Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปฐมพยาบาล update

การปฐมพยาบาล update

Published by Pornlapat Suepchaknoi, 2022-08-09 06:40:28

Description: การปฐมพยาบาล update

Search

Read the Text Version

การปฐมพยาบาล สนุ พี ร บญุ งาม พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ โรงพยาบาลวัดสิงห์

การปฐมพยาบาล หมายถึงการช่วยเหลือผปู้ ่ วยหรือผบู้ าดเจบ็ เบ้ืองตน้ โดยใชเ้ คร่ืองมือ หรืออุปกรณ์เท่าท่ีจะหาไดใ้ นขณะน้นั ก่อนที่จะไดร้ ับการดูแล รักษาจากบุคลากรทางการแพทยห์ รือก่อนส่งต่อไปยงั สถานพยาบาล

วตั ถุประสงค์ - เพ่อื ช่วยบรรเทาอาการของผปู้ ่ วย - เพือ่ ช่วยลดความเจบ็ ปวดของผปู้ ่ วย - ช่วยให้ผปู้ ่ วยไดร้ ับอนั ตรายนอ้ ยลง - เพอื่ ช่วยชีวติ ยามฉุกเฉิน

• อยา่ ตื่นตกใจ ใหต้ งั้ สตติ วั เองใหม้ ่นั คง พยายามปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ใี หด้ ีท่สี ดุ ดว้ ยอปุ กรณ์ที่มอี ยห่ รอื หาดดใ้ นณณนนนั้

ประเมินสถานการณ์ ปลอดภยั - เณา้ ดปช่วยดด้ ดมป่ ลอดภยั - รอใหส้ ถานการณค์ ล่ีคลายกอ่ น - ดมเ่ ณา้ ช่วยดด้

อุปกรณ์ป้องกนั ร่างกาย เพื่อปอ้ งกนั การติดเชือ้ • ถงุ มือ • หนา้ กากปิดปากปิดจมก่

การปฐมพยาบาลผปู้ ่วยหรือผู้บาดเจ็บ 1. กรณมี ีบาดแผล แผลฉีกขาด ประเมินบาดแผล ทาการหา้ มเลือด โดยใชผ้ า้ สะอาดหรือผา้ ก๊อซปิ ดบาดแผลไว้ ควรสังเกตการเสียเลือดเพ่มิ ถา้ เลือดออกไม่หยดุ ใหใ้ ชผ้ า้ ยดื พนั ทบั อีกรอบ

2. แผลอวยั วะถกู ตัดขาด อุบตั ิเหตุ นิ้วขาด แขนขาด ขาขาด ฯลฯ เกบ็ อวยั วะท่ีถูกตดั ขาด โดยนาส่วนที่ตดั ขาดใส่ในถุงพลาสติก แลว้ รัดปากถุงใหแ้ น่น แช่ในภาชนะที่มีน้าผสมน้าแขง็ อีกช้นั จากน้นั หา้ มเลือดบริเวณปลายอวยั วะส่วนที่ถูกตดั ขาด หา้ มแช่ลงไปในนาแขง็ โดยตรง

3. แผลไฟไหมน้ าร้อนลวก ถอดเส้ือผา้ และเครื่องประดบั ท่ีถูกเผาไหมอ้ อก ใชน้ ้าสะอาด ลา้ งแผลเพอ่ื ทาความสะอาดและลดอาการปวดแสบปวดร้อน ไม่เจาะหรอื ลอกต่มุ พอง ห้ามใช้ นามัน โลชน่ั ยาสฟี นั ยาปฎชิ วี นะ ทาบนแผล

4.บาดเจ็บท่ีศรษี ะ อาจเกิดจากถกู ตีบริเวณศรีษะ ลน่ื หกล้มศรีษะพาดพนื้ ประเมินบาดแผลก่อน ถ้าพบว่ามีแผล ทาการห้ามเลือดด้วยวิธีปิ ดแผลโดยตรง ถ้าเลือดออกมามากใช้ผ้ายดื พนั รัด คอยสังเกตอาการเปลีย่ นแปลงทางสมองควบค่ดู ้วย เช่น ซึมลง พดู สับสน อาเจยี นพุ่ง

5. แผลจากวัตถหุ กั คา แผลถูกแทง แผลวสั ดุหกั คา หา้ มดึงวตั ถุท่ีหกั คาออกเดด็ ขาด ยดึ วตั ถุท่ีหกั คาให้อยนู่ ่ิง หา้ มเลือดโดยใชผ้ า้ แหง้ สะอาดปิ ดแผลหนาๆ และใชผ้ า้ สะอาดพนั บริเวณรอบวตั ถุน้นั ๆ เพ่อื ใหว้ สั ดุหกั คาอยนู่ ่ิงท่ีสุด

6.แผลไหม้จากสารเคมี ถูกสารเคมีโดนผวิ หนงั ใชน้ ้าสะอาดชาระลา้ งหลายๆคร้ังโดยใหน้ ้า ไหลผา่ นในบริเวณท่ีถูกสารเคมีเพ่อื ลดความเขม้ ขน้ ของสารเคมี ใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด

7.แผลกระดกู หัก กรณไี มม่ ีบาดแผล มอี วยั วะบวมผิดรปู ปรนคบดว้ ยนา้ แณ็งบรเิ วณที่ปวด บวม ผิดร่ป เพ่ือลดอาการปวดบวมจากนนั้ ดามกรนดก่ ยดึ ติดส่วนที่หกั ใหอ้ ยน่ ง่ิ มากท่สี ดุ รบี นาสง่ รพ หา้ มดนั กรนดก่ กลบั เด็ดณาด

กรณีกระดูกหักและมแี ผลเปดิ เหน็ กระดกู โผล่ หา้ มเลือดโดยใชผ้ า้ แหง้ สะอาดปิ ดแผลหนาๆและ ดามกระดูกยดึ ติดส่วนที่หกั ใหอ้ ยู่ นิ่งมากที่สุด หา้ มดนั กระดูกกลบั เขา้ ท่ีเดด็ ขาด

8. ภาวะเลือดตกใน เป็นอาการเสียเลอื ดภายในที่อาจเกดิ จากภาวนชอ็ กดด้ เชน่ ซมึ ซีด เหง่ือออกตวั เยน็ ชีพจรเบาเร็ว การดแ่ ลเบอื้ งตน้ จดั ทา่ ใหผ้ ป่้ ่วยนอนราบ ยกณาสง่ ห่มผา้ ใหอ้ บอนุ่ คลายเสือ้ ผา้ ใหห้ ลวม ปรนสานณอความ ชว่ ยเหลือ 1669 หา้ มใหอ้ าหารหรอื นา้ จนกวา่ ทมี ช่วยเหลอื จนมาถึง

9. กรณเี กดิ อบุ ตั เิ หตุรุนแรง หรอื ตกจากทส่ี งู อุบตั ิเหตุตกจากหลงั คา ตกตน้ ไม้ ฯลฯ อาจมีการหกั ของกระดูกสนั หลงั ได้ และ ควรใหผ้ ปู้ ่ วยอยนู่ ิ่งๆ ไม่ควรยกหรือเคลื่อนยา้ ยผบู้ าดเจบ็ ควรโทรเรียก 1669 โดยเร็ว

10. ถูกสตั วเ์ ลยี งลกู ดว้ ยนมกดั ไม่วา่ จะเป็น สุนขั แมว หนู หมู กระรอก กระแต จระเข้ ลิง คน - ลา้ งแผลให้สะอาดดว้ ยน้าเปลา่ หรือน้าสบู่ - สังเกตแผลวา่ เป็นยงั ไง แผลต้ืน แผลลึก ใชผ้ า้ สะอาดกดแผลและพนั แผลดว้ ยผา้ สะอาดเพอื่ ช่วยหยดุ เลอื ด - ไปพบแพทย์ / ไปโรงพยาบาล ทนั ที - ประวตั ิเรื่องการฉีด วคั ซีนป้องกนั พษิ สุนขั บา้ /บาดทะยกั - หา้ ม ใชร้ องเทา้ ตบท่ีแผล ผงดินโรย ผงทรายโรย ยาสีฟัน ยาสูบ ผงวเิ ศษ ผงปูน ใยแมงมุม น้าปลา เพราะเป็นการ เพ่มิ การตดิ เช้ือที่แผลท่ีมากกวา่

11 งูกัด - ลา้ งทาความสะอาดบริเวณทถ่ี ูกกดั -ใชเ้ ชือก ผา้ สายยาง รัดแขนหรือขา บริเวณท่ีถูกกดั เหนือรอยท่ีถูกกดั 2-4 นิ้ว เพือ่ ป้องกนั ไม่ให้พษิ งูถกู ดูดซึมเขา้ ร่างกายโดยเร็ว ให้รัดแน่นพอท่ีจะหยดุ การไหลเวยี นของเลือดดา ควรคลายเชือกทุกๆ 15 นาที โดยคลายนานคร้ังละ 30-60 วนิ าที จนกวา่ จะถึงสถานพยาบาล - เคล่ือนไหวส่วนที่ถูกกดั ใหน้ อ้ ยที่สุดเพอื่ ลดการแพร่กระจายของพิษงู - ควรดูให้รู้แน่วา่ เป็นงอู ะไร ถา้ ไม่แน่ใจควรบอกใหค้ นท่ีอยใู่ นเหตกุ ารณ์ตีงูใหต้ าย แลว้ นางูท่ีตายแลว้ มา รพ ดว้ ย - อยา่ ให้ผปู้ ่ วยด่ืมแอลกอฮอล์ ยาดองเหลา้ ชา กาแฟ ยากระตุน้ ประสาทเพราะจะทาให้เราสังเกตอาการไดย้ าก ไมท่ บุ ไม่ตบ ไมต่ ี

1. งูท่ีมีพิษต่อระบบประสาท พษิ ของงูจะทาใหก้ ลา้ มเน้ืออ่อนแรง และเป็นอมั พาต จะเริ่มจากกลา้ มเน้ือมดั เลก็ ไปจนถึง กลา้ มเน้ือมดั ใหญ่ และสุดทา้ ยจะเป็นท้งั ตวั อาการแรกเร่ิม คอื หนงั ตาตก ผปู้ ่ วยลืมตาไม่ข้นึ ซ่ึงมกั ถูกเขา้ ใจผดิ ๆ วา่ ผปู้ ่ วยง่วงนอน ตอ่ มาจะเริ่มกลืนน้าลายลาบาก พดู ออ้ แอ้ และหยดุ หายใจ เสียชีวติ เช่น งูจงอาง งูเห่า 2. งูที่มีพษิ ตอ่ ระบบเลอื ด พิษของงูจะไปทาใหเ้ ลือดในร่างกายไม่แขง็ ตวั เลือดออกไม่หยดุ เช่น เลือดออกในทางเดินอาหาร เลือดออกใน สมอง ปัสสาวะมีเลือดปน เลือดออกตามไรฟัน ไดแ้ ก่ งูแมวเซา งูเขยี วหางไหม้ ในกรณีของงูแมวเซาจะมีความ รุนแรงกวา่ งูกะปะและงูเขียวหางไหม้ และพบภาวะไตวายเฉียบพลนั ร่วมดว้ ยได้ เมื่อถูกงูแมวเซาฉกกดั มีอาการปวดบวมบริเวณรอบแผลเลก็ นอ้ ย สาหรับงูกะปะจะพบตุ่มน้าเลือดหลายอนั และ บางอนั มีขนาดใหญ่ และมีเลือดออกจากแผลท่ีถูกกดั ในกรณีของงูเขียวหางไหม้ จะมีอาการบวมบริเวณที่ถกู กดั และลามข้นึ ค่อนขา้ งมาก เช่น ถูกกดั บริเวณนิ้วมือ แต่บวมท้งั แขน นอกจากน้ีจะมีอาการช้าเลือด 3. งูที่มีพิษทาลายกลา้ มเน้ือ ปวดกลา้ มเน้ือทว่ั ท้งั ตวั ปัสสาวะมีสีเขม้ จนถึงสีดา ปัสสาวะออกนอ้ ยเน่ืองจากมีภาวะไตวายเฉียบพลนั อาจมี หวั ใจหยดุ เตน้ จากภาวะโพแทสเซียมคงั่ ในเลือด เช่น งูทะเล งูกะปะ

งทู พ่ี บในประเทศไทย 1 งูมีพษิ - งูจงอาง เป็นงูมีพิษขนาดใหญ่ ขนาดลาตวั ยาว 3-5 เมตร มีพษิ ร้ายแรงและปริมาณน้าพิษมาก สามารถกดั คนและ สตั วท์ ุกชนิดให้ตายไดใ้ นเวลาไม่กี่นาที งูจงอางสามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคของไทย และเป็นงูประเภทกินงูดว้ ยกนั เป็ นอาหาร

- งูเห่า เป็นงูขนาดกลาง ความยาว 1-2 เมตร ปริมาณน้าพิษนอ้ ยแต่มีพิษร้ายแรงมาก โดยพษิ จะเขา้ ไปทาลายระบบ ประสาท ผถู้ ูกกดั จะมีอาการง่วงซึม อยากหลบั ถา้ หลบั กจ็ ะไม่ตื่นอีกเลย ผทู้ ี่ถูกงูเห่ากดั ถา้ ไม่ไดร้ ับการปฐมพยาบาล ที่ถูกตอ้ งและไม่ไดร้ ับการฉีดวคั ซีนอยา่ งรวดเร็ว มกั จะเสียชีวติ ทุกราย งูเห่าเป็นงูที่พบไดท้ วั่ ไปทวั่ ประเทศ

- งูสามเหล่ียม หรือ งูทบั ทางเหลือง เป็นงูพิษท่ีพบไดท้ วั่ ไปในทวปี เอเชีย รวมถึงประเทศไทย ลาตวั ยาว 1-2 เมตร ลาตวั มีลกั ษณะทอ้ งแบนและเป็นสนั ดา้ นหลงั ทาใหม้ ีลกั ษณะเป็นสามเหลี่ยม (ซ่ึงเป็นท่ีมาของช่ือ) พบมากใน ภาคใตข้ องไทย (ภาคอ่ืนพบไม่มากนกั ) กินสัตวเ์ ลก็ ๆพวก นก หนู กบ เขียด เป็นอาหาร

- งูแมวเซา เป็นงูพิษชนิดหน่ึง ลกั ษณะลาตวั อว้ นป้อม ลาตวั ส้นั (เมื่อโตเตม็ ท่ีจะยาวเพียง 1-1.5 เมตร) เมื่ออยใู่ น ลกั ษณะตนื่ ตวั มนั จะสูบลมเขา้ ไปจนลาตวั พอง ทาเสียงร้องเหมือนแมวและส่งเสียงขตู่ ลอดเวลา สามารถฉกกดั ได้ เร็วมาก ผถู้ ูกกดั จะมีอาการเลือดไม่แขง็ ตวั และเลอื ดไหลไม่หยดุ เกิดอาการไตวายเฉียบพลนั และเสียชีวติ งูแมวเซา สามารถพบไดท้ ว่ั ไปในทวปี เอเชีย

- งูกะปะเป็นงูพษิ ท่ีพบไดท้ ุกภาคของไทย โดยเฉพาะในภาคใต้ มีลาตวั อว้ นส้นั คอเลก็ แตห่ วั โต เม่ือโตเตม็ ท่ียาว ประมาณ 1 เมตรเท่าน้นั กินสตั วเ์ ลก็ ๆพวกนก หนู กบ เขยี น เป็นอาหาร จดั เป็นงูที่มีพษิ ร้ายแรงทสี่ ุดของไทย ผทู้ ่ีถูก กดั จะเกิดอาการบวมไปท้งั ตวั เลือดไหลไม่หยดุ บริเวณท่ีถูกกดั จะบวมเขยี วและเน่า และเสียชีวติ ในที่สุด

- งูเขยี วหางไหม้ (Green pit viper) จดั เป็นงูพษิ ชนิดไม่รุนแรง กดั แลว้ ไม่ตาย พบไดท้ วั่ ไปและมีหลายสาย พนั ธุ์ในประเทศไทย มีลาตวั อวบส้นั ผวิ ลาตวั มีสีเขยี วอมเหลือง หางสีแดงจนถึงน้าตาลเขม้ (เป็นที่มาของช่ือ) เป็นงู ท่ีเคล่ือนไหวชา้ มีนิสัยดุร้ายฉกกดั ไดเ้ ร็ว ผถู้ ูกกดั จะเจบ็ ปวดท่ีแผลมาก มีอาการบวมอยู่ 2-5 วนั จากน้นั แผลจะยบุ และหายเป็ นปกติ

งูทะเล เป็นกลุ่มงูที่อาศยั อยใู่ นทะเล กินปลาเป็นอาหาร และแทบทุกชนิดเป็นงูพิษ สามารถพบไดท้ ว่ั โลกรวมถึง ประเทศไทยดว้ ย งูทะเลที่พบมากในประเทศไทยคือ งูสมิงทะเลปากดา ซ่ึงเป็นงูทะเลที่มีพษิ ร้ายแรงมาก พบผกู้ ดั เสียชีวติ อยเู่ ป็นประจา งูทะเลประเภทอ่ืนๆทพ่ี บในประเทศไทย เช่น งูผา้ ข้รี ิ้ว งูคออ่อน งูแสม งูฝักมะรุม งูชายธง

งไู ม่มีพิษในประเทศไทย งูไม่มีพิษในประเทศไทยน้นั มีอยมู่ ากมายประมาณ 300 สายพนั ธุ์ บางสายพนั ธุก์ ไ็ ม่กดั หรือทาอนั ตรายคน แต่บาง สายพนั ธุก์ ก็ ดั ไดถ้ า้ ถูกรบกวน ตวั อยา่ งงูไม่มีพษิ ในประเทศไทยไดแ้ ก่ งูเขียวชนิดตา่ งๆ งูปากจิ้งจก งูงวงชา้ ง งูสิง งู แส้หางมา้ งูกระดา้ ง งูปลิง งูแสงอาทิตย์ งูลายสาบ งูดิน งูกน้ ขบ งูปลอ้ งชนิดตา่ งๆ งูทางมะพร้าว งูกินปลา งูเหลือม และงูหลาม เป็นตน้

งูเหลือม งูหลาม

งูเขียวปากจิ้งจอก งูสิง

งูแสงอาทิตย์ งูทางมะพร้าว

12. เป็นลม คนเป็นลมหนา้ มืด เป็นผลเนื่องมาจากเลือดไปสู่สมองนอ้ ยไปชว่ั คราว สาเหตุอาจเน่ืองมาจาก ร่างกายอ่อนเพลีย อยใู่ นท่ีแออดั อากาศถ่ายเทไม่สะดวก การออกแรงหรือกาลงั มากเกินไป อากาศร้อน อบอา้ ว ตื่นเตน้ ตกใจ เสียใจมากเกินไป อาการ จะมีอาการวงิ เวยี น หนา้ มืด ตามวั ใจส่นั ใบหนา้ ซีดเซียว มีเหงื่อออกชุ่มตามฝ่ ามือ ฝ่ าเทา้ และ หนา้ ผาก อาจลม้ ลงและหมดสติ ชีพจรเบา หายใจหอบถ่ี การปฐมพยาบาล 1. ขยายเส้ือผา้ ให้หลวม 2. ห้ามคนมุงดูรอบๆ 3. เม่ือหมดสติ ใหผ้ ปู้ ่ วยนอนลง ให้ศรี ษะต่ากวา่ ตวั เลก็ นอ้ ยหรือนอนราบกไ็ ด้ 4. ให้ดมแอมโมเนีย 5. เช็ดเหงื่อตามฝ่ ามือ ฝ่ าเทา้ และหนา้ ผาก 6. ถา้ ยงั ไม่รู้สึกตวั ควรให้ความอบอุ่น ทาการผายปอดและรีบส่งโรงพยาบาล

1. เป็นลมธรรมดา (Fainting) เป็นอาการท่ีเนื่องมาจากเลือดไปเล้ยี งสมองไม่เพยี งพอชวั่ คราว จึงทาให้ ผปู้ ่ วย ไม่รู้สึกตวั ไปชว่ั ขณะหน่ึง สาเหตุ อาจเน่ืองมาจาก 1. ร่างกายอ่อนเพลียมาก เช่น อดนอน หรือตรากตราทางานมากเกินไป 2. ขาดอากาศบริสุทธ์ิ เช่น ทางานอยใู่ นท่ีท่ีมีคนอยหู่ นาแน่น ในหอ้ งที่มีอากาศไม่เพยี งพอ หรือ อากาศร้อนจดั เกินไป 3. จากอารมณ์ เช่น การต่นื เตน้ ตกใจกลวั มากเกินไป อาการ ผปู้ ่ วยจะหนา้ มืด เวยี นศีรษะ ใจส่ัน หนา้ ซีด มือเยน็ เหงื่อออกตามฝ่ ามือ ฝ่ าเทา้ และบริเวณหนา้ ผาก ชีพจรเบาและเร็ว อาจจะลม้ ลงและหมดสติ แตม่ กั ไม่มีอาการชกั การปฐมพยาบาล 1. เม่ือรู้สึกเวยี นศรี ษะ หนา้ มืด ใหผ้ ปู้ ่ วยนงั่ ลงสูดหายใจยาวๆ 2. เมื่อหมดสติ · ให้ผปู้ ่ วยนอนราบ ศีรษะต่ากวา่ ตวั เลก็ นอ้ ย · ขยายเส้ือผา้ ใหห้ ลวมๆ · พดั ใหผ้ ปู้ ่ วย · ห้ามคนมุงดู · ใหด้ มแอมโมเนีย · เช็ดเหง่ือตามฝ่ ามือ ฝ่ าเทา้ และหนา้ ผาก · ถา้ ไม่ฟ้ื น ควรให้ความอบอนุ่ ทาการผายปอด นาส่งโรงพยาบาล

2 ลมแดด (Sun – Stroke หรือ Heat Stroke) สาเหตุ ลมแดดเกิดข้ึนไดเ้ นื่องจากการอยกู่ ลางแจง้ ไดร้ ับแสงแดดกลา้ อยเู่ ป็นเวลานานๆ ทาให้ศูนยก์ ารควบคุม ความร้อนในร่างกายไม่สามารถควบคุมไดต้ ามปกติ การขบั เหงื่อลดลง ในขณะที่การสร้างความร้อนของร่างกาย เกิดตามปกตเิ ป็นผลทาใหอ้ ุณหภมู ิในร่างกายสูงข้ึนเรื่อยๆ อาการ ปวดศรี ษะ เวยี นศีรษะ อึดอดั คลื่นไส้ อาเจียน กระหายน้า หนา้ แดง ผวิ หนงั แห้ง แต่ไม่มีเหง่ือออก ชีพจรเตน้ แรงเร็ว หายใจลึกเร็ว อุณหภูมิ 105°- 110° F การปฐมพยาบาล 1. นาผปู้ ่ วยเขา้ ท่ีร่ม มีอากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก 2. เปล้ืองหรือคลายเส้ือผา้ ส่ิงที่รัดออกให้หลวม ถอดผา้ หนาๆ ออก เพ่อื ให้ความร้อนระบายออกจาก ร่างกาย ไดง้ ่าย และให้นอนหงายศรี ษะสูง 3. เชด็ ตวั ดว้ ยน้าเยน็ วางกระเป๋ าน้าแขง็ บนศีรษะ เพอื่ ช่วยลดอุณหภูมิใหก้ ลบั ไปอยใู่ นระดบั ปกติ โดยเร็ว 4. ไม่ควรด่ืมน้าร้อน ชา กาแฟ เหลา้ ฯลฯ 5. ถา้ อาการไม่ดีข้นึ ให้รีบนาส่งโรงพยาบาล

3. ลมร้อน สาเหตุ เนื่องจากมีการสูญเสียน้าและเกลือออกจากร่างกายมาก เพราะอยใู่ นที่ท่ีมีความร้อนสูงมาก และร่างกายมี ความอ่อนเพลียร่วมดว้ ย เช่น ในโรงกลึง โรงหล่อ โรงทาขนมปัง เป็นตน้ อาการ ปวดศีรษะ วงิ เวยี น อ่อนเพลีย คลื่นไส้ หนา้ ซีด ชีพจรเตน้ เบาเร็ว อุณหภมู ิต่ากวา่ ปกตเิ ลก็ นอ้ ย บางคน อาจหมดสติไป การปฐมพยาบาล 1. ปลดหรือคลายส่ิงทร่ี ัดร่างกายใหห้ ลวม เพือ่ ช่วยใหผ้ ปู้ ่ วยสบายข้นึ 2. รีบนาผปู้ ่ วยเขา้ อยใู่ นท่ีท่ีมีอากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก 3. ให้นอนหงาย ยกเทา้ สูงกวา่ ศรี ษะ 4. ถา้ ผปู้ ่ วยรู้สึกตวั ดี ให้ดื่มน้าอุ่นผสมเกลือ ¼ - ½ ชอ้ นกาแฟ ตอ่ น้า 1 ถว้ ย เพ่อื เป็นการทดแทน เกลือแร่ที่ สูญเสียออกจากร่างกายทางเหง่ือ 5. ถา้ ผปู้ ่ วยรู้สึกตวั ดี อาจให้ด่ืม น้าชา กาแฟ เพื่อช่วยกระตุน้ การทางานของระบบไหลเวยี นโลหิต ให้ดีข้นึ แตถ่ า้ ผปู้ ่ วยมีอาการคล่ืนไส้กไ็ ม่ควรให้ 6. ถา้ อาการไม่ดีข้นึ ใหร้ ีบส่งโรงพยาบาล

4. ลมบา้ หมู (Epilepsy) สาเหตุ ผทู้ ่ีเป็นลมชกั หรือลมบา้ หมู มกั เคยมีประวตั ชิ กั มาก่อน ในบางคนอาจไม่ถึงกบั ชกั เพียงแต่หมดสตไิ ป ชวั่ ครู่แลว้ กห็ ายไป แต่บางคนอาจมีอาการรุนแรงถงึ กบั ชกั และหมดสตไิ ด้ อาการ 1. เมื่อมีอาการกจ็ ะหมดความรู้สึกแลว้ ลม้ ลง บางคนอาจร้อง 2. ตวั แขง็ เกร็ง มือกาแน่น เทา้ เหยยี ดแขง็ ขากรรไกรขบกนั และเคล่ือนไปมา 3. หยดุ หายใจ หนา้ จะแดงจดั และบวม 4. ต่อมาจะชกั กระตกุ ท้งั ตวั ใบหนา้ เขยี วคล้า น้าลายฟูมปาก 5. บางคร้ังกลา้ มเน้ือหนา้ อาจเกร็งและหายใจลาบาก 6. อาจปัสสาวะราด 7. ตอ่ มากลา้ มเน้ือจะคลายตวั จะกินเวลาท้งั หมดประมาณ 1 นาที 8. ต่อมาจะหมดสติ อาจเป็นนาทีถึงหลายชว่ั โมง 9. อาจสับสน และอาจมีพฤตกิ รรมแปลกๆ หลงั จากการชกั

13. ผ้ึงต่อย ผ้ึงต่อย (Bee Sting) คือ อาการท่ีผปู้ ่ วยถูกผ้งึ ซ่ึงเป็ นแมลงท่ีมีเหลก็ ในต่อย หรือ อาจฝังเหลก็ ในลงบนผิวหนงั ดว้ ย จนทาใหเ้ กิดความรู้สึกคลา้ ยถูกเขม็ แทง รู้สึกปวด ร้อน หรือคนั บริเวณท่ีเกิดเป็ นตุ่มบวมข้นึ มา ซ่ึงมีจุดสีแดงอยตู่ รงกลางและมีผวิ หนงั สี ขาวอยโู่ ดยรอบ

อาการของผ้งึ ตอ่ ย - รู้สึกคลา้ ยถูกเขม็ แทง รู้สึกปวด ร้อน หรือคนั บริเวณท่ีโดนตอ่ ย - เกิดเป็นตุ่มบวมข้ึนมา ซ่ึงมีจุดสีแดงอยตู่ รงกลางและมีผวิ หนงั สีขาวอยโู่ ดยรอบ - ความเจบ็ ปวดและตุ่มบวมจากการโดนผ้งึ ต่อยจะคอ่ ย ๆ ดีข้ึนและหายไปในเวลาไม่กี่ชวั่ โมง - แต่ในบางรายอาจมีอาการรุนแรงข้ึน ผปู้ ่ วยควรปรึกษาแพทยห์ ากอาการรุนแรงข้นึ หรือมีอาการเร้ือรงั ยาวนานและ อาการไม่หายไป เช่นตุ่มบวมแดงอยา่ งเห็นไดช้ ดั - บริเวณที่โดนผ้งึ ตอ่ ยขยายบวมโตข้ึนในวนั ถดั มาอาการต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนใชเ้ วลานานกวา่ จะหายดี อาจยาวนานเป็น สปั ดาห์หรือเกินกวา่ น้นั

ส่วนอาการแพท้ ี่เป็นปฏิกิริยารุนแรงหลงั ถูกผ้งึ ต่อย ซ่ึงผปู้ ่ วยควรขอความช่วยเหลอื อยา่ งเร่งด่วน หรือไปพบแพทย์ ทนั ที ไดแ้ ก่ - มีอาการแพป้ รากฏบนผวิ หนงั อยา่ งผดผนื่ คนั สีแดงหรือสีซีดขาว - อ่อนเพลีย หมดแรง - แน่นหนา้ อก หายใจลาบาก หายใจไม่ออก หรือหายใจมีเสียงหวดี - เสียงแหบ พดู จาตดิ ขดั - ล้ินบวม คอบวม - หวั ใจเตน้ แรง ชีพจรเตน้ เร็ว - คล่ืนไส้ อาเจียน หรือทอ้ งร่วง - วงิ เวยี นศรี ษะ หนา้ มืด เป็นลม - กระวนกระวาย ไม่รู้สึกตวั หมดสติ

สาหรับผทู้ ี่มีอาการเพียงเลก็ นอ้ ยหลงั ถกู ผ้งึ ตอ่ ย อาจปฐมพยาบาลอาการในเบ้อื งตน้ และบรรเทาความเจบ็ ปวดได้ ดงั น้ี - หากเหลก็ ในอยใู่ นตาแหน่งทีม่ องเห็นไดช้ ดั ผปู้ ่ วยควรพยายามบีบผวิ โดยรอบเพือ่ ดนั เหลก็ ในออกมาใหเ้ ร็วที่สุด - ลา้ งทาความสะอาดผวิ บริเวณทถ่ี ูกผ้งึ ต่อยดว้ ยสบู่และน้าสะอาด - ใชน้ ้าแขง็ หรือผา้ เยน็ วางประคบในบริเวณน้นั - หากถูกผ้งึ ตอ่ ยบริเวณแขนหรือขา ใหย้ กแขนหรือขาข้ึน หรือวางแขนขาไวบ้ นระดบั ท่ีสูงกวา่ ปกติ - หากสวมใส่เคร่ืองประดบั อยู่ ให้ถอดเครื่องประดบั ออก เพราะอาจเกิดอาการบวมจนยากต่อการถอดเคร่ืองประดบั ในภายหลงั - ไม่เกาบริเวณท่ีถูกผ้งึ ตอ่ ย เพราะจะยงิ่ ทาให้อาการแยล่ ง และเพม่ิ ความเส่ียงในการตดิ เช้ือ - บรรเทาอาการปวดดว้ ยการรบั ประทานยาแกป้ วดท่ีหาซ้ือไดต้ ามร้านขายยา

14 พิษจากเห็ด • อนั ตรายจากเหด็ พษิ ทีม่ ผี น่้ ามาจาหนา่ ยในทอ้ งตลาดชว่ งฤดฝ่ น ซึ่งเมอื่ นามา รบั ปรนทานอาจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ รา่ งกาย ทงั้ การเจ็บป่ วยท่วั ดปจนถึงณนั้ เสยี ชีวิต ซงึ่ บางครงั้ เหด็ ท่กี ินดดก้ บั เหด็ พิษจนมีลกั ษณนที่คลา้ ยคลงึ กนั มาก หาก นามารบั ปรนทานโดยร่เ้ ทา่ ดมถ่ ึงการหรอื ณาดความร่ใ้ นเรอื่ งเห็ดอาจทาใหเ้ กิด อนั ตรายดด้









อาการ • อาการจนปรากฏใน 6-8 ช่วั โมง หลงั จากรบั ปรนทานเหด็ บางชนดิ อาจเรว็ มากเพยี ง 2 ช่วั โมง แลนบางชนิดอาจ นานถงึ 12 ช่วั โมง จนมอี าการตา่ ง ๆ คือ มนึ งง ปวดศรษี น คล่ืนใส้ อาเจียน ทอ้ งเสียแลนเป็นตนคริวทีก่ ลา้ มเนอื้ เจบ็ ที่ทอ้ ง ในรายที่รุนแรง จนพบการทาลายตบั มดี ณส้ ง่ ชกั ดมร่ ่ส้ กึ ตวั แลนถึงตายดดภ้ ายใน 2-4 วนั หลงั รบั ปรนทานเหด็ เณา้ ดป

• การปฐมพยาบาลมีความสาคญั อยา่ งยง่ิ หากผป่้ ่วยรบั ปรนทานเหด็ พิษแลนเกดิ อาการพษิ ณนึ้ ควรจนร่จ้ กั วิธี ปฏิบตั ิที่ถก่ ตอ้ งกบั ผป่้ ่วย แตต่ ามชนบทมกั จนแสดงอาการหลงั รบั ปรนทานแลว้ หลายช่วั โมง ซึ่งพษิ มกั จนกรนจาย ดปมาก ดงั นนั้ จงึ จาเป็นตอ้ งร่จ้ กั วธิ ีปฐมพยาบาล แลว้ รบี นาสง่ แพทย์ เพื่อทาการรกั ษาโดยรบี ด่วนต่อดป • การปฐมพยาบาลนนั้ ที่สาคญั ท่ีสดุ คือ ทาใหผ้ ป่้ ่วยอาเจียนเอาเศษอาหารที่ตกคา้ งออกมาใหม้ าก แลนทา การช่วยดด่ พิษจากผป่้ ่วยโดยวธิ ีใชน้ า้ อนุ่ ผสมผงถา่ น activated charcoal แลว้ ด่ืม 2 แกว้ โดยแกว้ แรกให้ ลว้ งคอใหอ้ าเจียนออกมาเสียกอ่ นแลว้ จงึ ด่ืมแกว้ ท่ี 2 แลว้ ลว้ งคอใหอ้ าเจยี นออกมาอีกครงั้ จึงนาสง่ แพทยพ์ รอ้ ม กบั ตวั อยา่ งเห็ดพษิ หากยงั เหลืออย่ หากผป่้ ่วยอาเจยี นออกยากใหใ้ ชเ้ กลือแกง 3 ชอ้ นชาผสมนา้ อนุ่ ดื่ม จนทาให้ อาเจียนดดง้ ่ายณนึ้ แต่วธิ ีนีห้ า้ มใชก้ บั เดก็ อายตุ า่ กว่า 5 ณวบ

• การนาเหด็ มาประกอบอาหารควรปฏบิ ตั ดิ งั นี้ 1.การรบั ปรนทานอาหารที่ปรนกอบณนึ้ ดว้ ยเหด็ ควรจนรบั ปรนทานแตพ่ อควร อยา่ รบั ปรนทานจนอม่ิ มากเกนิ ดป เพรานเห็ดเป็นอาหารท่ียอ่ ยยาก อาจจนทาใหผ้ ม่้ ีรนบบยอ่ ยอาหารท่ีออ่ นแอเกดิ อาการอาหารเป็นพษิ ดด้ 2.ควรรนมดั รนวงั คดั เห็ดท่ีเนา่ เสียออกเพรานเหด็ ที่เนา่ เสียจนทาใหเ้ กิดอาการอาหารเป็นพษิ ดด้ 3.อยา่ รบั ปรนทานอาหารที่ปรุงณนึ้ สกุ ๆ ดบิ หรอื เหด็ ดิบดอง เพรานเหด็ บางชนดิ ยงั จนมพี ษิ อยา่ งออ่ นเหลอื อย่ ผ่้ รบั ปรนทานจนดมร่ ่ส้ ึกตวั วา่ มพี ษิ จนเมอ่ื รบั ปรนทานหลายครงั้ กส็ นสมพษิ มากณนึ้ แลนเป็นพิษรา้ ยแรงถึงกบั เสียชีวิตดดใ้ นภายหลงั 4.ผท่้ ่ีร่ต้ วั เองวา่ เป็นโรคภม่ แิ พเ้ ก่ียวกบั เห็ดบางชนดิ หรอื กบั เหด็ ทงั้ หมด ซึง่ ถา้ รบั ปรนทานเห็ดเณา้ ดปแลว้ จนทาให้ เกิดอาการเบือ่ เมา หรอื อาหารเป็นพษิ จงึ ควรรนมดั รนวงั รบั ปรนทานเฉพานเห็ดที่รบั ปรนทานดดโ้ ดยดมแ่ พ้ หรอื หลีกเล่ียงจากการรบั ปรนทานเหด็ 5.รนมดั รนวงั อยา่ รบั ปรนทานเหด็ พรอ้ มกบั ด่ืมสรุ า เพรานเหด็ บางชนดิ จนเกิดพษิ ทนั ที ถา้ หากดื่มสรุ าหลงั จาก รบั ปรนทานเห็ดแลว้ ภายใน 48 ช่วั โมง เชน่ เหด็ หง่ิ หอ้ ย เหด็ นา้ หมกึ หรอื เห็ดถ่วั (Coprinus atramentarius ) แมแ้ ต่เหด็ พิษอื่นท่วั ดป หากด่ืมสรุ าเณา้ ดปดว้ ย กจ็ นเป็นการช่วยใหพ้ ษิ กรนจายดดร้ วดเรว็ แลนรุนแรงณนึ้ อีก

การช่วยฟ้ื นคืนชีพ Cadio pulmonary resuscitation

ความหมาย - การช่วยชีวติ คนหวั ใจหยดุ เตน้ หรือคนที่หยดุ หายใจกะทนั หนั จากระบบไหลเวยี น และระบบหายใจลม้ เหลว - เป็ นการผสมผสานกนั ระหวา่ งการผายปอดเพอ่ื ช่วยออกซิเจนเขา้ ไปในปอดและการ กดหนา้ อกขา้ งซา้ ยเพอ่ื ใหห้ วั ใจทาการหมุนเวยี นเลือดท่ีมีออกซิเจน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook