Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กศน.สีขาว โตไปไม่โกง

กศน.สีขาว โตไปไม่โกง

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2021-03-12 06:22:58

Description: กศน.สีขาว โตไปไม่โกง

Search

Read the Text Version

กศน.สขี าว โตไปไม่โกง \"รู้รักษาความดี มจี ติ สาธารณะ เอาชนะคอร์รปั ชนั \" 034 325135 หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอสามพราน

กศน.สีขาวโตไปไม่โกง การปลูกฝังการไม่โกงควรเริ่มปลูกฝังตั้งแต่เด็ก ให้ความรู้ใน เร่ืองท่ีถูกท่ีผิด ที่ควรทาหรือไม่ควรทา มีการยกตัวอย่าง พฤติกรรมของการทาผิดโกง หรือ ทุจริตคอร์รัปชัน พร้อมสอดแทรกแนวคิดไปด้วย ที่สาคัญคนในครอบครัว พ่อแม่ ถือเป็น บุคคลสาคัญที่จะเป็นตัวอย่างของลูกของเด็ก และพ่อแม่ยังเป็นแหล่งท่ีปลูกฝังสาคัญของ เด็กอีกด้วย ประการแรก การจะปลูกฝังให้ลูกไม่โกงสามารถทาได้ตั้งแต่เล็ก อย่าคิดว่าลูกเล็กยังไม่ เข้าใจ รอให้ลกู โตก่อน เป็นความเข้าใจทผ่ี ดิ เพราะเมื่อรอให้ลูกโตแล้ว การแก้ปัญหาย่อมยากกว่าการปลูกฝัง พอเข้าส่รู ว้ั โรงเรียน ลูกเริ่มมีสังคม การสอนเร่ืองนต้ี ้องละเอยี ด ใสใ่ จและสงั เกตมากขึ้น ยกตัวอย่าง พ่อ แม่ให้ดินสอลูกไปโรงเรียน 3 แท่ง แต่ลูกกลับบ้านมีดินสอมา 5 แท่ง พ่อแม่ส่วนใหญ่ไม่ได้สนใจเพราะ ลูกยงั เลก็ บางคนสนใจ และบอกใหล้ ูกเอาไปคืนเพื่อน แต่ไมไ่ ด้ ตดิ ตามผล ก็อาจทาให้เด็กเข้าใจเอาเอง ว่าเป็นเร่ืองที่สามารถทาได้ แท้จริงพ่อแม่ต้องไม่ปล่อยผ่าน จะต้องพูดคุยกับลูกว่าดินสอที่เพ่ิมขึ้นมา สองแท่งมาจากไหน แล้วบอกให้ลูกเอาไปคืน พรอ้ มท้งั ติดตามผลว่าลูกเอาไปคืนเพื่อนหรือไม่ จากน้ันก็ พูดคุย ว่าถ้าเป็นของท่ีลูกรักหายไป มีคนเอาไปลูกจะรู้สึกอย่างไร พ่อแม่สามารถสอนจากเร่ืองราวใน ชวี ติ ประจาวัน ที่สาคัญอย่าคิดวา่ น่ีเป็นเพยี งเรื่องเล็ก ๆ เพราะส่วนใหญ่เด็กท่ีโกง จะเร่ิมจากโกงเล็ก ๆ กอ่ น แล้วจากนน้ั ถงึ จะโกงเร่ืองทใ่ี หญ่ขึ้น

ประการที่สอง สอนให้ลูกละอายแก่ใจถ้าทาสิ่งไม่ดี เร่ืองน้ีเป็นเรื่องท่ีพ่อแม่ต้องใส่ใจ และ ตอ้ งฝกึ ฝนอย่างสมา่ เสมอ เพราะเป็นเรื่องการสร้างจิตสานึกเป็นเรื่องที่ต้องอยู่ด้านในของจิตใจที่ จะต้องสอนลกู ต้งั แตเ่ ล็กไมว่ ่าจะมคี นเห็นหรอื ไมแ่ ต่ถ้าเป็นส่ิงท่ไี มด่ ีกจ็ ะไมท่ า ประการท่ีสาม ต้องไม่ให้ค่ากับคนโกง เพราะสังคมยุคนี้ให้ความสาคัญและยกย่องคนเก่ง คนรวย โดยไม่ไดส้ นใจว่าคนเก่ง หรอื คนรวยเหลา่ นั้นใช้ด้วยวิธีใดถึงรวยหรือเก่ง เช่น เด็กในกลุ่ม เดียวกัน เมือ่ เห็นเพื่อนโกงสิง่ ใดสง่ิ หน่ึงแลว้ ไม่มีคนจับไดก้ ็จะชื่นชมว่าเพอื่ นคนนี้เจ๋งมากทาแบบนี้ ไม่มใี ครจับได้ กลายเปน็ สง่ิ ทีไ่ ด้รบั ความชืน่ ชมไปท้ังท่ใี นความเป็นจริงควรจะสอนให้เขาแอนตี้คน ทที่ าสง่ิ ไมด่ ี หรอื ไปลิดรอนสิทธิของผอู้ ่นื ประการสดุ ท้าย พอ่ แม่ตอ้ งเปน็ แบบอยา่ งพ่อแม่ตอ้ งไมโ่ กง เพราะถ้าพ่อแม่โกงลูกก็จะได้รับ แบบอย่างจากพ่อแม่โดยตรงต่อให้พร่าสอนอย่างไรก็ไม่เป็นผล เพราะพ่อแม่ทาเป็นตัวอย่างอยู่ ทุกวี่วัน หรือทาให้ลูกเห็นเองอีกต่างหาก เช่น อยากให้ลูกสอบเข้าโรงเรียนใดโรงเรียนหนึ่งให้ได้ กพ็ ยายามทาทุกวิถีทางใหล้ ูกเข้าใหไ้ ด้ โดยไม่สนใจวธิ ีการ

1. ความซ่ือสัตย์สุจริต (Honesty) ความหมาย ความซื่อสตั ย์สุจริต คือ การยึดมน่ั ใน ความสตั ย์จริงและในสงิ่ ท่ีถกู ต้องดีงามมีความซื่อตรง และมีเจตนาที่บริสทุ ธ์ิปฏิบตั ติ อ่ ตนเองและ ผ้อู นื่ โดยชอบไมค่ ดโกง การนาไปใช้ พูดความจริง ไม่ลักขโมยทาตัวเป็นที่น่าเชื่อถือทาตามสัญญาตรงไปตรงมา กลา้ เปดิ เผยความจริงรู้จักแยกแยะประโยชน์สว่ นตวั และประโยชน์สว่ นรวม แนวคิด การดาเนนิ ชวี ติ ในสงั คมน้นั ความซ่ือสัตย์สุจริตเป็นเรื่องท่ีสาคัญและจาเป็นไม่ว่าจะ ซื่อสัตย์ต่อตนเองหรือผู้อื่น ดังน้ันการที่เราจะมีความซ่ือสัตย์สุจริตน้ันเราจะต้องปลูกฝังและสร้าง จิตสานึกเกี่ยวกับความซื่อสัตย์สุจริตอย่างถูกต้อง และให้เห็นโทษของการไม่ซ่ือสัตย์สุจริตว่าจะ ส่งผลต่อตนเองและสังคมอยา่ งไรบ้าง

2. การมีจิตสาธารณะ (Service Mind) ความหมาย การมีจิตสาธารณะ คือ การมี จิตสานกึ เพ่ือสว่ นรวมมคี วามตระหนกั รู้และคานงึ ถึงสงั คมสว่ นรวมมีความรับผิดชอบตอ่ ตวั เอง ในการกระทาใด ๆ เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบเสียหายต่อส่วนรวม และพร้ อมที่จะเสียส ละ ประโยชน์สว่ นตนเพ่ือรักษาผลประโยชน์ของสว่ นรวม การนาไปใช้ ร่วมดูแลสังคม รับผิดชอบส่วนรวม เสียสละเพ่ือส่วนรวม เอื้อเฟื้อ เมตตา มนี ้าใจ ไม่เหน็ แก่ตวั แนวคิด การอยู่ร่วมกันของสมาชิกในสังคมหนึ่งน้ันต้องอาศัยความเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ความ เขา้ ใจซ่ึงกันและกนั รวมทัง้ การทสี่ มาชิกในสังคมคดิ และทาเพอ่ื ส่วนรวมรู้จกั การให้เพ่ือสังคมไม่เห็น แกป่ ระโยชนส์ ว่ นตนเป็นใหญ่ และพรอ้ มทจ่ี ะเสียสละหรือชว่ ยปกปอ้ งผลประโยชน์ของส่วนรวม

3. ความเป็นธรรมทางสังคม (Fairness and Justice) ความหมาย ความเป็นธรรมทาง สงั คม คอื การปฏบิ ัติต่อผอู้ นื่ อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน และอย่างมีเหตุผลโดยไม่เลือกปฏิบัติ ต่อ เพศ เช้ือชาติ ชนชัน้ สถานะทางเศรษฐกจิ และสังคม การนาไปใช้ นึกถึงใจเขาใจเราไมเ่ อาเปรยี บผอู้ ่ืนรบั ฟังผู้อื่นเคารพให้เกียรติผู้อื่นกตัญญูอย่างมี เหตผุ ลคานงึ ถงึ ความยตุ ธิ รรมโดยตลอด แนวคิด ทุกคนควรได้รับความเป็นธรรมอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันไม่ว่าจะแตกต่างกัน ด้วยเชอ้ื ชาติ ศาสนา ภูมกิ าเนิด ฐานะ หรือการศึกษา รวมทั้งตอ้ งไมล่ ะเมิดสิทธิของผู้อื่นด้วย ดังนั้น การให้ความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่นการไม่เอาเปรียบผู้อื่น และการเข้าใจสิทธิ และหน้าทขี่ องตนเองจะชว่ ยใหร้ กั ษาความเป็นธรรมในสงั คมได้มากข้นึ

4. กระทาอย่างรับผิดชอบ (Responsibility and Accountability) ความหมายการ กระทาอย่างรับผิดชอบ คือ การมีจิตสานึกในบทบาทและหน้าที่ของตัวเองและปฏิบัติหน้าที่ให้ดี ที่สุดเคารพกฎเกณฑก์ ตกิ าพร้อมใหต้ รวจสอบการกระทาได้เสมอหากมีการกระทาผิดก็พร้อมท่ีจะ ยอมรบั และแก้ไขในสิ่งที่ผิด การนาไปใช้ ทาหน้าท่ีของตัวเองให้ดีท่ีสุด มีระเบียบวินัยเคารพกติการับผิดชอบในสิ่งที่ทา กลา้ ยอมรบั ผดิ และรบั การลงโทษรูจ้ กั สานึกผดิ และขอโทษแก้ไขในส่งิ ผดิ กลา้ ทาในสิง่ ทถ่ี กู ตอ้ ง แนวคิด ในทุกสังคมประกอบด้วยสมาชิกหรือบุคคลที่แตกต่างหลากหลายตามบทบาทและ หน้าที่ต่าง ๆ ท่ีเหมือนกันบ้างและตา่ งกันบ้างตงั้ แตเ่ ป็นสมาชิกของครอบครัว สมาชิกของโรงเรียน สมาชิกของท่ีทางาน และสมาชิกของสังคม ดังนั้น การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขเข้าใจซ่ึงกันและกัน ไม่ละเมิดผู้อ่ืน และพร้อมยอมรับในการกระทาของตนเองนั้น สมาชิกทุกคนจะต้องเข้าใจความ รบั ผดิ ชอบในบทบาทและหนา้ ทีข่ องตนเองและบุคคลต่าง ๆ รวมทั้งการปฏิบัติหน้าท่ีต่าง ๆ อย่าง มคี วามรับผิดชอบ พร้อมทจ่ี ะใหม้ กี ารตรวจสอบได้ มคี วามเคารพตอ่ กฎเกณฑก์ ตกิ าอย่างมวี นิ ยั

5. เป็นอยู่อย่างพอเพียง ( Live sufficiently ) ความหมาย เป็นอยู่อย่างพอเพียงคือ การดาเนินชีวิตโดยยดึ หลกั ความพอประมาณซอื่ ตรงไม่ละโมภโลภมากรู้จักยับย้ังชั่งใจ และต้อง ไม่เอาเปรียบหรือเบยี ดเบยี นทง้ั ตัวเองและผู้อ่ืน การนาไปใช้ ร้จู กั ความเพียงพอ ความพอดี มีความอดทนอดกล้ันรู้จักบังคับตัวเองไม่กลัว ความยากลาบากไมท่ าอะไรแบบสดุ ขัว้ หรือสุดโตง่ มสี ติและเหตผุ ล แนวคิด การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน ถือว่าเป็นแบบอย่างท่ีดีที่ ควรถอื ปฏบิ ตั กิ ารรจู้ ักความพอดพี อประมาณในการใชช้ วี ิตการรู้สึกพอใจในสิ่งท่ีตนเองมีอยู่การ รปู้ ระหยัดและร้คู ณุ คา่ สง่ิ ของเปน็ เรื่องสาคญั ในการสร้างนิสัยท่ีเป็นอยู่อย่างพอเพียงจะไม่ทาให้ เกดิ การดิน้ รนแบบเหน็ แกต่ ัวและขาดสตไิ มเ่ อาเปรียบผอู้ ื่นและสงั คมในภาพรวมดว้ ย

บรรณานกุ รม Growinggood (2564). โครงการ “โตไปไมโ่ กง”. สืบคน้ 4 มีนาคม 2564, จาก http://growinggood.org/project/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook