรกิ ารสขุ ภาพ (Medical Service Hub) ประกอบด้วย 1. การสง่ เสรมิ พฒั นาให้โรงพยาบาลเอกชนและคลนิ ิกไดร้ บั การรับรองมาตรฐานระดบั สากล 2. การขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทย รวม ๙๐ วัน สําหรับผู้ป่วยและผู้ติดตามรวม 4 ราย กรณี เดินทางเข้ามารกั ษาพยาบาล 3. การเพ่ิมเติมกลุ่มประเทศเป้าหมายในนโยบายการยกเว้นการตรวจลงตราเพ่ือการรักษาพยาบาล 90 วัน สาํ หรับผู้ปว่ ยและผู้ติดตามรวมไม่เกิน 4 ราย และนโยบาย Long stay visa 4. การจัดทาํ ศูนยข์ ้อมลู สารสนเทศรองรับนโยบาย Medical Hub 5. การพัฒนาศูนย์ประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลชาวต่างชาติสําหรับ สถานพยาบาลภาครฐั ในจังหวัดทอ่ งเทยี่ ว และมกี ารพัฒนา Central Claim center นําร่องในเขตสุขภาพที่ 10 6. การปรับปรุงกฎหมายรองรับการเพิ่มเติมหลักเกณฑ์การทําประกันสุขภาพสําหรับคนต่างด้าวผู้ขอรับการ ตรวจลงตราประเภทคนอย่ชู ัว่ คราว Non-Immigrant Visa รหสั O-A (ระยะ 1 ป)ี 7. การส่งเสริมบรกิ ารรกั ษาพยาบาลท่มี ีศักยภาพ (Magnet) รองรบั การเป็นอตุ สาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) และการบรกิ ารเพอ่ื สง่ เสริมสขุ ภาพ (Wellness) 8. การส่งเสริมการลงทนุ ภายใต้ชุดสิทธปิ ระโยชน์ของ BOI และในเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ EEC ศนู ย์กลางบริการเพือ่ ส่งเสริมสขุ ภาพ (Wellness Hub) ประกอบด้วย 1. สถานประกอบการที่ผ่านการรับรองมาตรฐานตามพระราชบัญญัติสถานประกอบการ เพ่อื สุขภาพ พ.ศ. 2559 2. การพัฒนา Healthy Homestay รองรับการเป็นศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ในจังหวัด ทอ่ งเท่ยี วชนั้ นํา (โดยกรมการทอ่ งเที่ยว) เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอํานวยการเพื่อพฒั นาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครงั้ ที่ 2/2562 หนา้ 6

3. การประกาศให้อาชีพนวดไทยเป็นอาชีพสงวนสําหรับคนไทย โดยเพ่ิมเติมบทบัญญัติในกฎหมายลําดับ รองทเี่ กีย่ วข้องใหอ้ าชีพนวดไทยเปน็ อาชพี สงวนหา้ มมิให้ชาวต่างชาตทิ ําในราชอาณาจักร 4. การส่งเสรมิ พฒั นา สมาคม ชมรมนวดไทย สปาไทยในตา่ งประเทศ 5. การจัดทํา Directory ของสถานบรกิ ารเพ่ือสง่ เสรมิ สุขภาพ (Wellness Hub) 6. การยกระดับบรกิ ารนวดไทยใหผ้ ่านการรบั รองจาก UNESCO 7. การคัดเลือกบริการเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ (Wellness) ที่มีศักยภาพ และดึงดูดผู้รับบริการ (Magnet) เพ่อื การจัดแสดงในศนู ยส์ าธิตนวัตกรรมทางการแพทย์ไทย และส่งเสรมิ ให้เป็นบริการท่สี รา้ งรายได้เข้าส่ปู ระเทศไทย 8. การพฒั นา Medical Spa ในประเทศไทย ศนู ยก์ ลางบริการวชิ าการและงานวิจัย (Academic Hub) ประกอบดว้ ย 1. การพัฒนาระบบการศึกษาต่อแพทย์เฉพาะทาง โดยให้ภาคเอกชนร่วม Affiliated Private Training 2. การพฒั นาระบบการใหท้ นุ การศึกษาแก่กลมุ่ ประเทศ CLMV 3. การพฒั นา Clinical Research Center ในประเทศไทยแบบครบวงจร 4. การเปน็ ศนู ย์กลางการจดั ประชุมวชิ าการทางการแพทย์ระดบั นานาชาติ (Medical MICE) 5. (รา่ ง) แนวทางการจัดประชมุ วชิ าการนานาชาติ Medical Hub Expo 2020 ในประเทศไทย ในปี 2563 6. The 1st Forum Medical Hub Conference 2019 การจัดการประชุมวิชาการนานาชาติ และ นทิ รรศการทางการแพทย์ 7. การจดั ทําระบบ Online Learning มาตรฐานสากล ( JCI - GHA - WellHotel) ศนู ย์กลางยาและผลิตภณั ฑ์สุขภาพ (Product Hub) ประกอบด้วย 1. การพัฒนา Product Outlet จาํ หนา่ ยผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพในประเทศและต่างประเทศ 2. การจดั ตง้ั ศนู ย์ทดสอบเครอ่ื งมือแพทยท์ ม่ี ีมาตรฐานสากลในประเทศไทย (Medical Device Laboratory Testing) 3. การจัดตัง้ ศูนย์สาธติ นวัตกรรมทางการแพทย์ไทย จึงเสนอมาเพือ่ โปรดทราบ ความเห็น/มตทิ ่ีประชุม .................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอาํ นวยการเพอ่ื พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครงั้ ที่ 2/2562 หนา้ 7

ระเบยี บวาระที่ 3 เรื่องแจง้ เพอ่ื ทราบ (นาํ เสนอเป็นเอกสาร) (ตอ่ ) 3.1 สรุปผลการประชุมตามนโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) จาํ นวน 3 เรื่อง (ตอ่ ) (3.1.3) การประชุมเพ่ือปฏิรูปกลไกการดําเนินงาน (Retreat) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทย ใหเ้ ป็นศูนยก์ ลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ.2560-2569) ฝ่ายเลขานุการฯ ได้จัดประชุม Retreat ภายใต้กลไกการดําเนินงานยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทย ใหเ้ ป็นศูนยก์ ลางสุขภาพนานาชาติ รวม 4 ครงั้ ดงั นี้ 1. ประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติและอุตสาหกรรมการแพทย์ ครบวงจร (Medical Hub) เพ่ือสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศร้อยละ 20 และการก้าวเป็น Top 1 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2562 สรุปแนวทางการดําเนินการ ดังนี้ (1) มี Body กลางที่ดําเนินการร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน (2) มีการ ปรับปรุงกฎระเบยี บท่ีเก่ียวขอ้ ง (3) มีการสง่ เสริมคณุ ภาพระดบั สากล (4) มกี ารประชาสมั พนั ธ์ในภาพลกั ษณข์ องประเทศ ในดา้ นความเป็นเลิศทางการแพทย์ (Center of Excellence) (5) มีการจําแนกกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนมีฐานข้อมูลท่ีเป็น ปัจจุบัน (6) มีกลไกอํานวยความสะดวก (7) เป็น Hub of Clinical Trial โดยเน้นการพัฒนา Know How (8) สร้าง ความสัมพันธ์ท่ีดีกับ Assistant Company/ Private Insurance/ Influencer/ Authorit (9) ระบบ Payment Mechanism (10) มีแผนพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์รองรับความต้องการของชาวต่างชาติ (11) เน้นการพัฒนา Product Hub ที่เป็น High-Technology (12) บูรณาการกับกรมวิชาการอื่นๆ ในเรื่อง Service/ Academic/ Product/Lab (13) การส่งเสริมการลงทุนของ BOI ให้แก่โรงพยาบาลเอกชน (14) เพิ่ม Hub of Sport ให้มี Medical Village ในการแข่งขันนานาชาติ (15) ในเขต EEC ให้มีศูนย์การทดสอบทาง Genomic Thailand (16) ให้มีระบบ ตดิ ตามนโยบาย Medical Hub รองรบั Middle Income ในโรงพยาบาลภาครัฐ (17) สรา้ งกลไกในการเปน็ เครือขา่ ยการ ดําเนินการและแลกเปลี่ยนข้อมูลด้าน Medical Hub ร่วมกัน (18) ให้มีการค้นหาแนวความคิดๆ/ แนวทางการ ดําเนนิ การใหม่ในดา้ น Medical Hub 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อปฏิรูปกลไกการดําเนินงาน (Retreat) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทย ใหเ้ ปน็ ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ.2560-2569) รวม 3 ครั้ง ประกอบดว้ ย (2.1) เม่ือวันท่ี 4 – 6 มิถุนายน 2562 ณ โรงแรมเดอะกรีนเนอร่ี รีสอร์ท เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา โดยมีวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นผู้วิพากษ์ ผู้เข้าร่วมประชุม อาทิเช่น กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงพาณิชย์ สํานักงานคณะกรรมนโยบายเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โรงพยาบาลเอกชน สํานักงานสนับสนุนบริการสุขภาพ เขต 1 - 12 สํานักงาน สาธารณสุขจังหวัดท่องเท่ียว หน่วยงานภาครัฐและเอกชนท่ีเก่ียวข้อง (2.2) ประชุมเพื่อพัฒนากลไกการดําเนินงาน Retreat ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ.2560-2569) ต่อเนื่อง จากการประชุมท่ีเขาใหญ่ครั้งท่ี 1/2562 เม่ือวันที่ 12 กรกฎาคม 2562 และครั้งท่ี 2/2562 เม่ือวันท่ี 24 กรกฎาคม 2562 ณ กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ โดยสรุปสาระสาํ คัญทั้งหมดได้ดังนี้ (1) พัฒนาและสร้างศักยภาพในการให้บริการเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) ให้มีการบูรณา การบริการด้านสุขภาพร่วมกับการท่องเท่ียว การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ สร้างงาน สร้าง อาชีพ และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในประเทศ รวมท้ังการพัฒนา Wellness City เพื่อเป็นต้นแบบ โดยนําร่องใน จังหวัดปราจีนบุรี ส่งเสริมและยกระดับธุรกิจของกลุ่มผู้ประกอบการ SME ที่มีความโดดเด่นบนฐานของภูมิปัญญา ท้องถิ่น รวมถึงสนับสนุนและยกระดับธุรกิจหลักท่ีทําได้ดีในปัจจุบัน ได้แก่ สปา และนวดไทย พัฒนาต่อยอดธุรกิจท่ีมี ความเป็นไปได้ในการแข่งขันในอนาคต ได้แก่ Medical spa/ นํ้าพุร้อน/ ศูนย์ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ/ โฮมสเตย์/ ฟิตเนส เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการเพือ่ พัฒนาประเทศไทยให้เปน็ ศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) คร้ังที่ 2/2562 หน้า 8

และธุรกิจร้านแว่นตา โดยนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ บริการ และประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมและผลักดันการจัดตั้งสถาบันด้านการนวดแผนไทย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจบริการนําไปสู่การ เป็นศูนย์กลางด้าน Wellness Academic ในระดับโลก การปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบท่ีเก่ียวข้อง มี ความจําเป็นต้องดําเนินการเพื่อตอบสนองต่อการให้บริการด้าน Wellness ของผู้ประกอบการภายในประเทศ และ พัฒนาไปสู่การให้บริการในต่างประเทศ รวมท้ังเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังใน และต่างประเทศ นําไปสู่การพัฒนามาตรฐานการให้บริการสู่ระดับสากล เพ่ือให้มีการส่งเสริมและพัฒนากลไกการ รับรองมาตรฐานที่เป็นท่ียอมรับในระดับสากล เช่น การมอบรางวัลเพื่อรับรองสถานะ และประชาสัมพันธ์สถาน ประกอบการท่ีได้มาตรฐานต่อกลุ่มเป้าหมายในต่างประเทศ การบูรณาการเพ่ือจัดแผนทําการตลาดเชิงรุก เช่น การจัด Wellness Expo ประจําปีในต่างประเทศ เพื่อเป็นพ้ืนที่ในการเจรจาธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการของไทยกับผู้บริโภค กลุ่มเป้าหมาย และการขอความร่วมมือจากภาคเอกชนเพ่ือจัดทําแพคเกจหรือโปรโมชั่นส่งเสริมการขายเพื่อดึงดูดความ สนใจจากนักท่องเท่ียว (2) ด้านศูนย์กลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) สนับสนุนด้านการร่วมลงทุน (Public Private Partnership: PPP) เพื่อเป็นการพัฒนาและต่อยอดธุรกิจ และควรมีหน่วยงานหลักท่ีรับผิดชอบ นโยบาย Medical Hub เพ่ือให้การบริหารและขับเคล่ือนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องใช้ความคล่องตัวในการทํางาน ประสานงานและบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มุ่งเน้นการประชาสัมพันธ์บริการด้านสุขภาพของไทยในตลาด ต่างประเทศ โดยมีหน่วยงานทท่ี ําหนา้ ทบ่ี ริหารและขบั เคล่อื นนโยบาย Medical Hub ซ่ึงทําหน้าที่เป็นหน่วยงานกลาง ในการประสานและบูรณาการทํางานเพื่อวางแผนและกลยุทธ์ในการสร้างแรงจูงใจ ดึงดูดผู้รับบริการชาวต่างชาติ ร่วมกับสํานักงานในกํากับซึ่งต้ังอยู่ในกลุ่มประเทศเป้าหมาย อีกประการสําคัญ คือ การมีฐานข้อมูลกลางที่มีความ น่าเช่อื ถอื เพ่ือประกอบการตดั สินใจใช้บริการของผบู้ รโิ ภค การให้ขอ้ มลู ด้านการแพทย์และสุขภาพของประเทศมีความ ถูกต้องแม่นยํา นําไปสู่การสร้างความน่าเช่ือถือเพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้รับบริการชาวต่างชาติ ควรจัดให้มี ผู้ช่วยทูตด้านการแพทย์และสุขภาพ (Medical and Health Attaché) และการจัดทําหน่วยบริการสุขภาพเคลื่อนที่ (Mobile Medical Service) ในตลาดต่างประเทศทม่ี คี วามตอ้ งการรับบริการด้านการแพทย์สาธารณสุข (3) ด้านศูนย์กลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) มุ่งเน้นการสร้างรายได้/ มูลค่า ทางเศรษฐกิจจากงานวิจัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข โดยมีฐานข้อมูล (Database) ที่มีความน่าเช่ือถือ เน้นการ ผลิตสินค้าและบริการทางด้านสุขภาพของไทย (บัญชีนวัตกรรมไทย) เพ่ืองดการนําเข้าสินค้าบางประเภทจาก ต่างประเทศ และการพัฒนาและผลักดันให้สมุนไพรไทยสามารถทดแทนหรือถูกนํามาใช้ในฐานะยาแผนปัจจุบัน รวมถึงการผลักดันให้ไทยเป็นศูนย์กลางในการฝึกอบรมหลักสูตรทางการแพทย์เฉพาะด้านและส่งเสริมศักยภาพการ ผลิตตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากรทางการแพทย์ของไทย โดยมีการติดตามและประเมินการดําเนินงาน เพ่อื จดั ทํารายงานการดําเนินงานประจาํ ปี (Annual Report) (4) ด้านศูนย์กลางยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Product Hub) ส่งเสริมและพัฒนาเพื่อยกระดับ มาตรฐานสินค้าด้านสุขภาพของไทย โดยเฉพาะ Products Champion 4 ชนิด (กระชายดํา บัวบก ไพล ขม้ินชัน) โดย สนับสนุนให้มกี ารวิจยั เพ่ือรับรองสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด และผลักดันสมุนไพรให้ได้รับการรับรองมาตรฐานท้ัง ในประเทศ เชน่ จากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และต่างประเทศ เช่น มาตรฐานฮาลาลสากล เครื่องมือทาง การแพทย์ ควรมุ่งเน้นการให้ผู้ประกอบการในไทยเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการพัฒนาศักยภาพในการผลิตเคร่ืองมือ ทางการแพทย์ เช่น การให้สถาบันการเงินสนับสนุนการกู้เงินแก่ผู้ประกอบการ การจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือในด้านต่างๆ เป็นต้น รวมท้งั ให้มหี น่วยงานรบั รองมาตรฐานเครื่องมือทางการแพทยข์ องไทย เช่น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและ ยา และให้การสนับสนุนหรืออํานวยความสะดวกในการเข้าถึงการรับรองมาตรฐานที่เก่ียวข้องในระดับสากลเพื่อเป็นท่ี ยอมรับในต่างประเทศ การส่งเสริมให้มีการผลิตผลิตภัณฑ์สําหรับการดูแลรักษาสุขภาพรองรับการก้าวเข้าสู่ยุคสังคม ผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (Age Society) ในอนาคต และการพัฒนาการตลาดเชิงรุกทั้งในและต่างประเทศ ส่งเสริมด้าน เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอาํ นวยการเพอ่ื พัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) คร้ังท่ี 2/2562 หนา้ 9

การตลาดเพ่ือให้กลุ่มเป้าหมาย (ผู้บริโภค) รู้จักสินค้าด้านสุขภาพของไทย โดยเน้นการใช้ ‘หน่วยงานด้านการตลาดมือ อาชีพ (Organizer) ตลอดจนให้ความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนา (R&D) ผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร และตํารับยาแผน โบราณเพ่ือพฒั นาตอ่ ยอดให้ได้มาตรฐาน และนําไปสกู่ ารรบั รองในฐานะยาแผนปจั จบุ นั ในอนาคต แนวทางการดําเนนิ งาน 1. ทบทวนและพัฒนากลไกและกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ เช่น การวาง Positioning และ เป้าหมายท่ีชัดเจน การพัฒนาศักยภาพหน่วยงานท่ีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การบริหารการประชุมอนุกรรมการต่างๆ เป็นตน้ 2. จัดประชุมระดมความคิดเห็นจากผู้บริหาร ผู้เช่ียวชาญ และผู้ท่ีเก่ียวข้องภายในหน่วยงาน และ ภายนอกหน่วยงาน และใช้กระบวนการสังเคราะห์เป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย หรือกลยุทธ์ในการดําเนินการที่เหมาะสม เพื่อใหบ้ รรลุผลสําเรจ็ ตามยุทธศาสตร์ตอ่ ไป จงึ เสนอมาเพอ่ื โปรดทราบ ความเห็น/มตทิ ป่ี ระชุม ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอํานวยการเพ่อื พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครง้ั ที่ 2/2562 หน้า 10

ระเบยี บวาระที่ 3 เร่ืองแจง้ เพอื่ ทราบ (นาํ เสนอเปน็ เอกสาร) (ต่อ) 3.2 การทบทวนความคงอยู่ของคณะกรรมการต่างๆ ที่แต่งตั้งโดยมติคณะรัฐมนตรีและการเสนอ คณะรัฐมนตรแี ต่งตง้ั คณะกรรมการใหม่ ความเป็นมา 1. ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560 ได้แต่งต้ังคณะกรรมการอํานวยการเพื่อพัฒนาประเทศ ไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ซึ่งจัดตั้งตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็น ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) (พ.ศ.2560-2569) ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 13 กันยายน 2559 โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นประธาน กรรมการ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และอธิบดีกรมการท่องเท่ียวเป็นเลขานุการ มีหน้าท่ีในการกําหนดนโยบาย และยุทธศาสตรใ์ นการพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย์กลางสุขภาพนานาชาตใิ ห้เกิดประโยชน์สูงสุด พร้อมท้ังติดตามผลการ ดําเนินงานของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการเพ่ือรายงานผลให้คณะรัฐมนตรีทราบ (รายละเอียดตาม QR Code ใน ภาคผนวก ขอ้ 3-4) 2. ตามหนังสอื สาํ นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ดว่ นทส่ี ดุ ที่ นร 0508/ว 314 ลงวันท่ี 1 สิงหาคม 2562 แจ้งให้ คณะกรรมการต่างๆ ของส่วนราชการที่คณะรัฐมนตรีชุดเดิมได้แต่งตั้งไว้ ยังคงปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปจนถึงวันท่ี 30 กันยายน 2562 หากส่วนราชการใดพิจารณาเห็นว่าคณะกรรมการที่คณะรัฐมนตรีแต่งต้ังคณะใดยังมีภารกิจสําคัญและจําเป็นที่ จะต้องคงอยู่ต่อไป เพ่ือให้สามารถดําเนินการภารกิจได้อย่างต่อเน่ืองให้เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการคณะน้ันๆ ขึ้นใหม่ (รายละเอยี ดตาม QR Code) ผลการดาํ เนินงาน ฝ่ายเลขานุการฯ ได้เสนอหนังสือแจ้งผลการพิจารณาการทบทวนความคงอยู่ของ คณะกรรมการอํานวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ไปยังสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้พิจารณาดําเนินการแต่งต้ัง https://is.gd/cOnG8n ต่อไปแลว้ เม่อื วันที่ 18 กนั ยายน 2562 คณะกรรมการอํานวยการฯ (เดิม) คณะกรรมการอํานวยการฯ (ปรบั ใหม่) องคป์ ระกอบ - ลาํ ดบั ท่ี 8 เปลี่ยนชอ่ื หนว่ ยงาน (8) ปลดั กระทรวงการอดุ มศึกษา (๑) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัย และนวัตกรรม - ลาํ ดบั อน่ื คงเดิม (๒) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา ประธานกรรมการร่วม (๓) ปลดั กระทรวงสาธารณสุข (๔) ปลดั กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา (๕) ปลัดกระทรวงมหาดไทย (6) ปลัดกระทรวงพาณชิ ย์ (7) ปลดั กระทรวงการคลัง (8) ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (9) ปลดั กระทรวงการต่างประเทศ (๑0) ปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม (11) ปลัดกระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คม (๑2) ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอาํ นวยการเพอ่ื พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครง้ั ท่ี 2/2562 หนา้ 11

(๑3) เลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจ - คงเดิม - และสงั คมแหง่ ชาติ - คงเดิม – (๑4) ผ้บู ัญชาการตํารวจแหง่ ชาติ (15) ผวู้ ่าการการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย (16) ผอู้ ํานวยการสาํ นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สาํ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข (17) ผู้อํานวยการสํานกั งานนโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารค้า กระทรวงพาณิชย์ (18) นายกสมาคมโรงพยาบาลเอกชน (19) เลขาธกิ ารสมาคมโรงพยาบาลเอกชน (20) นายกสมาคมคลนิ กิ ไทย (21) นายกสมาคมไทยอตุ สาหกรรมผลติ ยาแผนปัจจุบัน (22) นายกสมาคมผู้ผลติ ยาสมุนไพรไทย (23) นายกสมาคมสปาไทย (24) ประธานสมาพนั ธ์สปาไทย (25) ประธานสภาหอการค้าแหง่ ประเทศไทย (26) ประธานสภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย (27) ประธานสภาอุตสาหกรรมทอ่ งเท่ียวแห่งประเทศไทย (28) อธิบดกี รมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ กรรมการและเลขานกุ าร (29) อธบิ ดีกรมการทอ่ งเที่ยว กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกฬี า กรรมการและเลขานกุ ารร่วม (30) รองอธบิ ดกี รมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ ที่ได้รับมอบหมาย กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ (31) รองอธิบดกี รมการทอ่ งเที่ยว กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย กรรมการผ้ชู ว่ ยเลขานุการ (32) ผอู้ าํ นวยการกองสขุ ภาพระหว่างประเทศ กรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร อาํ นาจหนา้ ที่ (1) กําหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้ เป็นศูนยก์ ลางสขุ ภาพนานาชาตใิ ห้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ (2) มอบหมาย สั่งการ ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องดําเนินงานตาม เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอาํ นวยการเพือ่ พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครัง้ ที่ 2/2562 หนา้ 12

ยทุ ธศาสตร์ฯ - คงเดิม - (3) สร้างกลไกและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาประเทศไทยให้ เป็นศนู ยก์ ลางสุขภาพนานาชาติ (4) ตดิ ตาม ควบคมุ กาํ กบั เฝา้ ระวงั ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการดําเนินงานตามยุทธศาสตร์ กําหนดมาตรการแก้ไขท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ (5) จัดทําขอ้ เสนอเชิงนโยบายตอ่ รัฐบาล (6) รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการ ปฏบิ ตั งิ านใหน้ ายกรฐั มนตรแี ละคณะรัฐมนตรที ราบเป็นระยะๆ (7) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการและคณะทํางานชุดย่อยได้ตามความ เหมาะสม (8) ดาํ เนนิ การอื่นๆตามทร่ี ฐั บาลมอบหมาย จงึ เสนอมาเพอ่ื โปรดทราบ ความเหน็ /มตทิ ่ีประชุม .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอาํ นวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้เปน็ ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครัง้ ที่ 2/2562 หน้า 13

ระเบยี บวาระที่ 3 เร่อื งแจง้ เพอื่ ทราบ (นาํ เสนอเป็นเอกสาร) (ต่อ) 3.3 ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และงบบูรณาการของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ประจาํ ปี 2563 ก. รายละเอียด : จากการบูรณาการทํางานตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และงบบูรณาการของกระทรวงการ ท่องเท่ียวและกีฬา ประจําปี 2563 ฝ่ายเลขานุการฯ ได้รับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุขในการเป็นเจ้าภาพ จัดทําตัวช้ีวัดยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) แผนงานที่ 9 อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย : โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์ ชื่อ ตัวชวี้ ัด : ร้อยละที่เพิ่มข้ึนของรายได้จากการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทย์แผนไทย มีเกณฑ์เป้าหมายในปี 2563 รายได้เพิ่มข้ึนร้อยละ 5 ทั้งน้ี ค่าเป้าหมายตามตัวชี้วัดโดยใช้ฐานข้อมูลจาก Global Wellness Institute จะประเมินผลได้ ณ 1 มกราคม 2564 (การเก็บข้อมูล/ประเมินผล ตามปีปฏิทินตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563) สําหรับ Baseline Data ปี 2561 มูลค่าการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพเพิ่มขึ้นจากฐานเดิมร้อยละ 6.02 คิดเป็น มูลค่าเพ่ิมอีกจํานวน 1,510 ล้านบาท จากรายได้ท้ังส้ินในปี 2560 จํานวน 26,600 ล้านบาท ทําให้ประเทศไทยมี รายได้จากการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพรวมทั้งสิ้น 28,110 ล้านบาท (ข้อมูลจากเดือนตุลาคม 2560 - เมษายน 2561) โดยมีกิจกรรมท่ีสร้างมูลค่าการใช้จ่ายเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ท่องเที่ยวพร้อมตรวจสุขภาพหรือศัลยกรรมเสริมสวย จํานวน 35,721.86 บาท ต่อคนต่อทริป (ข้อมูลจากศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว : TAT Intelligence Center การ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา) สําหรับ Baseline Data ปี 2562 ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถงึ 31 ธนั วาคม 2562 รายงานของ Global Wellness Institute จะออก ณ 1 มกราคม 2563 วธิ ีการจดั เกบ็ ข้อมลู 1. แบบสาํ รวจของกรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพและกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ 2. รายงานการตรวจราชการและนิเทศงาน 3. รายงานจาก Global Wellness Institute (ปี 2562 – 2563) 4. เก็บรวบรวมข้อมลู จากแหล่งขอ้ มูลกลางและแหลง่ ขอ้ มูลประกอบ แหล่งขอ้ มูล สว่ นกลาง 1. Global Wellness Institute (เน่ืองจากเป็นข้อมูลระดับนานาชาติ รายงานจะมีระยะเวลา 1 ปีปฏิทิน (1 มกราคม 2563 – 31 ธันวาคม 2563) 2. กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา 3. สาํ นกั งานสง่ เสรมิ การจดั ประชุมและนทิ รรศการ (องค์กรมหาชน) (สสปน.) 4. กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก - ข้อมูลจากการสาํ รวจมลู ค่ามวลรวมในเมอื งสมุนไพร และเมอื งท่ีได้รบั การส่งเสรมิ การท่องเที่ยวเชงิ สุขภาพ - ขอ้ มลู จากการตรวจราชการและนิเทศงาน 5. รายงาน Demand Side จากการสาํ รวจขอ้ มูล 6. การเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงพาณิชย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงการต่างประเทศ สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) และ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขต พฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) 7. ศูนยว์ จิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) คร้งั ที่ 2/2562 หน้า 14

ส่วนภูมภิ าค 1. แบบรายงานตามกฎหมาย 1.1 รายงานประจําปีของสถานพยาบาลประเภทท่ีไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน (สพ.23) ตามพระราชบัญญัติ สถานพยาบาล พ.ศ. 2541, ฉบับท่ี 2 พ.ศ.2547, ฉบับที่ 3 พ.ศ.2555, ฉบับที่ 4 พ.ศ.2559 1.2 รายงานประจําปีของสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน (สพ.24) ตามพระราชบัญญัติ สถานพยาบาล พ.ศ. 2541, ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2547, ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.2555, ฉบบั ที่ 4 พ.ศ.2559 1.3 รายงานประจําปีของสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ตามพระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อ สขุ ภาพ พ.ศ. 2559 และพระราชบัญญตั ิสถานประกอบการเพ่อื สขุ ภาพ พ.ศ. 2562 (ฉบบั ที่ 2) 2. รายงานจากระบบ Hospital Information System (HIS) และหน้ีสูญ (Health Data Center : HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข 3. แบบรายงานของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก วธิ ีการประเมินผล : ประเมินผลจากความสาํ เรจ็ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (Small Success) ตามมาตรการ ไดแ้ ก่ 1. ภายใต้มาตรการสําคัญตามนโยบาย Medical Hub ได้แก่ (1) การพัฒนารูปแบบบริการดึงดูดชาวต่างชาติ (Magnet) ในสถานพยาบาลทผ่ี ่าน JCI และสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพช้ันนํา (2) การปรับปรุงมาตรการกฎหมาย กฎระเบียบ ประกาศ หรือขอ้ บังคับทเ่ี กี่ยวขอ้ งเพ่ือใหเ้ อ้ือตอ่ การดําเนินตามนโยบาย Medical Hub (3) การทาํ Business Matching ระหวา่ ง สถานพยาบาลและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพของไทยในประเทศ และต่างประเทศ (4) เผยแพร่และประชาสัมพันธ์นโยบาย Medical Hub ในตา่ งประเทศ (5) ฐานขอ้ มลู ใน 4 ผลผลิตหลัก ตามนโยบาย Medical Hub 2. ภายใต้มาตรการตามเมอื งสมนุ ไพร ไดแ้ ก่ (1) ส่งเสรมิ และพัฒนาให้เกิดเมืองสมุนไพร (2) พัฒนาศูนย์สุขภาพ ครบวงจรของกลุม่ จงั หวดั เมอื งสมนุ ไพร (3) มีรปู แบบและแนวทางการจดั บริการศูนยส์ ขุ ภาพดที างการแพทย์แผนไทย 3. การสาํ รวจ (Demand Side) ของกรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพและกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก 4. การตรวจราชการและนเิ ทศงาน 5. รวบรวม/วิเคราะห/์ ประเมนิ ผลข้อมูลจาก Global Wellness Institute 6. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลกลางและแหล่งข้อมูลประกอบต่างๆ เช่น ข้อมูลจากรายงานบทวิเคราะห์ ข้อมูลโดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา/ศูนย์วิจัยกสิกรไทย/ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจธนาคาร ไทยพาณิชย์/สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย/สํานักงานส่งเสริมการจัด ประชมุ และนิทรรศการ (องคก์ รมหาชน) (สสปน.) รวมทัง้ แหล่งข้อมลู ด้าน Medical Hub จากหน่วยงานทงั้ ในประเทศ และ ตา่ งประเทศ โดยการเกบ็ ข้อมลู /ประเมนิ ผล/รายงาน ตามปปี ฏทิ ินตัง้ แต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563 7. เปรียบเทียบมูลคา่ การทอ่ งเที่ยวเชิงสขุ ภาพกับปี 2562 เพ่อื หา Baseline data ในปีถดั ไป ข. งบประมาณประจําปี 2563 : งบบูรณาการของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จากกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จํานวนรวมท้ังสิ้น 3,153,200 บาท จากกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จํานวนรวมทั้งส้ิน 68.5072 ล้าน บาท แบ่งเป็นเร่ืองสมนุ ไพรเพ่ือเศรษฐกิจ 2.0 ลา้ นบาท/ นวดไทย 10.6897 ล้านบาท และกญั ชา 68.5072 ลา้ นบาท จึงเสนอมาเพือ่ โปรดทราบ ความเห็น/มตทิ ีป่ ระชมุ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอํานวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เปน็ ศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 2/2562 หนา้ 15

ระเบยี บวาระท่ี 3 เรือ่ งแจ้งเพอ่ื ทราบ (นําเสนอเปน็ เอกสาร) (ตอ่ ) 3.4 สรปุ ผลการดาํ เนินการวิจยั และสาํ รวจข้อมูล ด้าน Medical Hub ประจําปี 2562 โดย สํานักวจิ ยั เศรษฐกิจและประเมนิ ผล บริษทั BNH Research and Consulting จํากดั ความเปน็ มา ตามนโยบายพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) จําเป็นต้องพัฒนาในด้าน ระบบสารสนเทศและข้อมูลท่ีสําคัญเป็นการสร้างฐานข้อมูลสนับสนุนแนวทางการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้านการจัดบริการสุขภาพ โดยปัจจุบันข้อมูลด้าน Medical Hub กระจายอยู่ตามหน่วยงานต่างๆ ยังไม่มีการจัดเก็บ รวบรวมข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบ ซึ่งในส่วนของข้อมูลท่ียังไม่มีหน่วยงานใดจัดเก็บ จําเป็นต้องจัดเก็บเพ่ิมเติมโดยวิธีการ เฉพาะ ดังน้ัน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข จึงมอบหมายให้บริษัท BNH Research and Consulting จาํ กดั ดาํ เนินการวจิ ยั และสาํ รวจเพอื่ ดาํ เนินการจดั เกบ็ ข้อมูลดา้ น Medical Hub เพื่อการจัดทําศูนย์ข้อมูล รองรบั นโยบาย Medical Hub ผลการดําเนนิ งาน สํานักวิจัยเศรษฐกิจและประเมินผล บริษัท BNH Research and Consulting จํากัด ได้ดําเนินการสํารวจการ ดําเนินการสํารวจนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติท่ีเดินทางเข้ามาในประเทศไทยและใช้บริการด้านการแพทย์กับบริการเชิง สุขภาพ (สปา/นวดแผนไทย/น้ําพุร้อน และบริการสุขภาพอื่นๆ) ดําเนินการสํารวจในสถานพยาบาลชั้นนําของประเทศ เช่น โรงพยาบาลบํารุงราษฎร์ โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลพญาไท เป็นต้น และในสนามบินหลัก 3 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยานภูเก็ต สํารวจนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้ จํานวน 1,534 ตัวอย่าง ประกอบด้วยกลุ่มท่ีใช้บริการด้านการแพทย์ จํานวน 474 ตัวอย่างและกลุ่มท่ีใช้บริการเชิงสุขภาพ จาํ นวน 1,124 ตวั อยา่ ง กลมุ่ ตวั อย่างทสี่ ํารวจสว่ นใหญ่เป็นชาวเอเชีย ได้แก่ จีนมากที่สุด รองลงมาเมียนมา, มาเลเซีย, กัมพูชา และเกาหลีใต้ ตามลําดับ ส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์หลักในการเดินทางมาประเทศไทยเพ่ือพักผ่อนในวันหยุด มี เพียงร้อยละ 25.54 ทมี่ ีวัตถุประสงคห์ ลักเพอื่ ใช้บริการทางการแพทย์และบรกิ ารสขุ ภาพ 1. ผลสาํ รวจด้านการใช้บรกิ ารทางการแพทย์ (Medical Service) พบว่าส่วนใหญ่ (ร้อยละ 87.97) ทราบเก่ียวกับบริการทางการแพทย์ในประเทศไทยก่อนเดินทางมาประเทศ ไทยจากสื่อบุคคล คือ เพื่อน/ ญาติ/ คนรู้จักแนะนํา มากที่สุด (ร้อยละ 64.75) รองลงมาทราบจากที่ปรึกษาด้าน สุขภาพ/ บรษิ ัทตวั แทนด้านสุขภาพ (ร้อยละ 24.46) บริษัทนําเท่ียว (ร้อยละ 20.86) และเว็บไซต์ของสถานพยาบาล (ร้อยละ 19.90) ในขณะท่ีส่ือสิ่งพิมพ์มีบทบาทค่อนข้างน้อย ซ่ึงกลุ่มที่ใช้บริการด้านการแพทย์ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 88.86) ต้ังใจมาใช้บริการทางการแพทย์ในประเทศไทยต้ังแต่ก่อนเดินทางมาประเทศไทย มีเพียงส่วนน้อย (ร้อยละ 11.14) ที่ไม่ได้ต้ังใจมาใช้บริการทางการแพทย์แต่เกิดเหตู เช่น เจ็บป่วย/ ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุระหว่างเดินทาง สิ่งทม่ี ีผลทําให้เกิดความสนใจในบริการทางการแพทย์ คือ ชือ่ เสยี งบริการทางการแพทย์/ สถานพยาบาลในประเทศไทย การชักชวนจากบุคคลต่างๆ เชน่ มคั คุเทศก์ ตวั แทนดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว คนขับแท็กซ่ี เป็นต้น และรับทราบข้อมูลข่าวสาร เกย่ี วกับบรกิ ารทางการแพทยจ์ ากสือ่ / แหล่งข้อมูลต่างๆ เปน็ ต้น ปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการด้านการแพทย์ในประเทศไทยของกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 5 อันดับแรก เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ราคาค่าบริการในประเทศไทยต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับบริการระดับ เดียวกัน (ร้อยละ 85.50) รองลงมา 2) ช่ือเสียงของสถานพยาบาลในประเทศไทย (ร้อยละ 84.30) ช่ือเสียงของ แพทย์ในประเทศไทย (ร้อยละ 77.68) การแนะนําของแพทย์ภายในประเทศตนเอง (ร้อยละ 76.17) และการแนะนําของที่ปรึกษาด้านสุขภาพ/ตัวแทนด้านสุขภาพ (ร้อยละ 40.46) ตามลําดับ โดยกลุ่มตัวอย่าง นักท่องเท่ียวชาวต่างชาติที่ตั้งใจมาใช้บริการทางการแพทย์ในประเทศไทยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 74.60) ติดต่อประสานงาน ล่วงหน้ากับสถานบริการทางการแพทย์/ ตัวแทนสถานบริการทางการแพทย์ ก่อนเดินทางมาใช้บริการในประเทศไทย โดยใช้ เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) คร้ังที่ 2/2562 หน้า 16

ช่องทางการติดต่อหลากหลายช่องทาง เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ เคาน์เตอร์บริการในประเทศ ได้รับความ สะดวกดีมาก (ร้อยละ 85.45) 2) รองลงมาผ่านตัวแทน (ร้อยละ 84.88) โทรศัพท์ (ร้อยละ 84.23 อีเมล์ (ร้อยละ 82.50) และบธู จากการร่วมงาน Event ในประเทศ (รอ้ ยละ 63.53) ตามลําดบั สถานบริการทางการแพทย์หลักที่กลุ่มตัวอย่างนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติใช้บริการเป็นโรงพยาบาลเอกชนมาก ที่สุด (ร้อยละ 92.70) รองลงมาโรงพยาบาลรัฐ (ร้อยละ 4.72) คลินิกท่ัวไป (ร้อยละ 1.50) และคลินิกเฉพาะทาง (ร้อยละ 1.07) โดยใช้บริการตรวจสุขภาพมากที่สุด (ร้อยละ 50.21) เป็นประเภทผู้ป่วยนอก (OPD) เฉล่ีย 1.09 ครั้ง และผู้ป่วยใน (IPD) เฉลี่ย 1.53 วัน ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 87.32) จ่ายเงินเอง เพ่ือเป็นค่าใช้บริการทางการแพทย์/ การ รักษาพยาบาล มีเพียงส่วนน้อย (ร้อยละ 9.00) ที่มีประกันสุขภาพ/ ประกันอุบัติเหตุ นอกน้ันใช้สิทธิรัฐสวัสดิการ (ร้อย ละ 0.82) และสิทธิประกันสังคม (ร้อยละ 1.02) โดยระดับความคุ้มค่าในการใช้บริการทางการแพทย์/ การ รักษาพยาบาลในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า ค่าใช้จ่ายในการใช้บริการทางการแพทย์/ การรักษาพยาบาลใน ประเทศไทยมีความคมุ้ คา่ อย่ใู นระดบั มากในสัดสว่ นมากที่สุด (ร้อยละ 41.72) และอยู่ในระดับมากที่สุด (ร้อยละ 24.30) ในขณะที่อยู่ในระดับปานกลาง รอ้ ยละ 31.18 และอย่ใู นระดบั นอ้ ย ร้อยละ 2.80 สําหรับความต้องการให้ประเทศไทยปรับปรุง/ เพิ่มเติมในการให้บริการทางการแพทย์ 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) ขยายระยะเวลาของวีซ่าให้ยาวนานข้ึน 2) ล่ามภาษา ช่องทางการติดต่อสถานพยาบาลให้มีความสะดวก ง่าย และรวดเร็ว 4) ความพร้อมด้านเครื่องมือแพทย์ และ 5) แพทย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน โดยบริการทางการแพทย์ของประเทศไทยมี จุดเด่น 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) คุณภาพของบุคลากรทางการแพทย์ 2) ความทันสมัยของเคร่ืองมือ/อุปกรณ์ 3) อัตรา ค่ารักษาพยาบาลท่ีถูกเปรียบเทียบกับคุณภาพของบริการ 4) การอํานวยความสะดวกในการเดินทางมาใช้บริการทาง การแพทย์ และ 5) ส่ิงอํานวยความสะดวกสาํ หรบั คนไข้/ ญาติ/ ผู้ติดตาม กลุ่มตัวอย่างนักท่องเท่ียวต่างชาติที่ใช้บริการด้านการแพทย์ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 79.01) ไม่ซื้อผลิตภัณฑ์เพ่ือ สุขภาพ มีเพียงส่วนน้อย (ร้อยละ 20.99) ที่ซ้ือผลิตภัณฑ์เพ่ือสุขภาพ โดยซ้ือจากห้างสรรพสินค้าเป็นส่วนใหญ่ รองลงมาซ้อื จากรา้ นคา้ ในแหล่งท่องเท่ยี ว สําหรับกลุ่มนักท่องเท่ียวท่ีเดินทางมาเพ่ือใช้บริการทางการแพทย์มากท่ีสุด คือ จีน โดยการใช้บริการทาง การแพทย์ในสถานบริการทางการแพทย์หลักท่ีใช้บริการ คือ โรงพยาบาลเอกชน (ร้อยละ 81.25) และโรงพยาบาลรัฐ (ร้อยละ 18.75) ซึ่งประเภทบรกิ ารทางการแพทย์ท่ีใช้บริการในครั้งน้ี คือบริการรักษาผู้มีบุตรยาก รองลงมาใช้บริการ รักษากระดูกข้อต่อเส้นเอ็นและกล้ามเนื้อ, ใช้บริการทันตกรรมกับการศัลยกรรมผ่าตัดแปลงเพศในสัดส่วนเท่ากัน และ ใช้บริการเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ ค่าใช้จ่ายในการใช้บริการทางการแพทย์/ การรักษาพยาบาลในประเทศ ไทยมีความคุม้ คา่ อย่ใู นระดับมากขึ้นไป และระดับน้อย-ปานกลางมีสัดส่วนเท่ากัน แสดงให้เห็นว่านักท่องเที่ยวจีนเห็น ว่าค่ารักษาพยาบาลสูงเกินไป เมื่อเทียบกับบริการที่ได้รับ และรูปแบบการจ่ายเงินค่าใช้บริการทางการแพทย์/ การ รักษาพยาบาล ของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มดังกล่าว ส่วนใหญ่จ่ายเงินเองเพื่อเป็นค่าบริการทางการแพทย์/ การ รักษาพยาบาล และกลุ่มตัวอย่างชาวจีนส่วนใหญ่จะกลับมาใช้บริการทางการแพทย์ในประเทศไทยอีก หากต้องใช้ บรกิ ารทางการแพทย์ในตา่ งประเทศ ข้อเสนอแนะตอ่ หน่วยงานภาครฐั ในการใหบ้ ริการด้านการแพทย์เพอ่ื ให้ประเทศไทยเป็น WorldClassMedicalHubทม่ี ีชือ่ เสยี ง (1) ควรประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้บริการทางการแพทย์ของไทยด้านคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการ รวมทั้งส่งิ อํานวยความสะดวกต่างๆ ทจ่ี ะมีใหก้ บั ผทู้ ่ีมาใชบ้ ริการในหลากหลายภาษา (2) ควรมีชอ่ งทางพิเศษในการให้บริการตรวจคนเข้าเมอื งสําหรบั ผู้ทม่ี าใช้บริการด้านการแพทย์ (3) ควรอํานวยความสะดวกในการขอวีซ่าใหอ้ ยใู่ นประเทศไทยไดน้ านข้นึ มากกว่า 14 วนั สาํ หรับผปู้ ่วยและผตู้ ิดตาม (4) ควรมีการอาํ นวยความสะดวกในการเดินทางระหว่างสนามบนิ /ทพ่ี กั ไปยงั สถานพยาบาล (5) แพทย์และบคุ ลากรทางการแพทยค์ วรสือ่ สารได้หลายภาษา หรอื ใชล้ า่ มในการชว่ ยแปลภาษา (6) ควรให้บรกิ ารดา้ นการแพทยด์ ว้ ยความรวดเร็วไม่ใหม้ รี ะยะเวลารอคอยนาน เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอํานวยการเพอ่ื พัฒนาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งที่ 2/2562 หน้า 17

2. ผลสาํ รวจด้านการใชบ้ รกิ ารเพ่อื สง่ เสรมิ สขุ ภาพ (Wellness) การศกึ ษาการใช้บรกิ ารเชิงสุขภาพคร้ังนี้ มุ่งศึกษาบริการเชิงสุขภาพ 3 ประเภทหลัก ได้แก่ สปา นวดแผนไทย และ น้ําพุร้อน โดยกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติท่ีใช้บริการสุขภาพ เห็นว่าการให้บริการเชิงสุขภาพมีความคุ้มค่าอยู่ใน ระดับปานกลางในสัดส่วนมากที่สุด (ร้อยละ 51.2) อยู่ในระดับน้อย (ร้อยละ 26.10) และอยู่ในระดับน้อยท่ีสุด (ร้อยละ 0.72) ในขณะที่อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 17.76 และอยู่ในระดับมากท่ีสุด ร้อยละ 4.30 แสดงให้เห็นว่าบริการเชิงสุขภาพ ของไทยโดยรวมคุณภาพยังไม่เหมาะสมกบั ราคาหรืออีกนยั หน่ึงคือราคาแพงเมือ่ เปรยี บเทยี บกบั คุณภาพบริการ ปัจจัย 5 อันดับแรกที่มีผลต่อการตัดสินใจของนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติในการเลือกใช้บริการ เชิงสุขภาพในอนาคต ได้แก่ ทักษะความเชี่ยวชาญ อัธยาศัย ไมตรีของพนักงาน (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 89.24) รองลงมา มาตรฐานการให้บริการ (ค่าเฉล่ียร้อยละ 88.08) ภาพลักษณ์ของสถานประกอบการ (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 85.12) คุณภาพของวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 84.89) และอัตราค่าบริการ (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 84.70) ตามลําดับ โดย ทราบข้อมูลเก่ียวกับบริการเชิงสุขภาพในประเทศไทยก่อนเดินทางมาประเทศไทย โดยทราบจากส่ือบุคคล คือ เพ่ือน/ ญาติ/ คนรู้จักแนะนําในสัดส่วนมากท่ีสุด (ร้อยละ 50.00) รองลงมา ทราบจากส่ือสังคมออนไลน์ (Social Media) (ร้อยละ 39.97) เว็บไซตด์ ้านการท่องเทย่ี ว (รอ้ ยละ 28.60) บรษิ ทั นําเที่ยว (ร้อยละ 15.22) เปน็ ตน้ การใช้บริการเชงิ สขุ ภาพ กรณบี รกิ ารสปา กลุม่ ตวั อย่างนักทอ่ งเทยี่ วชาวต่างชาติท่ีใช้บริการเชิงสุขภาพมากกว่า ครึ่ง (รอ้ ยละ 54.77) ใช้ปจั จยั ดา้ นบริการเชิงสุขภาพเป็นปัจจัยประกอบการตัดสินใจเดินทางมาประเทศไทย โดยสนใจ มาใช้บริการสปาเพียงส่วนน้อย (ร้อยละ 9.69) จากบริการเชิงสุขภาพท่ีศึกษาในคร้ังนี้ โดยกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติที่ใช้บริการเชิงสุขภาพมีเพียงส่วนน้อย (ร้อยละ 16.18) ท่ีรู้จักบริการสปาของไทยก่อนเดินทางมาประเทศ ไทย แสดงถึงธุรกิจสปายังไม่สามารถสร้างชื่อเสียงได้ในต่างประเทศ โดยทราบจากสื่อบุคคล คือ เพ่ือน/ ญาติ/ คนรู้จัก แนะนาํ ในสดั ส่วนมากทสี่ ดุ (รอ้ ยละ 36.55) รองลงมา ทราบจากส่ือสังคมออนไลน์ (Social Media) (ร้อยละ 17.24) เว็บไซต์ด้านการท่องเที่ยว (ร้อยละ 15.86) เว็บไซต์ผู้ให้บริการสปา นวดแผนไทย/น้ําพุร้อน และบริการสุขภาพอื่นๆ (ร้อยละ 12.41) เป็นต้น ส่วนใหญ่ใช้บริการสปาจะใช้บริการประเภท Day spa ในสัดส่วนมากท่ีสุด (ร้อยละ 47.55) รองลงมา Hotel & Resort Spa (ร้อยละ 30.77) Club spa (ร้อยละ 9.09) และ Medical Spa (ร้อยละ 4.90) โดย ใช้บริการในหลายจงั หวัด เช่น กรงุ เทพมหานคร ชลบรุ ี เชยี งใหม่ เปน็ ต้น นกั ท่องเท่ยี วชาวตา่ งชาติที่ใชบ้ ริการสปาเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (รอ้ ยละ 69.11 ตอ่ ร้อยละ 30.89) มี อายุอยู่ในช่วง 25-34 ปี ในสัดส่วนมากท่ีสุด (ร้อยละ 45.53) และมีรายได้ต่อเดือนอยู่ในช่วง 1,000-5,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ในสัดส่วนมากท่ีสุด (ร้อยละ 44.72) โดยเฉล่ียใช้บริการคนละ 1.35 ครั้ง จํานวนสถานท่ีใช้บริการ เฉลี่ย 1 แห่ง กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่าสปามีจุดเด่นมากกว่าจุดด้อยในทุกประเด็นที่ประเมิน ได้แก่ ราคา สถานที่ ให้บริการ ความเป็นกันเองของพนักงาน มาตรฐานการให้บริการและสมุนไพรท่ีใช้ นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่าง (ร้อยละ 60.23) จะแนะนําญาติ/ เพ่ือน/ คนรู้จัก ให้มาใช้บริการสปาในประเทศไทย ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 82.55) ไม่ทราบ เกี่ยวกับเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสถานบริการสุขภาพท่ีออกโดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จึงไม่สามารถสร้าง แรงจูงใจให้สถานประกอบการเพื่อสุขภาพพัฒนามาตรฐาน เพ่ือให้ได้รับเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสถานบริการ สขุ ภาพ ดังนน้ั จงึ ควรให้ความสําคัญในการประชาสัมพันธ์ให้นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติทราบเกี่ยวกับเครื่องหมายรับรอง มาตรฐานสถานบริการสขุ ภาพ ประเภทสปาที่ใช้บริการ โดยกลุ่มตัวอย่างนักท่องเท่ียวชาวจีนใช้บริการ Day Spa ในสัดส่วนมากท่ีสุด (ร้อยละ 46.07) มาเลเชียใช้บริการ Day Spa ในสัดส่วนมากท่ีสุด (ร้อยละ 77.27) เกาหลีใต้ใช้บริการ Day Spa ในสัดส่วน มากทสี่ ุด (ร้อยละ 60.00) ชาวลาวทั้งหมด (ร้อยละ 100.00) ใช้บริการ Day Spa กลุ่มตัวอย่างนกั ท่องเทีย่ วชาวญป่ี นุ่ ใช้บริการ Medical Spa และ Hotel & Resort Spa ในสัดส่วนเท่ากัน (ร้อยละ 50.00 เท่ากัน) และกลุ่มตัวอย่าง ประเทศอื่นๆ ใช้บริการ Day Spa ในสัดส่วนมากท่ีสุด (ร้อยละ 38.46) และใช้บริการ Club Spa, Medical Spa, Mineral Spring Spa และ Hotel & Resort Spa ในสดั ส่วนเทา่ กัน (ร้อยละ 15.38 เทา่ กัน) เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอาํ นวยการเพอื่ พัฒนาประเทศไทยให้เปน็ ศูนย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) คร้งั ที่ 2/2562 หนา้ 18

3. ค่าใชจ้ ่ายการใชบ้ ริการทางการแพทย์ บริการเพอื่ ส่งเสรมิ สขุ ภาพ และผลติ ภัณฑเ์ พือ่ สุขภาพ กลุ่มตัวอย่างนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติใช้บริการตรวจสุขภาพในสัดส่วนสูงที่สุด (ร้อยละ 53.05) นอกน้ันจะ กระจายไปใช้บริการด้านการแพทย์ที่หลากหลาย เช่น การรักษาโรคมะเร็ง ร้อยละ 8.55 การรักษากระดูก ข้อต่อ เส้นเอ็นและกล้ามเน้ือ ร้อยละ 7.75 การป้องกันดูแลเส้นเลือดหัวใจ ร้อยละ 4.46 เป็นต้น สําหรับในด้าน ค่ารักษาพบว่า การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะมีค่ารักษาสูงสุด ประมาณ 2,010,000 บาท/คนรองลงมาเป็น ค่ารักษา โรคมะเร็ง 705,521.22 บาท/คน ค่าศัลยกรรมผ่าตัดแปลงเพศ 502,761.29 บาท/คน การรักษาผู้มีบุตรยาก 484,562.50 บาท/คน เปน็ ต้น คา่ ใช้จ่ายผลิตภณั ฑด์ า้ นบริการทางการแพทย์ สาํ หรับคา่ ใช้จา่ ยด้านบริการทางการแพทยเ์ ฉล่ยี /คน/ทรปิ (เฉพาะผู้ทใี่ ชบ้ ริการ) เป็นดงั นี้ (1) ค่าเวชศาสตรช์ ะลอวยั และฟ้นื ฟสู ุขภาพ เปน็ เงิน 15,055.56 บาท (2) คา่ การปอ้ งกนั ดแู ลเส้นเลือดหัวใจ เป็นเงนิ 139,989.47 บาท (3) คา่ การรักษากระดกู ขอ้ ต่อเสน้ เอน็ และกลา้ มเนอื้ เป็นเงิน 124,150.40 บาท (4) คา่ ทันตกรรม เปน็ เงนิ 29,023.33 บาท (5) ค่าการรักษาผู้มีบตุ รยาก เป็นเงิน 484,562.50 บาท (6) คา่ การรักษาโรคมะเรง็ เป็นเงิน 705,521.22 บาท (7) คา่ การเปลีย่ นถา่ ยอวัยวะ เป็นเงนิ 2,010,000.00 บาท (8) คา่ การศลั ยกรรมผ่าตดั แปลงเพศ เปน็ เงิน 502,761.29 บาท (9) คา่ การตรวจสุขภาพ เปน็ เงิน 26,253.67 บาท คา่ ใชจ้ า่ ยผลิตภัณฑ์ดา้ นสุขภาพ ในสว่ นของค่าซ้อื ผลิตภัณฑด์ ้านสขุ ภาพนนั้ พบวา่ เป็นการซื้อยาใช้ภายในในสัดส่วนมากที่สุด (ร้อยละ 13.85) รองลงมา ผลิตภณั ฑเ์ สริมความงาม / เคร่ืองสําอาง (ร้อยละ 10.9) ยาใช้ภายนอก (ร้อยละ 7.51) สําหรับค่าใช้จ่ายซ้ือ ผลิตภัณฑ์สุขภาพของคนที่ซื้อนั้นพบว่า เป็นค่าค่ายาใช้ภายใน มากท่ีสุด 9,683.91 บาท/คน/ทริป รองลงมา ค่ายาใช้ ภายนอก 4,300 บาท/คน/ทริป ผลติ ภัณฑส์ ุขภาพ 3,255.56 บาท/คน/ทริป ในสว่ นของคา่ ซ้ือผลิตภณั ฑ์ดา้ นสขุ ภาพเฉล่ยี /คน/ทรปิ (เฉพาะผทู้ ซ่ี อื้ ) เป็นดังน้ี (1) คา่ ยาใชภ้ ายนอก (ร้อยละ 36.07 ระบุว่ามีส่วนผสมของ เป็นเงนิ 4,300.00 บาท สมุนไพร) (2) ค่ายาใช้ภายใน (ร้อยละ 36.07 ระบุว่ามีส่วนผสมของ เป็นเงนิ 9,683.91 บาท สมนุ ไพร) (3) ค่าผลิตภัณฑ์เสริมความงาม/เคร่ืองสําอาง (ร้อยละ เปน็ เงนิ 4,003.03 บาท 28.07 ระบวา่ มสี ว่ นผสมของสมนุ ไพร) (4) อาหารเสริม (ร้อยละ 9.26 ระบุว่ามีส่วนผสมของ เปน็ เงิน 1,968.75 บาท สมุนไพร) (5) ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ร้อยละ 15.15 ระบุว่ามีส่วนผสม เปน็ เงนิ 3,255.56 บาท ของสมนุ ไพร) ประมาณการคา่ ใชจ้ ่ายของนกั ทอ่ งเท่ยี วชาวตา่ งชาติที่ใชบ้ ริการดา้ นการแพทยใ์ นภาพรวมของประเทศไทย นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติท่ีเดินทางท่องเท่ียวในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2561 มีจํานวน 38,178,194 คน และจากการสํารวจพฤติกรรมการใช้บริการด้านการแพทย์และบริการด้านสุขภาพของชาวต่างชาติ ในปี พ.ศ. 2555 เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพฒั นาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครงั้ ท่ี 2/2562 หน้า 19

ของสํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา1 พบว่า นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ร้อยละ 1.4 มีวัตถุประสงค์หลัก มาใช้บริการด้านการแพทย์ก่อนเดินทางมาประเทศไทย ดังนั้นในการประมาณการค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติท่ีใช้บริการด้านการแพทย์จึงใช้สัดส่วนดังกล่าวในการประมาณการจํานวนผู้มาใช้บริการด้านการแพทย์ ทั้งหมด ซึ่งสามารถประมาณได้ว่ามีนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติที่มีวัตถุประสงค์หลักมาใช้บริการด้านการแพทย์ใน ประเทศไทยจํานวน 534,495 คน โดยมีค่าใช้จ่ายบริการด้านการแพทย์จํานวน 183,858.80 บาท/คน รวม ค่าใช้จา่ ยบรกิ ารด้านการแพทย์จาํ นวนทง้ั สน้ิ ประมาณ 114,951.86 ลา้ นบาท/ปี สํ าหรั บค่ าซื้ อผลิ ตภั ณฑ์ ด้ านสุ ขภาพในภาพรวมของประเทศไทยอยู่ ท่ี 1,421.06 ล้ านบาท โดยเป็นการซ้ือยาภายในมากที่สุด (ร้อยละ 58.72) รองลงมา เป็นการซ้ือผลิตภัณฑ์เสริมความงาม/เคร่ืองสําอาง (ร้อยละ 16.66) เป็น การซ้ือยาใช้ภายนอก (รอ้ ยละ14.40)เป็นการซ้ือผลติ ภัณฑ์สุขภาพ (ร้อยละ6.48)และเป็นการซอ้ื อาหารเสรมิ (ร้อยละ3.74)ตามลําดับ คา่ ใช้จา่ ยในการทอ่ งเทย่ี วและใช้บรกิ ารเชิงสุขภาพ (สปา/นวดแผนไทย/น้าํ พุรอ้ น และบริการสุขภาพอ่นื ๆ) สําหรับค่าใช้จ่ายเพ่ือเป็นค่าบริการเชิงสุขภาพ จํานวน 36,829.33 ล้านบาท เป็นค่าบริการนวด แผนไทยมากที่สุด จํานวน 18,572.09 ล้านบาท (ร้อยละ 50.43) รองลงมาเป็นค่าบริการสปาจํานวน 10,971.50 ล้านบาท (ร้อยละ 29.79) รายละเอียดดังนี้ หน่วย : ล้านบาท รายการ จัดการเดนิ ทางผา่ น จดั การเดนิ ทางด้วย รวม บรษิ ทั นาํ เทย่ี ว ตนเอง จํานวนเงนิ รอ้ ยละ จาํ นวนเงนิ ร้อยละ จํานวนเงนิ รอ้ ยละ 1) สปา 2,011.76 13.05 8,959.74 41.85 10,971.50 29.79 2) นวดแผนไทย 7,126.73 46.22 11,445.36 53.45 18,572.09 50.43 3) น้ําพรุ อ้ น 734.22 4.76 165.08 0.77 899.30 2.44 4) อื่นๆ (เช่น การออก 5,545.32 35.97 841.12 3.93 6,386.44 17.34 กําลังกาย เปน็ ต้น) รวม 15,418.03 100.00 21,411.30 100.00 36,829.33 100.00  กรณีจัดการเดินทางผ่านบริษัทนําเทยี่ ว กลมุ่ ตัวอยา่ งนกั ท่องเที่ยวชาวต่างชาติท่ีใช้บริการเชิงสุขภาพ โดยจัดการเดินทางผ่านบริษัทนําเท่ียว จํานวน 438 คน หรือ ร้อยละ 38.97 ของกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้บริการเชิงสุขภาพ มีค่าใช้จ่ายในการท่องเท่ียวและใช้บริการเชิง สขุ ภาพ เฉลย่ี 46,738.47 บาท/คน/ทรปิ โดยจําแนกในแตล่ ะรายการ ดงั น้ี รายการ จาํ นวนเงนิ (บาท) ร้อยละ 1) ค่าแพคเกจทวั ร์ 19,204.15 41.09 2) คา่ ใช้จ่ายนอกเหนอื จากคา่ แพคเกจทัวร์ 15,317.46 32.77 3) คา่ ใช้บรกิ ารดา้ นสุขภาพ 3,001.09 6.42 4) ค่าซ้อื ผลติ ภณั ฑ์ด้านสขุ ภาพ 9,215.77 19.72 รวม 46,738.47 100.00 เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศนู ย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) คร้งั ท่ี 2/2562 หนา้ 20

 กรณจี ดั การเดินทางด้วยตนเอง กล่มุ ตัวอย่างนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติที่ใช้บริการเชิงสุขภาพ โดยจัดการเดินทางด้วยตนเอง จํานวน 686 คน หรือ ร้อยละ 61.03 ของกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้บริการเชิงสุขภาพ มีค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวและใช้บริการเชิงสุขภาพ เฉล่ีย 38,620.35 บาท/คน/ทรปิ (แผนภมู ิท่ี 4-47) โดยจําแนกในแต่ละรายการ ดังน้ี รายการ จาํ นวนเงนิ (บาท) ร้อยละ 1) ค่าเคร่อื งบิน 7,624.47 19.74 2) คา่ โรงแรม/สถานทีพ่ ัก 7,572.51 19.61 3) ค่าอาหารและเคร่อื งดม่ื 7,738.28 20.04 4) ค่าซื้อสินค้า 8,405.51 21.76 5) ค่าบริการทอ่ งเท่ยี ว 1,377.71 3.57 6) ค่าใช้จา่ ยเพ่อื ความบนั เทงิ และสนั ทนาการ 1,009.66 2.61 7) คา่ บริการสขุ ภาพ 2,576.55 6.67 8) คา่ ซอื้ ผลติ ภัณฑด์ า้ นสขุ ภาพ 2,315.66 6.00 รวม 38,620.35 100.00  คา่ ใช้จ่ายเพอ่ื เป็นคา่ ซอื้ ผลติ ภณั ฑ์ด้านสุขภาพ จํานวนเงินและสัดส่วนค่าใช้จ่ายเพ่ือเป็นค่าซื้อผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพของนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติใน ภาพรวมของประเทศไทย จาํ แนกตามประเภทผลติ ภัณฑด์ า้ นสขุ ภาพ มรี ายละเอียดดงั นี้ หน่วย : ลา้ นบาท จดั การเดนิ ทางผา่ น จัดการเดนิ ทางด้วย รวม รายการ บรษิ ทั นาํ เทยี่ ว ตนเอง จํานวนเงนิ ร้อยละ จํานวนเงนิ รอ้ ยละ จํานวนเงนิ ร้อยละ 1) ยาใชภ้ ายนอก 1,005.92 12.42 1,615.70 12.23 2,621.62 12.30 2) ยาใช้ภายใน -- 92.19 0.70 92.19 0.43 3) ผลิตภัณฑ์เสริมความงาม/ 4,922.55 60.78 11,176.59 84.60 16,099.14 75.55 เครื่องสาํ อางค์ 4) อาหารเสรมิ 322.64 3.99 117.69 0.89 440.33 2.07 5) ผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพ 1,753.35 21.65 12.45 0.09 1,765.80 8.29 6) อ่ืนๆ.เชน่ นา้ํ หอม เป็นตน้ 94.15 1.16 196.31 1.49 290.46 1.36 รวม 8,098.61 100.00 13,210.93 100.00 21,309.54 100.00 ประมาณการค่าใชจ้ ่ายของนกั ทอ่ งเท่ียวชาวตา่ งชาตทิ ่ใี ช้บริการเชงิ สขุ ภาพ (สปา/นวดแผนไทย/ น้าํ พรุ อ้ น และบรกิ ารสขุ ภาพอื่นๆ) ในภาพรวมของประเทศไทย จากจํานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางท่องเท่ียวในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2561 มีจํานวน 38,178,194 คน และจากการสํารวจพฤติกรรมการใช้บริการด้านการแพทย์และบริการด้านสุขภาพของชาวต่างชาติ ในปี พ.ศ. 2555 ของสํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา2 พบว่า นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ร้อยละ 46.2 ใช้บริการเชิงสุขภาพ โดยในส่วนน้ี ร้อยละ 42.4 ใช้บริการนวดแผนไทย และร้อยละ 11.7 ใช้บริการสปา ดังนั้นจึง เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการเพื่อพฒั นาประเทศไทยใหเ้ ป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) คร้งั ที่ 2/2562 หนา้ 21

ประมาณการว่ามีนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติที่มาใช้บริการนวดแผนไทย จํานวน 17,638,325.63 คน และใช้บริการ สปา จํานวน 4,466,848.70 คน ดงั น้ัน นักท่องเทย่ี วชาวตา่ งชาตทิ ใี่ ชบ้ รกิ ารเชิงสุขภาพในภาพรวมของประเทศไทยมีค่าใชจ้ ่ายท้ังหมด จํานวน 474,205.18 ล้านบาท โดยเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นบรกิ ารเชิงสุขภาพ จํานวน 36,829.33 ล้านบาท (รอ้ ยละ 7.77) และ เป็นคา่ ซอ้ื ผลติ ภัณฑด์ า้ นสุขภาพ จาํ นวน 21,309.54 ลา้ นบาท (รอ้ ยละ 4.49) รายละเอยี ดดังน้ี หนว่ ย : ล้านบาท รายการ จดั การเดนิ ทางผา่ นบรษิ ทั จดั การเดนิ ทางด้วยตนเอง รวม นําเทยี่ ว จาํ นวนเงนิ รอ้ ยละ จาํ นวนเงนิ รอ้ ยละ จาํ นวนเงนิ ร้อยละ 1) คา่ แพคเกจทวั ร์ 97,942.11 56.18 97,942.11 20.65 2) คา่ ใช้จา่ ย 52,881.11 30.33 52,881.11 11.15 นอกเหนือจากคา่ แพคเกจทวั ร์ 3) คา่ เครอ่ื งบนิ 64,609.21 21.54 64,609.21 13.63 4) คา่ โรงแรม/สถานที่ 63,574.79 21.20 63,574.79 13.41 พกั 5) คา่ อาหารและ 65,695.06 21.91 65,695.06 13.85 เคร่อื งด่ืม 6) คา่ ซอ้ื สนิ คา้ 62,785.86 20.94 62,785.86 13.24 7) คา่ บรกิ ารทอ่ งเที่ยว 5,599.50 1.87 5,599.50 1.18 8) คา่ ใช้จา่ ยเพ่อื ความ 2,978.67 0.99 2,978.67 0.63 บันเทิงและสนั ทนา การ 9) ค่าบริการเชิงสุขภาพ 15,418.63 8.84 21,411.30 7.14 36,829.33 7.77 10) คา่ ซอื้ ผลติ ภัณฑด์ ้าน 8,098.61 4.65 13,210.93 4.41 21,309.54 4.49 สขุ ภาพ รวม 174,339.86 100.00 299,865.32 100.00 474,205.18 100.00 จงึ เสนอมาเพ่อื โปรดทราบ ความเหน็ /มตทิ ีป่ ระชุม .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอํานวยการเพอ่ื พัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครัง้ ที่ 2/2562 หนา้ 22

ระเบยี บวาระท่ี 4 เรื่องเพอื่ พจิ ารณา 4.1 การเสนอเร่ืองเข้าสูก่ ารพิจารณาของคณะรฐั มนตรี จาํ นวน 3 เรอ่ื ง ด (4.1.1) การเพิ่มเติมกลุ่มประเทศเป้าหมายสําหรับการยกเว้นการตรว ไดแ้ ก่ สหรฐั อเมริกา และญีป่ ุน่ ท่ี เร่อื ง ความเปน็ มา/แนว 4.1.1 การเพม่ิ เติมกลุ่ม ความเปน็ มา: กรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ พิจารณาแล้ว ประเทศ ประเทศนอร์เวย์ เดนมาร์ก สวีเดน สหรัฐอเมริกา แล เป้าหมายการ รักษาพยาบาล รวม 90 วนั พรอ้ มผตู้ ิดตามรวมไม่เกนิ 4 ยกเว้นการตรวจ เอกอัครราชทูตต่างประเทศ ประจําประเทศไทย เมื่อกร ลงตราเพ่ือการ อย่างไม่เป็นทางการ เมื่อวันท่ี 8 พฤษภาคม 2562 พบ รกั ษาพยาบาล ประเทศ เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่มีศักยภาพสูงให้ควา 90 วัน สาํ หรับ ช่วงเวลาท่ีผ่านมา ผู้แทนของสถานเอกอัครราชทูตต่างป ผปู้ ่วยและ คืบหน้าของการดําเนินการในเรื่องดังกล่าว การน้ีเพื่อเป ผูต้ ิดตามรวมไม่ และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย และ เกิน 4 ราย เพอื่ ประกอบการตัดสนิ ใจเพ่อื เดนิ ทางมารักษาพยาบาลใน ได้แก่ การประชุมครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 14 ธันวาคม 25 สหรฐั อเมรกิ า และผชู้ ว่ ยรัฐมนตรีประจํากระทรวงสาธารณสุข เป็นประ และญปี่ นุ่ แลว้ โดยนําเสนอคณะรฐั มนตรเี พื่อพจิ ารณาอนุมัติในหลกั ข้อเทจ็ จรงิ 1. คณะรฐั มนตรีได้มีมติเม่ือวันท่ี 20 มีนาคม 2555 อนุมัต ๙๐ วัน สําหรับผู้ป่วยและผู้ติดตามรวม 4 ราย กรณีเดินทาง ร่วมมือรัฐอ่าวอาหรับ (Gulf cooperation Council : GC สุลต่านโอมาน รัฐกาตาร์ ราชอาณาจักรซาอดุ ิอาระเบีย และส อนมุ ัติในหลักการขยายเวลาพาํ นักในราชอาณาจกั รไทย รวม เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่อื พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 2/2562

ดงั น้ี วจลงตราเพ่ือการรักษาพยาบาล 90 วัน สําหรับผู้ป่วยและผู้ติดตามรวมไม่เกิน 4 ราย วทางการดาํ เนนิ งาน ขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย วเห็นว่าการทร่ี ัฐบาลไทยจะอนุญาตใหบ้ คุ คลที่มีสัญชาติของ ละญี่ปุ่น มีสิทธิได้รับการยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อการ 1. เหน็ ชอบในหลักการ 4 ราย ซ่งึ เปน็ ความประสงค์ตามคําขอของรัฐบาลผ่านสถาน เพิ่มเติมกล่มุ ประเทศ รมฯ ได้พิจารณาข้อเท็จจริงในปัจจุบันร่วมกับกรมการกงสุล เป้าหมาย ได้แก่ บว่าบุคคลของประเทศเหล่านี้ไม่เป็นภัยต่อความมั่นคงของ สหรฐั อเมรกิ า และญี่ปนุ่ ามนิยมเข้ามารับการรักษาพยาบาลในไทย ประกอบกับใน ในการยกเว้นการตรวจลง ประเทศ ได้ประสานมาเป็นการภายในเพื่อสอบถามความ ตราเพือ่ การรักษา ป็นการส่งเสริมนโยบายรัฐบาลด้านการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ พยาบาล 90 วนั สาํ หรบั ะเพ่ิมช่องทางในการอํานวยความสะดวกให้แก่ชาวต่างชาติ ผปู้ ่วยและผู้ตดิ ตามรวมไม่ นไทย รวมท้ังเป็นไปตามมติคณะกรรมการอํานวยการฯ ใน เกนิ 4 ราย และ 561 ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา มอบหมายใหฝ้ า่ ย ะธาน ซึ่งได้ให้ความเห็นชอบในหลักการของเรื่องดังกล่าวไว้ เลขานกุ ารฯ นําเสนอ กการตอ่ ไป คณะรัฐมนตรพี จิ ารณา อนุมตั ใิ นหลกั การ ภายใน ติในหลักการของการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทย รวม เดือนตุลาคม 2562 างเข้ามารักษาพยาบาล ในกลุ่มประเทศสมาชิกคณะมนตรีความ 2. ในสว่ นของประเทศ CC) รวม ๖ ประเทศ ได้แก่ ราชอาณาจักรบาห์เรน รัฐคูเวต รัฐ นอรเ์ วย์ เดนมาร์ก และ สหรัฐอาหรบั เอมเิ รตส์ และมีมติเมอื่ วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2559 สวเี ดน ให้เตรียมศึกษา ขอ้ มูลเรื่องการเบกิ ๙๐ วัน สาํ หรับผู้ปว่ ยและผตู้ ดิ ตามรวมไมเ่ กิน 4 ราย กรณีเดิน คา่ ใชจ้ ่ายในการ ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ หนา้ 23

ท่ี เร่ือง ความเปน็ มา/แนว ทางเขา้ มารบั การรักษาพยาบาล ในกลุ่มประเทศ CLMV และ 2. สถิติการเดินทางเขา้ ประเทศไทยของประเทศญี่ปุน่ แล ปี พ.ศ. ญป่ี นุ่ 2560 1,599,608 2561 1,717,235 ***ทีม่ า : สาํ นักงานตรวจคนเข้าเมอื ง 2560-2561 3. รูปแบบการเดินทางเข้าประเทศไทยกรณีถือหนังสือเด ญี่ปุ่น เดินทางเข้าราชอาณาจักรไทยเพื่อการท่องเท ระหวา่ งกนั พาํ นกั ไดไ้ มเ่ กนิ 30 วัน โดยไมจ่ ํากดั จาํ นวนค แนวทางการดาํ เนนิ งาน 1. นาํ เสนอคณะรฐั มนตรพี จิ ารณาอนมุ ตั ิในหลกั การ ภาย 2. ออกประกาศกระทรวงมหาดไทย ภายใต้พระราชบัญญ ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทา รักษาพยาบาลและผู้ติดตามไดร้ ับการยกเวน้ การตรวจลงต ภายในเดอื นธนั วาคม 2562 เดิม 11 ประเทศ GCC / CLMV + จนี จึงเสนอมาเพอื่ โปรดพจิ ารณา ความเหน็ /มติท่ีประชมุ ............................................................................................................................... .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการเพอื่ พัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย (นโยบาย Medical Hub) คร้งั ท่ี 2/2562

วทางการดาํ เนนิ งาน ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย ะสาธารณรฐั ประชาชนจนี ละสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2560 - 2561 ดังนี้ รกั ษาพยาบาลในไทยจาก รัฐบาลของตา่ งประเทศ สหรฐั อเมรกิ า (Reimbursment) ภายใน 1,011,501 เดือนธนั วาคม 2562 1,169,421 ดินทางธรรมดา (Passport) ในประเทศ สหรัฐอเมริกา และ (http://gg.gg/f99hf) ที่ยวโดยได้รับการยกเว้นการตรวจลงตราเป็นความตกลง ครงั้ ยในเดือนธันวาคม 2562 ญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2522 เรื่อง กําหนดรายชื่อประเทศที่ างซ่ึงเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพ่ือรับการ ตราและใหอ้ ยู่ในราชอาณาจกั รได้ไมเ่ กินเกา้ สิบวัน ฉบับท่ี 3 เพ่ิมเติม 2 ประเทศ สหรฐั อเมริกา / ญีป่ ุ่น ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ย์กลางสุขภาพนานาชาติ หน้า 24

ระเบยี บวาระท่ี 4 เรอื่ งเพอื่ พจิ ารณา (ตอ่ ) 4.1 การเสนอเร่ืองเข้าสกู่ ารพจิ ารณาของคณะรัฐมนตรี (ตอ่ ) (4.1.2) การเพิ่มเติมกลุ่มประเทศเป้าหมายสําหรับกลุ่มพํานักระยะยาว Lon ท่ี เร่ือง ความเปน็ มา/แน 4.1.2 การเพ่ิมเตมิ กลุ่ม ความเปน็ มา: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พจิ ารณาแล ประเทศเปา้ หมาย ประเทศเกาหลี เบลเยียม ออสเตรีย และนิวซีแลนด์ ม สําหรบั กลุ่มพาํ นกั (Long Stay Visa) ซึ่งเป็นความประสงค์ตามคําขอของ ระยะยาว Long ประจําประเทศไทย พบว่าบุคคลของประเทศเหล่าน้ีไม Stay Visa รหัส มีศักยภาพสูงให้ความนิยมเข้ามารับการรักษาพยาบา Non-O-X (10 เอกอัครราชทูตได้ประสานมาเป็นการภายในเพ่ือสอบ ปี) ได้แก่ เกาหลี เพ่อื เปน็ การส่งเสรมิ นโยบายรฐั บาลดา้ นการท่องเที่ยวเช เบลเยย่ี ม และเพ่ิมช่องทางในการอํานวยความสะดวกให้แก่ชาวต ออสเตรยี และ ยาว รวมทั้งเป็นไปตามมติคณะกรรมการอํานวยการ นวิ ซีแลนด์ 2561ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเท่ียวและ ประธาน ซ่งึ ไดใ้ ห้ความเหน็ ชอบในหลักการของเรื่องดัง หลักการตอ่ ไป ขอ้ เท็จจรงิ 1. คณะรัฐมนตรีมีมติ เม่ือวันท่ี 22 พฤศจิกายน 255 ไทยสาํ หรบั กลมุ่ พํานักระยะยาว(Long stay visa) (ระย ของ 14 ประเทศ ได้แก่ (๑) ญ่ีปุ่น (๒) เครือรัฐออสเต (5) สาธารณรฐั ฝรั่งเศส (6) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมน ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (10) ราชอาณาจักรสวีเดน(11 ไอร์แลนด์เหนอื (1๓) แคนาดาและ(14) สหรฐั อเมรกิ า เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอํานวยการเพอื่ พฒั นาประเทศไทยให้เปน็ ศนู ย (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 2/2562

ng Stay Visa รหัส Non-O-X (10 ปี) ได้แก่ เกาหลี เบลเย่ียม ออสเตรีย และนิวซแี ลนด์ นวทางการดาํ เนนิ งาน ข้อเสนอเชิงนโยบาย ลว้ เห็นว่าการที่รัฐบาลไทยจะอนญุ าตใหบ้ ุคคลท่ีมีสัญชาติของ เหน็ ชอบในหลกั การ มีสิทธิได้รับการตรวจลงตราประเภทพํานักระยะยาว 10 ปี เพม่ิ เติมกล่มุ ประเทศ งรัฐบาลมาโดยตรงและผ่านสถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศ เป้าหมาย ได้แก่ เกาหลี ม่เป็นภัยต่อความม่ันคงของประเทศ เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักท่ี เบลเยียม สาธารณรฐั าลในไทย ประกอบกับในช่วงเวลาท่ีผ่านมาผู้แทนของสถาน ออสเตรยี และ บถามความคืบหน้าของการดําเนินการในเร่ืองดังกล่าว การนี้ นิวซีแลนด์ ในนโยบาย ชิงสุขภาพและส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย Long stay visa 10 ปี ต่างชาติเพ่ือประกอบการตัดสินใจเพ่ือเดินทางมาพํานักระยะ รหัสกํากับ Non - O-X รฯ ในการประชุมคร้ังที่ 1/2561 เม่ือวันที่ 14 ธันวาคม และมอบหมายใหฝ้ ่าย ะกีฬา และผู้ช่วยรัฐมนตรีประจํากระทรวงสาธารณสุข เป็น เลขานกุ ารฯ นาํ เสนอ งกล่าวไว้แล้วโดยนําเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาอนุมัติใน คณะรฐั มนตรพี จิ ารณา อนุมตั ใิ นหลกั การ 59 อนุมัติในหลักการขยายระยะเวลาพํานักในราชอาณาจักร ภายในเดอื นธันวาคม ยะ10 ปี)รหัสกํากับ Non-O-X ให้แก่ชาวต่างชาติที่มีสัญชาติ 2562 ตรเลีย (๓) ราชอาณาจักรเดนมาร์ก (4) สาธารณรัฐฟินแลนด์ นี (7) สาธารณรัฐอิตาลี (8) ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ (9) (http://gg.gg/f9fo4) 1) สมาพันธรัฐสวิส (12) สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และ า ย์กลางสุขภาพนานาชาติ หนา้ 25

ที่ เร่อื ง ความเปน็ มา/แน 2. สถิติการเดินทางเข้าประเทศไทยเพ่ือการพํานักระยะยาว ในปี พ.ศ. 2560 - 2561 ดงั นี้ ปี พ.ศ. เกาหลี เบ 2560 1,469 219 2561 1,778 220 ***ทีม่ า : สํานักงานตรวจคนเข้าเมอื ง 2560-2561 แนวทางการดําเนินงาน 1. นําเสนอคณะรฐั มนตรีพิจารณาอนุมตั ใิ นหลกั การ 2. ออกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การอนุญ กรณีพเิ ศษสาํ หรบั ผทู้ ปี่ ระสงคจ์ ะเข้ามาพํานกั ระยะยาว เดิม 14 ประเทศ ญ่ีปุ่น / ออสเตรเลีย / เดนมาร์ก / ฟินแลนด์ / ฝร่ังเศส / เนเธอร์แลนด์ / นอร์เวย์ / สวเี ดน / สวิส / UK / แคนาดา จึงเสนอมาเพอ่ื โปรดพิจารณา ความเหน็ /มตทิ ี่ประชุม ............................................................................................................................... .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................. เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศนู ย (นโยบาย Medical Hub) คร้ังท่ี 2/2562

นวทางการดาํ เนนิ งาน ข้อเสนอเชิงนโยบาย ว 1 ปี ของประเทศเกาหลี เบลเย่ียม ออสเตรีย และนิวซีแลนด์ บลเยยี่ ม ออสเตรยี นิวซีแลนด์ 9 160 210 0 223 244 ร ญาตให้คนต่างด้าวบางจําพวกเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็น ฉบบั ที่ 2 / เยอรมนี / อิตาลี / เพ่มิ เติม 4 ประเทศ า / USA เกาหลี / เบลเย่ยี ม / ออสเตรีย / นวิ ซแี ลนด์ ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ หน้า 26

ระเบยี บวาระท่ี 4 เร่ืองเพอื่ พิจารณา (ตอ่ ) 4.1 การเสนอเรอื่ งเขา้ ส่กู ารพิจารณาของคณะรัฐมนตรี (ต่อ) (4.1.3) การกําหนดประเภทการตรวจลงตราชนิดใหม่กรณีเข้ารับ เข้าออกไดห้ ลายครัง้ (Multiple Entry) ท่ี เรอ่ื ง ความเปน็ มา/แน 4.1.3 การกาํ หนด ความเปน็ มา:ปัจจบุ นั พบวา่ มแี นวโนม้ นักท่องเท่ยี วเชงิ สขุ ภ ประเภทการ และเป็นบริการที่ขับเคล่ือนเศรษฐกิจท่ีมีศักยภาพ แต่โด ตรวจลงตรา รักษาพยาบาลเปน็ การเฉพาะ โดยในระบบการตรวจลงตรา ชนิดใหม่ กรณี ปัจจบุ นั แบง่ ออกได้เปน็ 3 ประเภท คอื (1) ขอตรวจลงตร เขา้ รับการ ตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว Non-Immigrant Visa รกั ษาพยาบาล ตรา 90 วัน (เฉพาะ 11 ประเทศ : GCC/CLMV/ จีน (Medical Visa) ทางเข้าออกได้คร้ังเดียว ส่วนการยกเว้นการตรวจลงตรา รหัส Non-MT พจิ ารณาความเปน็ ไปไดใ้ นการกําหนดใหม้ กี ารตรวจลงตรา ระยะเวลา 1 ปี (Non-MT) ชนิดใช้ได้ไม่จํากัดจํานวนคร้ัง (Multiple เขา้ ออกไดห้ ลาย กระบวนการรักษาพยาบาลในปัจจุบัน รวมท้ังเพิ่มตัวเลือ ครั้ง (Multiple และมีกําลงั ใชจ้ า่ ยด้านการรกั ษาพยาบาลโดยนําเสนอคณะ Entry) ข้อเท็จจริง: ประเทศท่ีประกาศตัวเป็น Medical Hu รักษาพยาบาลประเภทท่ีเป็นลักษณะ Multiple Entri ความสะดวกใหก้ ับผ้ปู ่วย ดังนนั้ ไทยจึงควรอาํ นวยความ การตรวจ/ยกเว้นการตรวจลงตราเพอ่ื รักษาพยาบาล ประเภท รหัส วตั ถปุ ระสงค์ ระยะเ Tourist Visa MT รักษาพยาบาล 60 เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้เปน็ ศูนย (นโยบาย Medical Hub) ครั้งที่ 2/2562

บการรักษาพยาบาล (Medical Visa) รหัส Non-MT ระยะเวลา 1 ปี นวทางการดาํ เนนิ งาน ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย ภาพเพิ่มขึ้นอย่างตอ่ เน่อื ง สามารถสร้างรายไดเ้ ข้าสปู่ ระเทศไทย เห็นชอบในหลกั การเพิม่ ดยท่ีในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีการตรวจลงตราเพื่อการ ประเภทของการตรวจลง าและยกเว้นการตรวจลงตราเพ่ือการรักษาพยาบาลของไทยใน ตราประเภทรกั ษา พยาบาล (Medical Visa) ราประเภท Tourist visa รหัส MT ระยะเวลา 60 วัน (2) การ Non - MT ชนิดใช้ได้ไม่ a รหัส O ระยะเวลา 90 วัน และ (3) การยกเว้นการตรวจลง จํากัดจํานวนคร้ัง น) ซึ่งทั้ง 2 ประเภทแรกเป็น Single Entry กล่าวคือใช้เดิน (Multiple Entry) คราว ละไมเ่ กิน 1 ปี โดยยังคง 90 วัน เป็นการอนุญาต (Multiple Entry) จึงเห็นสมควร visa ประเภทเดิมไวเ้ พอื่ าเพ่ือการรักษาพยาบาลเป็นการเฉพาะประเภท Medical Visa รองรับการรักษา พยาบาลระยะส้ัน และ Entry) คราวละไม่เกิน 1 ปี เพื่อสอดรับกับระยะเวลาและ มอบฝา่ ยเลขานกุ ารฯ อกในการเดินทางเข้าสู่ประเทศให้แก่ชาวต่างชาติที่มีศักยภาพ นําเขา้ คณะรฐั มนตรี ะรัฐมนตรพี ิจารณา ภายในเดอื นตุลาคม ub ส่วนใหญ่ทั่วโลกตอนนี้จะให้บริการตรวจลงตราเพ่ือการ 2562 ies เช่น สาธารณรัฐเกาหลีใต้ อินเดีย เพื่อเป็นการอํานวย มสะดวกในการตรวจลงตราให้กับกลมุ่ เป้าหมายทีม่ ศี กั ยภาพน้ี ลของไทยในปจั จบุ นั มดี งั นี้ เวลา ชนดิ ผตู้ ดิ ตาม สถติ ิ วัน Single Entry - ขอรับขอ้ มูลจากกรมการ กงสลุ ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ หน้า 27

ที่ เร่ือง ความเปน็ มา/แน ประเภท รหสั วัตถปุ ระสงค์ ระยะเ Non Immigrant O รักษาพยาบาล 90 ยกเวน้ ตรวจลงตรา MT รักษาพยาบาล 90 (เฉพาะ 11 ประเทศ : GCC/CLMV/ จนี ) การตรวจลงตราเพือ่ รักษาพยาบาลของไทยเสนอเพ่ิม ประเภท รหัส วตั ถุประสงค์ ระยะเ Medical Visa Non-MT รักษาพยาบาล 1ป แนวทางการดําเนินงาน 1. นําเสนอคณะรฐั มนตรีพจิ ารณาอนมุ ัติในหลักการภายใ 2. ให้กระทรวงมหาดไทยดําเนินการออกเป็นกฎกระทรวง เขา้ เมือง พ.ศ. 2522 ภายในเดือนธันวาคม 2562 ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ 1. ปรมิ าณนักท่องเทย่ี วเชิงสุขภาพเพิม่ มากข้ึน 2. ประเทศไทยไดร้ บั การยอมรบั ในเวทโี ลก จึงเสนอมาเพ่อื โปรดพิจารณา ความเห็น/มตทิ ีป่ ระชุม ....................................................... ........................................................................................................................................ .................................................................................................................................. ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอาํ นวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศูนย (นโยบาย Medical Hub) ครง้ั ท่ี 2/2562

นวทางการดาํ เนนิ งาน ข้อเสนอเชิงนโยบาย เวลา ชนิด ผตู้ ดิ ตาม สถิติ - 15,616 ราย วัน Single Entry (ข้อมลู จาก สตม. วัน เข้าออกไดค้ รงั้ 3 ปี 2562) เดียว 237 ราย ผู้ตดิ ตาม (ขอ้ มูลจากกรม สบส.ปี มใหม่ ชนิด - Multiple Entry 2562) เวลา ปี สถิติ - ในเดอื นตุลาคม 2562 งมหาดไทยและกระทรวงมหาดไทย ภายใต้พระราชบัญญัติคน .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ย์กลางสุขภาพนานาชาติ หน้า 28

ระเบยี บวาระท่ี 4 เรอื่ งเพอื่ พจิ ารณา (ตอ่ ) 4.2 การเปิดระบบรองรับการทําประกันสุขภาพสําหรับคนต่างด้าวผู้ขอรับ ตามมตคิ ณะรัฐมนตรเี มือ่ วันที่ 2 เมษายน 2562 โดยพร้อมเปิดระบบภายในวนั ท่ี ท่ี เรื่อง ความเปน็ มา/แนว 4.2 การเปดิ ระบบรองรบั ความเป็นมา: ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวัน การทาํ ประกนั สุขภาพ สาํ หรบั คนต่างดา้ วผู้ หลักเกณฑ์การทําประกันสุขภาพสําหรับคนต่างด้าว ขอรับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ Immigrant Visa รหัส O-A (ระยะ 1 ปี) ตามที่กระ ชั่วคราว Non- Immigrant Visa ประสานกับกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงมหาด รหสั O-A (1 ป)ี ตาม มติคณะรฐั มนตรเี มื่อ เมือง) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาปรับปรุ วนั ท่ี 2 เมษายน 2562 โดยพรอ้ มเปิด ส่วนท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานเพื่อรอ ระบบภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2562 และมติคณะรฐั มนตรที ่เี กย่ี วข้องต่อไป และการแถลงขา่ วฯ ผลการดาํ เนนิ งาน หนว่ ยงาน ประเดน็ กรมการกงสุล 1 ) ก า ร อ อ ก แ น ว ป ฏิ บั ติ รองรบั การตรวจลงตรา 2) หลกั ฐานแสดงการทาํ ประกันภัยของ ตา่ งประเทศ สํ า นั ก ง า น ต ร ว จ ค น การแกไ้ ขคําสง่ั สํานกั งาน เข้าเมือง ตาํ รวจแหง่ ชาตแิ ละคําสัง่ สาํ นกั งานตรวจคนเขา้ เมอื งทีเ่ กยี่ วขอ้ ง เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอํานวยการเพอ่ื พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย (นโยบาย Medical Hub) คร้ังท่ี 2/2562

บการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ช่ัวคราว Non-Immigrant Visa รหัส O-A (1 ปี) 31 ตลุ าคม 2562 และการแถลงขา่ วฯ ณ ทําเนยี บรฐั บาล วทางการดาํ เนนิ งาน ขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย นที่ 2 เมษายน 2562 อนุมัติในหลักการให้เพ่ิมเติม 1. เห็นชอบในหลักการเปิดระบบ วผู้ขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราวNon- ร อ ง รั บ ก า ร ทํ า ป ร ะ กั น สุ ข ภ า พ ะทรวงสาธารณสุขเสนอ โดยให้กระทรวงสาธารณสุขเร่ง สํ าหรั บคนต่ างด้ าวผู้ ขอรั บการ ดไทย สํานักงานตํารวจแห่งชาติ (สํานักงานตรวจคนเข้า ต ร ว จ ล ง ต ร า ป ร ะ เ ภ ท ค น อ ยู่ งแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งต่างๆ ใน ชั่วคราว Non-Immigrant Visa รองรับการดําเนินการในเรื่องน้ีตามข้ันตอนของกฎหมาย รหัส O-A (1 ปี) ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2562 ผลการดําเนนิ งาน 2. เห็นชอบในหลักการจัดงาน 1) ดําเนินการเสนอปลัดกระทรวงการต่างประเทศ การแถลงข่าว ณ ทําเนียบรัฐบาล เ พ่ื อ แ จ้ ง เ วี ย น แ น ว ป ฏิ บั ติ ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ แ ก่ ส ถ า น ในวนั ท่ี 11 ตุลาคม 2562 เ อ ก อั ค ร ร า ช ทู ต ไ ท ย แ ล ะ ส ถ า น ก ง สุ ล ไ ท ย ใ น ต่างประเทศ โดยมีระยะเวลาดําเนนิ การ 30วัน (http://gg.gg/f8yrq) 2) ปรับปรุงหลักฐานแสดงการทําประกันภัยของ ต่างประเทศ เม่ือแล้วเสร็จให้นําส่งให้หน่วยงานที่ เก่ยี วข้องเผยแพร่ในเวบ็ ไซต์ต่อไป (1) คําส่ังแก้ไข คําส่ังสํานักงานตํารวจแห่งชาติ ที่ 327/2557 เร่ืองหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการ พิจารณากรณีคนต่างด้าวขออยู่ต่อในราชอาณาจักร เป็นการช่ัวคราว ลงวันท่ี 30 มิถุนายน 2557 และ ฉบับทแี่ ก้ไขเพม่ิ เติม ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ หน้า 29

ที่ เร่อื ง ความเปน็ มา/แนว คปภ./สมาคมประกัน เวบ็ ไซต์สาํ หรับซอื้ ประกนั วนิ าศภยั ไทย/สมาคม สุขภาพและหลกั ฐานแสดง ประกันชวี ติ ไทย การประกันภัย กรมสนบั สนนุ บริการ จุดบรกิ ารขอ้ มูล (One สุขภาพ Stop Service) เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพอ่ื พฒั นาประเทศไทยให้เปน็ ศนู ย (นโยบาย Medical Hub) ครัง้ ที่ 2/2562

วทางการดาํ เนนิ งาน ข้อเสนอเชงิ นโยบาย (2) คําสั่งแก้ไข คําสั่งสํานักงานตรวจคนเข้าเมือง ท่ี หน้า 30 138/2557 เร่ือง รายการเอกสารประกอบการ พิจารณากรณีคนต่างด้าวขออยู่ในราชอาณาจักรเป็น การช่ัวคราว ลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2557 และฉบับ ท่ีแก้ไขเพ่มิ เติมแนวปฏิบตั ิในการตรวจอนุญาตให้เข้า มาในราชอาณาจักร โดยมีหลักเกณฑ์ คือ ตรวจ อนุญาตคร้ังแรกให้อยู่ในไทยได้ตามอายุกรมธรรม์ และการตรวจอนญุ าตครง้ั ที่ 2 ตรวจอนุญาตเท่าอายุ ก ร ม ธ ร ร ม์ ท่ี เ ห ลื อ อ ยู่ เ นื่ อ ง จ า ก วี ซ่ า เ ป็ น ลั ก ษ ณ ะ Multiple Entry โด ย มี ร ะ ย ะ เ ว ล า ดํ า เ นิ น ก า ร เ ส น อ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า ตามลําดบั 30วนั มกี ารจดั ทาํ เว็บไซต์สําหรบั ซอ้ื ประกันสขุ ภาพของ ไทยเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ และมีบรษิ ทั ประกัน ภาคเอกชน จาํ นวน 13 แห่ง สมคั รเขา้ รว่ มโครงการ เหน็ ควรมีจดุ บริการข้อมูล (One Stop Service) แก่ ผู้ที่ประสงค์ที่จะขอรับการตรวจลงตราท้ังประเภท Non O-X (10 ปี) และ Non O-A (1 ปี) เพื่อได้รับ ท ร า บ ข้ อ มู ล ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ไ ด้ แ ก่ ( 1 ) ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ เงื่อนไข และคุณสมบัติ ในการตรวจลงตรา รวมถึง สิทธิปร ะโยชน์ ที่จะได้ รับ ( 2) วิธี การทําประกั น สุขภาพ เงื่อนไขการทําประกันสุขภาพ และช่องทาง การทําประกันสุขภาพรองรับการตรวจลงตรา (3) การรายงานตัวเมื่อครบกําหนดระยะ 1 ปี (O-X) หรอื แจง้ ทีพ่ ักอาศัยกรณอี ยคู่ รบกําหนด 90 วนั และ ย์กลางสุขภาพนานาชาติ

ท่ี เรอ่ื ง ความเปน็ มา/แนว แนวทางการดาํ เนินงาน 1. เปิดระบบรองรับการทําประกันสุขภาพสําหรับ ช่วั คราว Non-Immigrant Visa รหัส O-A (1 ปี) ภาย 2. จดั งานการแถลงขา่ ว ณ ทาํ เนียบรฐั บาล ในวนั ที่ 1 จงึ เสนอมาเพอื่ โปรดพิจารณา ความเหน็ /มตทิ ่ปี ระชมุ ....................................................... ........................................................................................................................................ .................................................................................................................................. ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพฒั นาประเทศไทยให้เป็นศนู ย (นโยบาย Medical Hub) คร้ังที่ 2/2562

วทางการดาํ เนนิ งาน ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย ข้อมูลอื่นๆท่ีเก่ียวข้อง โดยอาจจัดทําเป็นช่องทางใน ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ ก ล า ง ห รื อ แ อ พ พ ลิ เ ค ช่ั น ท่ี สามารถเช่อื มโยงไปยังเว็บไซตข์ องหนว่ ยงานต่างๆได้ บคนต่างด้าวผู้ขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ ยในวนั ท่ี 31 ตุลาคม 2562 11 ตุลาคม 2562 เวลา 14.00-15.30 น. .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ........................................................................................................................................... ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ หนา้ 31

ระเบยี บวาระที่ 4 เรือ่ งเพอ่ื พิจารณา (ตอ่ ) 4.3 กจิ กรรมสาํ คญั เร่งดว่ น (Quick Win) ประจาํ ปีงบประมาณ 2563 ที่ เรอ่ื ง ความเปน็ มา/แนวทา 4.3.1 การจดั ตั้ง Body ความเป็นมา : ตามมตคิ ณะรัฐมนตรีเมอื่ วนั ที่ 20 มถิ ุนา กลางในการ พัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ รับผิดชอบ กระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการท นโยบาย Medical บริการสุขภาพ และอธิบดีกรมการท่องเที่ยวเป็นเลขาน Hub ผลผลิตหลัก พร้อมท้ังแต่งต้ังคณะอนุกรรมการติดตามผ 2562 มกี รมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ โดยกองสขุ ภาพระ คณะ ซึ่งกองสุขภาพระหว่างประเทศ เป็นหน่วยงานราชก ภารกิจ งบประมาณ บุคลากรในการบริหารและขับเคล ต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย และเกาหลี ได้มีกา อิสระ และส่งเสริมพัฒนาผู้ประสานงานได้อย่างเต็มปร เสนอขอจัดต้ังหน่วยงานใหม่ตามกฎหมาย โดยใช้ช่ือว่า สํานักงาน กพร. ตั้งแต่ปี 2561 เพ่ือให้สามารถดําเนินภ ท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ และยุทธศาสตร์การพัฒนาให้ประ Hub) (พ.ศ.2560-2569) ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ แตไ่ ม่ได้รับ แนวทางการดาํ เนินงาน ระยะสั้น : ผลักดันให้มีการจัดตั้ง “กองสุขภาพระหว กฎหมายภายใตก้ รมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ โดยแบ่งภา - งานพฒั นายทุ ธศาสตร์การเป็นศูนยก์ ลางสขุ ภาพนา - งานพฒั นาศนู ย์กลางบรกิ ารสุขภาพ (Medical Ser - งานพัฒนาศูนย์กลางบรกิ ารเพ่อื สง่ เสรมิ สขุ ภาพ (W - งานพฒั นาศนู ยก์ ลางการบริการวิชาการและงานวิจ - งานพัฒนาศนู ย์กลางยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Pro เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่อื พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ป็นศูนย (นโยบาย Medical Hub) คร้ังท่ี 2/2562

างการดาํ เนินงาน ขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย ายน 2560 ได้แต่งต้ังคณะกรรมการอํานวยการเพื่อ 1. เห็นชอบให้หลักการจดั ตงั้ Body กลางในการรับผดิ ชอบนโยบาย (นโยบาย Medical Hub) ซ่ึงมีรัฐมนตรีว่าการ Medical Hub ตามที่เสนอ โดยเสนอ ทอ่ งเทีย่ วและกฬี า เปน็ ประธาน อธบิ ดีกรมสนับสนุน การจดั ต้งั “กองสุขภาพระหว่าง นุการ มีคณะอนุกรรมการฯ จํานวน 4 คณะ ตาม ประเทศ” กรมสนบั สนุนบรกิ าร ผลการดําเนินงานฯ เพ่ิมเติมเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน สุขภาพ เปน็ หนว่ ยงานถูกต้องตาม ะหวา่ งประเทศ เปน็ เลขานุการฯ ในอนุกรรมการทุก กฎหมายไปยังหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง (สํานกั งาน กพร.) ภายในเดอื น การภายในยังไม่ได้แต่งตั้งตามกฎหมาย จึงส่งผลต่อ พฤศจิกายน 2562 โดยใหม้ ีภารกิจ ล่ือนนโยบาย Medical Hub ประกอบกับใน เฉพาะในการดําเนนิ การตามแผน ารจัดต้ังหน่วยงานรองรับนโยบายท่ีมีความคล่องตัว ยุทธศาสตรต์ ่อไป ระสิทธิภาพ ทั้งน้ี กองสุขภาพระหว่างประเทศ ได้ 2. ประสานกบั สํานกั งบประมาณ า “กองพัฒนาอุตสาหกรรมบริการสุขภาพ” ไปยัง ในการพิจารณาจัดใหม้ ีงบประมาณท่ี ภารกิจขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลในการส่งเสริมการ เปน็ งบบูรณาการเฉพาะตามนโยบาย ะเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Medical Hub บการพจิ ารณาให้จัดต้ังเปน็ หน่วยงานตามกฎหมาย หนา้ 32 ว่างประเทศ” ให้เป็นหน่วยงานจัดต้ังถูกต้องตาม ารกิจงานสาํ คัญออกเป็น านาชาติ (Medical Hub) rvice Hub) Wellness Hub) จัยทางการแพทย์ (Academic Hub) oduct Hub) ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ

ที่ เร่ือง ความเปน็ มา/แนวทา 4.3.2 การจัดต้งั ทูต - งานส่งเสริมการตลาดและความร่วมมอื การคา้ บรกิ า สาธารณสขุ ระยะยาว : จัดต้ังหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักด้าน Medi (Medical ใช้ชื่อว่า “สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมอุตสาหกร Attaché) ส่งเสริมอุตสาหกรรมสขุ ภาพ พ.ศ.... ซง่ึ เป็นส่วนราชการใ และการจัดต้ัง สาํ นักงานใน หลักการและเหตุผล : ในปัจจุบันการทูตเชิงสาธารณส ตา่ งประเทศ อย่างย่ิงในเวทีระหว่างประเทศ โดยประเทศไทยเป็นป การส่งเสริมความร่วมมือด้านสาธารณสุขต่างๆ และป ของประเด็นการทูตเพื่อสาธารณสุข (Health Diplom เพื่อให้ตอบสนองต่อกระแสของโลกปั จจุบั น ที่ปร ภายในประเทศของประเทศใดประเทศหน่ึงอีกต่อไป ก อาศัยความร่วมมือระหว่างประเทศเข้าร่วมในการผลัก ระดับโลก เพื่อส่งเสริมให้สามารถใช้ประเด็นสาธารณส เช่นเดียวกัน กระทรวงสาธารณสุขยังไม่มีกรอบอัตรา รวมทั้งยังไม่มีการจัดตงั้ หนว่ ยงานดา้ นสขุ ภาพในต่างปร ไทย/ สถานกงสุลใหญ่ไทย จะทําหน้าท่ีเป็นตัวแทนของ ผู้แทนเข้าร่วมการประชุม รวมทั้งการประสานงานกับ สาธารณสุข ดังนั้น จึงเห็นสมควรให้มีการพิจารณาควา Attaché) โดยทํางานร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตไทย การรว่ มกําหนดนโยบายด้านสขุ ภาพโลกกบั หน่วยงานส Medical Hub ของรัฐบาล/การพัฒนาศักยภาพของผู้ ชี้แจงข้อมูลด้านสุขภาพแก่หน่วยงานที่เก่ียวข้องภาคร ประชุมระดับต่างๆ ตลอดจนการให้คําปรึกษา ช่วยเหล การแข่งขันด้านบริการสุขภาพ/ การกําหนดบทบาทท่ีเ ตลอดจนเปน็ การสร้างความเชอื่ มัน่ ใหก้ ับชาวไทยและช เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพือ่ พัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 2/2562

างการดําเนนิ งาน ขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย ารสุขภาพในต่างประเทศ ical Hub แยกส่วนการบริหารงานออกมาโดยตรง 1. เห็นชอบในการจดั ตง้ั ทตู รรมสุขภาพ (BHI)” ภายใต้ (ร่าง) พระราชบัญญัติ สาธารณสุข (Medical Attaché) ในสังกัดสาํ นักนายกรัฐมนตรี โดยนาํ ร่องใน 5 ประเทศไดแ้ ก่ สหรัฐอเมรกิ า สวสิ เซอรแ์ ลนด์ และ สุข (Global Health Diplomacy) มีความสําคัญ กลุม่ ประเทศทนี่ ยิ ม Medical Hub ประเทศที่มีบทบาทที่เข้มแข็งและมีศักยภาพสูงใน เชน่ ตะวันออกกลาง จีน และ ประชาคมระหว่างประเทศตระหนักถึงความสําคัญ เยอรมัน macy) ซึ่งเป็นอีกมิติหน่ึงของนโยบายต่างประเทศ 2. มอบหมายใหก้ รมสนบั สนนุ ระเด็ นด้า นสาธ า รณสุขไม่ ได้เป็ นเพี ยงประเด็ น บริการสขุ ภาพ เสนอเรอื่ งไปยงั การป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจําเป็นต้อง กระทรวงการตา่ งประเทศ เพ่ือ กดันนโยบายสาธารณสุขให้เป็นนโยบายสําคัญใน นาํ เสนอกรอบแนวคดิ และเอกสาร สุขเป็นเครื่องมือในการดําเนินนโยบายต่างประเทศ ประกอบไปยังคณะอนุกรรมการ ากําลังเก่ียวกับบุคลากรท่ีปฏิบัติงานด้านสุขภาพ โครงสร้างบุคลากรของไทยที่ ระเทศ ซึง่ ท่ีผ่านมาผู้แทนจากสถานเอกอัครราชทูต ประจาํ การในต่างประเทศ ภายใน งประเทศไทยในการช้ีแจงข้อมูลด้านสุขภาพ/ เป็น เดอื นพฤศจิกายน 2562 บหน่วยงานต่างๆ ในต่างประเทศแทนกระทรวง 3. มอบหมายให้กระทรวงการ ามเป็นไปได้ในการจัดต้ังทูตสาธารณสุข (Medical ตา่ งประเทศ ดําเนินการนําเรื่องเข้าสู่ ยในต่างประเทศข้ึนเป็นการเฉพาะ เพื่อทําหน้าที่ใน การพิจารณาของคณะอนกุ รรมการ สําคัญในต่างประเทศ/ การดําเนินงานตามนโยบาย โครงสร้างบคุ ลากรของไทยท่ี ประกอบการ/การทํา Business Matching/ การ ประจําการในตา่ งประเทศ เพ่ือ รัฐและเอกชน/ การเข้าร่วมเป็นผู้แทนไทยในการ ลือชาวไทย เพื่อนําไปสู่การเพ่ิมขีดความสามารถใน หนา้ 33 เหมาะสมของหน่วยงานต่างๆตามนโยบายรัฐบาล ชาวต่างชาติตอ่ ระบบสุขภาพของไทยและของโลก ย์กลางสุขภาพนานาชาติ

ท่ี เรือ่ ง ความเป็นมา/แนวทา ขอ้ เท็จจริง 1. กระทรวงการตา่ งประเทศ : มหี นว่ ยงานในสงั กัดที่อ ทูตและสํานักงานตัวแทนของกงสุลของไทยในต่างป สถานกงสุลใหญ่ไทย สํานักงานคณะผู้แทนถาวรแห่งป (ประจําอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา/ ประจําสหประช องค์การการค้าโลก) และสํานักงานการค้าและเศรษฐก กระทรวงการต่างประเทศ ท้ังที่เป็นนักการทูตไทย ก สังกัดกระทรวงการต่างประเทศเกือบท้ังหมด สํานักง เอกอัครราชทูต (Embassy) และมีผู้แทนทางการท ประจําการในต่างประเทศ รวมทั้งสํานักงานตัวแทนทา สถานกงสุล (Consulate – General หรือ Consula กิจการด้านการทูตและกิจการด้านการกงสุลอยู่ภายใต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ความสัมพันธ์ทางกงสุล ค.ศ. 1963 พร้อมนี้ รัฐบาล บุคคลสัญชาติต่างประเทศเป็นกงสุลกิตติมศักดิ์ของป สถานเอกอัครราชทูตไทยหรือสถานกงสุลไทยประจําอย 2. ทีมไทยแลนด์ : นอกเหนือจากสํานักงานตัวแทนทา ของไทย ยงั ไดม้ หี นว่ ยงานสาํ คญั อ่นื ๆ ของรฐั บาลไทยท (1) สาํ นักงานสง่ เสรมิ การคา้ ในต่างประเทศ/ สํานกั งา (2) สํานกั งานเศรษฐกิจการลงทุน/ สํานกั งานท่ปี รกึ ษ (3) สาํ นกั งานแรงงาน กระทรวงแรงงาน (4) สํานกั งานท่ีปรึกษาฝ่ายเกษตร กระทรวงเกษตรแล (5) สาํ นกั งานที่ปรกึ ษาการศลุ กากร (6) สํานกั งานทป่ี รกึ ษาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (7) สํานกั งาน ก.พ. เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการอาํ นวยการเพอื่ พัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ย (นโยบาย Medical Hub) ครั้งที่ 2/2562