Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัดไร่ขิง

วัดไร่ขิง

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2020-05-21 04:36:47

Description: วัดไร่ขิง

Search

Read the Text Version

คณุ ของห้องสมุด คือ ความสะอาดบริสทุ ธิม์ องเห็นจดุ ต้องการตามวิสัย คือ แว่นเพิ่มสายตายิ่งข้ึนไป คือ กลอ้ งใช้ขยายหลายเท่าตัว คือ กุญแจไขรู้มีอะไร คือ ครูใหค้ าแนะนาอย่างห่างตัว คือ มิตรเสริมพลังอย่างเมามวั คอยนาตัว คือเขม็ ชี้ ทิศทาง คือ ป้ายบอกวิถไี ปจดุ ไหน มองเห็นในความมืด คือ สว่างสง่ิ อน่ื ใดกาบังหรืออาพรางรู้แนวทางช่วย เสริมสร้างปญั ญา เอย พระอุบาลีคณุ ูปมาจารย์ (ปญั ญา อินทปญโฺ ญ)

ประวัติวดั ไร่ขิง คนรุ่นเก่าได้เล่าสืบต่อกันมาว่า วัดไร่ขิงสร้าง ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2394 โดยพระธรรมราชานุวัตร (พุก) ชาวเมืองนครชัยศรี มณฑลนครชัยศรี (ต่อมา ท่าน ได้รับสถาปนาสมศักด์ิเป็น สมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก)) ในขณะน้ันท่านดารงตาแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัด ศาลาปูนวรวิหาร ท่านได้กลับมาสร้างวัดไร่ขิงและวัด ดอนหวาย ซ่งึ เปน็ บ้านโยมบิดาและมารดาของท่าน แต่ ยังไม่แล้วเสร็จ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก) มรณภาพ เม่อื ปี วอก พ.ศ. 2427 รวมสิริอายุ 91 ปี พระราชทาน เพลิงศพ เมื่อวันที่ 9 เมษายน ตรงกับวันพฤหัสบดี แรม 10 ค่า เดือน 5 ปีระกา พ.ศ. 2428 ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั

ได้เสด็จพระราชดาเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระ บ ร ม โ อ ร ส า ธิ ร า ช เ จ้ า ฟ้ า ม ห า ว ชิ รุ ณ หิ ศ ส ย า ม มกุฎราชกุมาร มาพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุพิเศษวัด ศาลาปูน ดังนั้น งานทุกอย่างจึงตกเป็นภาระของพระ ธรรมราชานุวัตร (อาจ จนฺทโชโต) เจ้าอาวาสวัดศาลาปูน รูปที่ 6 ซึ่งเป็นหลานชายของท่าน” แต่ไม่ทราบว่าท่าน กลับมาปฏิสังขรณ์วัดเม่ือใดหรือท่านอาจจะมาในปี พ.ศ. 2453 ตอนที่ท่านได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระธรรมราชานุ วัตรก็อาจเป็นไปได้ ซึ่งขณะน้ันท่านมีอายุ 75 ปี และเป็น เจ้าอาวาสวัดศาลาปูนรูปที่ 6 ต่อจากสมเด็จพุฒาจารย์ (พุก) อย่างไรก็ตาม ในการปฏิสังขรณ์วัดไร่ขิงในสมัยท่าน อยู่ประมาณปี พ.ศ. 2427 หรือ 2453 เป็นต้นมา สาหรับชื่อวัดนั้น มีเรื่องเล่าว่า พ้ืนที่วัดในอดีตมี ชาวจนี ปลกู บ้านอาศยั อยู่กนั เป็นจานวนมากและนิยมปลูก ขิงกนั อย่างแพร่หลาย

จนเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านหรือชุมชนในแถบนี้ว่า “ไร่ขิง” ต่อมา เม่ือมีชุมชนหนาแน่นมากยิ่งขึ้นจึงได้มีการสร้างวัด เพ่ือเป็นจุดศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน ดังน้ัน วัดจึงได้ช่ือ ตามช่อื ของหมู่บ้านหรือชมุ ชนวา่ “วัดไร่ขิง” ในราวปี พ.ศ. 2446 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระยาวชิรญาณวโรรส วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ เสด็จ ตรวจเยี่ยมวัดในเขตอาเภอสามพราน สมเด็จฯ ได้เสด็จมาที่ วัดไร่ขิง และทรงตั้งชื่อวัดใหม่ว่า “วัดมงคลจินดาราม” ท้ัง ทรงใส่วงเล็บช่ือเดิมต่อท้ายจึงกลายเป็น “วัดมงคลจินดา ราม (ไร่ขิง)” เม่ือเวลาผ่านพ้นมานานและคงเป็นเพราะ ความกร่อนของภาษาจีนทาให้วงเล็บหายไป คงเหลือเพียง คาวา่ “ไร่ขิง” ต่อท้ายคาวา่ “มงคลจินดาราม” จึงต้องเขียน ว่า “วัดมงคลจินดาราม-ไร่ขิง” แต่ในทางราชการยังคงใช้ ช่ือเดิมเพียงว่า “วดั ไรข่ งิ ” สืบมาจนทกุ วนั นี้

หลวงพ่อวดั ไร่ขงิ ได้อัญเชิญมาจากวัดศาลาปูน โดยนาล่องมาทางน้า ด้วยการทาแพไม้ไผ่หรือที่เรียกกันว่าแพลูกบวบรองรับองค์พระ ปฏิมากรณ์ เม่ือถึงหน้าวัดไร่ขิงจึงได้อัญเชิญขึ้นประดิษฐานไว้ ภายในอโุ บสถ ตรงกับวนั ขึ้น 15 ค่า เดือน 5 ซึ่งเป็นวันสงกรานต์ พอดีจึงมีประชาชนจานวนมากมาชุมนุมกัน ในขณะที่อัญเชิญ องค์หลวงพ่อขึ้นจากแพ สู่ปะราพิธีได้เกิดอัศจรรย์แสงแดดที่ แผดจ้ากลับพลนั หายไป ความร้อนระอุในวันสงกรานต์ก็บังเกิดมีเมฆดามืด ทะมึน ลมปั่นป่วน ฟ้าคะนอง และบันดาลให้มีฝนโปรยลงมาทา ให้เกิดความเย็นฉ่าและเกิดความปิติ ยินดีกันโดยท่ัวหน้า ประชาชนที่มาต่างก็พากันต้ังจิตรอธิษฐานเป็นหนึ่งเดียวกัน ว่า “หลวงพ่อจะทาให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุข ดับความร้อนร้าย คลายความทกุ ข์ใหห้ มดไป

ดุจสายฝนที่เมทนีดลให้ชุ่มฉ่า เจริญงอกงามด้วย ธัญญาหารฉะนั้น” ดังน้ัน วันดังกล่าวที่ตรงกับวัน สงกรานต์หรือวันขึ้นปีใหม่ของคนไทย ทางวัดจึงได้ถือเป็น วันสาคัญ และได้จัดให้มีงานเทศกาลนมัสการปิดทอง ประจาปีหลวงพ่อวัดไร่ขิง สืบต่อมาจนถึงทุกวันนี้ตานาน หลวงพ่อวัดไร่ขิงน้ันจากคาบอกเล่าสืบต่อกันมา หรือที่ เรียกวา่ \"มขุ ปาฐะ\" มหี ลายตานาน ดงั นี้ ตานานที่ 1 ครั้งเม่ือสมเด็จพระพุฒาจารย์(พุก) ชาวเมืองนครชัยศรี ได้มาตรวจเยี่ยมวัดในเขตอาเภอสาม พราน ได้เข้าไปในพระอุโบสถวัดไร่ขิง หลังจากกราบพระ ประธานแล้ว มีความเห็นว่าพระประธานมีขนาดเล็กเกินไป จึงบอกให้ท่านเจ้าอาวาสพร้อมชาวบ้านไปอัญเชิญมาจาก วัดศาลาปูนฯ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยวางลงบน แ บ บ ไ ม้ ไ ผ่ แ ล ะ น า ล่ อ ง ม า ต า ม ล า น้ า แ ล ะ อั ญ เ ชิ ญ ขึ้ น ประดิษฐานในพระอุโบสถ ตรงกับวันพระขึ้น 15 ค่า เดือน 5 วนั สงกรานต์พอดี ตานานที่ 2 วัดไร่ขิงสร้างเม่ือปีกุน พุทธศักราช 2394 ตรงกับปีสุดท้ายในรัชกาลที่ 3 ต้นปี ในรัชการที่ 4 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก)ซึ่งเป็นชาวเมืองนครชัยศรี ในขณะนั้นดารงสมณศักดิ์พระราชาคณะที่ \"พระธรรมรา ชานุวัตร\" ปกครองอยู่ที่วัดศาลาปูนวรวิหาร จังหวัด พระนครศรีอยุธยาได้กลับมาสร้างวัดที่บ้านเกิดของตนที่ไร่ ขิง เมอ่ื สร้างพระอโุ บสถเสรจ็ แล้วจึงไดอ้ ญั เชญิ พระพทุ ธรปู

ตานานที่ 3 ตามตานานเป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมา เกี่ยวกับมีพระพุทธรูปลอยน้ามา 5 องค์ก็มี 3 องค์ก็มี โดยเฉพาะในเรื่องที่เล่าว่ามี 5 องค์น้ัน ตรงกับคาว่า \" ปัญจภาคี ปาฏิหาริยกสินธ์ุโน \" ซึ่งไดม้ กี ารเลา่ เป็นนิทานวา่ ในกาลครั้งหนึ่ง มีพ่ีน้องชาวเมืองเหนือ 5 คน ได้บวชเป็น พระภิกษุในพระพุทธศาสนาจนสาเร็จเป็นพระอริยบุคคล ช้ันโสดาบัน มีฤทธิอ์ านาจทางจิตมากไดพ้ ร้อมใจกันต้ังสัตย์ อธิษฐานว่า เกิดมาชาตินี้จะขอบาเพ็ญบารมีช่วยให้สัตว์ โลกได้พ้นทุกข์ แม้จะตายไปแล้ว ก็จะขอสร้างบารมีช่วย สตั ว์โลกให้ได้พ้นทกุ ข์ตอ่ ไปจนกว่าจะถึงพระนิพานคร้ังพระ อริยบุคคลทั้ง 5 องค์ ได้ดับขันธ์ไปแล้ว ก็เข้าไปสถิตใน พระพุทธรปู ท้ัง 5 องค์จะมีความปรารถนาที่จะช่วยคนทาง เมืองใต้ที่อยู่ติดแม่น้าให้ได้พ้นทุกข์ จึงได้พากันลอยน้าลง มาตามลาน้าทั้ง 5 สาย เม่ือชาวบ้านตามเมืองที่อยู่ริม แม่น้าเห็นเข้า จึงไดอ้ ัญเชิญและประดิษฐานไว้ตามวัดต่างๆ มดี ังนี้

• พระพทุ ธรปู องค์ที่ 1 ลอยไปตามแมน่ ้าบางปะกง ขึ้นสถิต ที่วดั โสธรวรวหิ าร เมืองแปดรวิ้ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา เรียก กันว่า \"หลวงพอ่ โสธร\" • พระพทุ ธรปู องค์ที่ 2 ลอยไปตามแมน่ ้านครชยั ศรี (ท่าจีน) ขึ้นสถิตที่วัดไร่ขิงเมืองนครชยั ศรี เรียกกนั ว่า \"หลวงพอ่ วัดไร่ขิง\" • พระพทุ ธรปู องค์ที่ 3 ลอยไปตามแมน่ ้าเจ้าพระยาขนึ้ สถิต ที่วัดบางพลี เรียกกนั ว่า \"หลวงพอ่ วดั บางพลี\" แต่บาง ตานานก็วา่ หลวงพอ่ วัดบางพลีเป็นองค์แรกในจานวน 5 องค์ จึงเรียกวา่ \"หลวงพอ่ โตวัดบางพลี “ • พระพทุ ธรปู องค์ที่ 4 ลอยไปตามแมน่ ้าแมก่ ลอง ขึ้นสถิต ทีว่ ัดบ้านแหลม เมอื งแมก่ ลอง เรียกว่า \"หลวงพอ่ วดั บ้าน แหลม\" • พระพทุ ธรูปองค์ที่ 5 ลอยไปตามแมน่ ้าเพชรบรุ ี ขึ้นสถิตที่ วดั เขาตะเคราเมอื งเพชรบรุ ี เรียกว่า \"หลวงพอ่ วัดเขาตะ เครา\"

ส่วนตานานของเมอื งนครปฐมน้ันเล่าวา่ มีพระ 3 องค์ ลอยน้า มาพร้อมกัน และแสดงปาฏิหาริย์จะเข้าไปยังบ้านศรีมหาโพธ์ิ ซึ่งมีต้นโพธ์ิใหญ่อยู่ จึงได้เรียกตาบลน้ันว่า \"บางพระ\" พระพุทธรูป 3 องค์ลอยไปจนถึงปากน้าท่าจีนแล้วกลับลอย ทวนน้าขึ้นมาใหม่ จึงเรียกตาบลนั้นว่า \"สามประทวน\" หรือ \"สัมปทวน\" แต่เนอื่ งจากตาบลทีช่ าวบ้านพากันไปชกั พระขนึ้ ฝั่ง เพ่ือขึ้นประดิษฐาน ณ หมู่บ้านของตน แต่ทาไม่สาเร็จ ต้อง เปียกฝนและตากแดดตากลมจึงได้ชื่อว่า \"บ้านลานตากฟ้า\" และ \"บ้านตากแดด\" ในที่สุดพระพุทธรูปองค์แรกจึงยอมสถิต ณ วัดไร่ขิงเรียกกันว่า \"หลวงพ่อวัดไร่ขิง\" ส่วนองค์ที่ 2 ลอย น้าไปแล้วสถิตขึ้นที่วัดบ้านแหลมจังหวัดสมุทรสงคราม เรียกวา่ \"หลวงพ่อวดั บ้านแหลม\" และองค์ที่ 3 ลอยตามน้าไป ตามจังหวัดเพชรบุรี แล้วขึ้นสถิตที่วัดเขาตะเครา เรียกว่า \"หลวงพอ่ วัดเขาตะเครา\"

การเดินทางเข้าวดั ไร่ขิง • รถโดยสารประจาทาง สาย 84 (ยโู ร 2) วดั ไร่ขิง - คลองสาน (สถานีรถไฟฟ้ า BTS วงเวียนใหญ่) • รถโดยสารประจาทาง สาย 556 (ยโู ร 2) วดั ไร่ขิง - สถานี รถไฟฟ้ า แอร์พอร์ตลงิ ก์ มกั กะสนั • รถโดยสารประจาทาง จากสถานีขนสง่ สายใต้ สายเกา่ กรุงเทพฯ-นครปฐม กรุงเทพฯ-ราชบรุ ี กรุงเทพฯ-บางลี่ กรุงเทพฯ-สพุ รรณบรุ ี ลงปากทางเข้าวดั ไร่ขิง แล้วต่อรถ โดยสารประจาทางเข้าไปยงั วดั ไร่ขิง • รถต้จู ากเซน็ ทรัลปิ่นเกล้า สาย ป่ินเกล้า - ไร่ขิง

ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี”อาเภอสามพราน จ.นครปฐม

บรรณานกุ รม สารานกุ รมเสรี. (2563).วดั ไร่ขิง พระอารามหลวง.สืบค้น 21 พฤษภาคม 2563, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ วัดไร่ขิง.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook