Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันปิยมหาราช

วันปิยมหาราช

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2020-10-17 13:47:17

Description: วันปิยมหาราช

Search

Read the Text Version

ประวัติของวันปยมหาราช วั น ท่ี 2 3 ตุ ล า ค ม เ ป น วั น ค ล า ย วั น ส ว ร ร ค ต ข อ ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 โดยพระองคท รงมีพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ ตอประเทศไทย หลายดาน และส่ิงท่ีโดดเดนคือ การประกาศเลิกทาส เปนการหยุดวงจรการเปนทาส เพราะเม่ือสมัยกอนหากพอแม เปนทาส ลูกท่ีเกิดมาก็ตองเปนทาสตอไปเร่ือย ๆ ทางราชการ จงึ ไดประกาศใหว ันท่ี 23 ตุลาคมของทุกปเปนหนึ่งในวันระลึกถึง ความสาํ คญั ของเหตุการณในชาติ โดยเรยี กวา “วันปยมหาราช”

ความสําคญั วันปยมหาราช เปนวันสวรรคต ของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 ในทุก ๆ ปหนวยงาน ราชการจะมีการวางพวงมาลาดอกไม ที่พระบรมรูปทรงมาอยาง พรอมเพรียง เพื่อรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จ พระจุลจอมเกลา เจาอยหู วั

การเลิกไพร เลกิ ทาส แตดั้งเดิมน้ันประเทศไทยของเรา มีพลเมืองท่ีเปนชน ช้ันทาสมากกวา 30% ของพลเมืองทั้งประเทศ เนื่องจากการ ไดรับวรรณะทาสน้ันจะถูกสืบจากสายเลือด หากพอแมเปนทาส ลูกก็จะเปน ทาสดวย โดยทาสนั้นแบงออกเปน 7 ประเภทใหญๆ 1. ทาสสินไถ เกิดจากการขายตัวเปนทาส ทาสประเภทนี้ มักยากจน 2. ทาสในเรือนเบี้ย เกิดจากการท่ีแมเปนทาส พอเปน นายทาส 3. ทาสมรดก เกิดจากการสงตอมรดกของนายทาส ที่เสยี ชีวติ ลง สงใหนายทาสคนตอ ไป 4. ทาสทา นให ทาสทไี่ ดรับมาจากผูอนื่ 5. ท า ส ทั ณ ฑ โ ท ษ ก ร ณี ท่ี บุ ค ค ล นั้ น ถู ก ล ง โ ท ษ แตไมสามารถหาเงินมาชดใชไดหมด ถาหากมีนายทาสมา ชวยเหลอื ถอื วา บุคคลนั้นกลายเปนทาสของนายทาสคนนัน้

6. ทาสท่ีชวยไวจากความอดอยาก คือการขายตนเอง ใหน ายทาส เพ่อื หลีกหนจี ากความอดอยากท่เี ผชญิ อยู 7. ทาสเชลย เกิดจากการที่ประเทศหรือพลเมืองน้ันๆ แพสงคราม จึงถูกผูชนะสงครามนําคนเหลา นั้นไปเปนทาสรับใช

การ จะห ลุด ออก จาก กา รเ ป นทา ส นั้ น มี 6 วิธี 1. การหาเงนิ มาไถถ อนตนเอง 2. การบวชท่ีตอ งไดรับการยินยอมจากนายทาส 3. การหลบหนีจากการเปนเชลยในสงคราม 4. การแตงงานกบั ชนชั้นสูงกวา 5. การแจงความนายจางวาเปนกบฏ และตรวจสอบวา เปนจริง 6. การประกาศจากรชั กาลที่ 5 ใหมกี ารเลิกทาส

สมเดจ็ พระปยมหาราช (รชั กาลที่ ๕) ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ย ม ห า ร า ช ห รื อ พ ร ะ น า ม เ ต็ ม ว า พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า จุ ฬ า ล ง ก ร ณ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล า เ จ า อ ยู หั ว ท ร ง เ ป น พ ร ะ ร า ช โ อ ร ส ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ และสมเด็จพระเทพศิรินทรา บรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 พระนาม เดิมวา “สมเด็จเจาฟาชายจุฬาลงกรณ” เม่ือพระชนม 9 พรรษา ไดรับสถาปนาเปนกรมหม่ืนพิฆเนศวรสุรสังกาศ ตอมาอีก 4 ป ไดเล่ือนเปน “กรมขุนพินิตประชานาถ” บรมราชาภิเษกคร้ังแรก เมื่อวันท่ี 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 และเสด็จสวรรคต เม่ือวันอาทิตย เดือน 11 แรม 4 คํ่า ปจอ ตรงกับวันที่ 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 ดว ยโรคพระวักกะ

บรมราชาภเิ ษก บรมราชาภิเษกครง้ั ที่ 1 วันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัวเสด็จสวรรคตภายหลังเสด็จออกทอดพระเนตร สุริยปุ ราคา 18 สงิ หาคม พ.ศ. 2411 โดยกอนท่ีพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัวจะสวรรคตน้ัน ไดมีพระราชหัตถเลขาไว วา \"พระราชดําริทรงเห็นวา เจานายซ่ึงจะสืบพระราชวงศตอไป ภายหนา พระเจานองยาเธอก็ได พระเจาลูกยาเธอก็ได พระเจา หลานเธอก็ได ใหทานผูหลักผูใหญปรึกษากันจงพรอม สุดแลวแต จะเหน็ ดีพรอ มกันเถดิ ทา นผใู ดมปี รชี าควรจะรักษาแผนดินไดก็ให เลือกดูตามสมควร\" ดังนั้น เม่ือพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูห วั เสดจ็ สวรรคต จึงไดม ีการประชุมปรกึ ษา เรื่องการถวาย สิริราชสมบัติแดพระเจาแผนดินพระองคใหม ซึ่งในท่ีประชุมนั้น ประกอบดวยพระบรมวงศานุวงศ ขาราชการช้ันผูใหญ และ พระสงฆ โดยพระเจานองยาเธอ กรมหลวงเทเวศรวัชรินทร ไดเสนอสมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาจุฬาลงกรณ กรมขุนพินิต ประชานาถพระราชโอรสพระองคใหญในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา เจา อยูหัวขน้ึ เปน พระเจาแผน ดนิ ซงึ่ ท่ปี ระชุมน้นั

มีความเห็นพองเปนเอกฉันท ดังนั้น พระองคจึงไดรับการทูลเชิญ ใหข ึน้ ครองราชยส มบตั ิตอจากสมเด็จพระราชบดิ า โดยในขณะนั้น มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษา ดังน้ัน จึงไดแตงต้ังสมเด็จ เจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) เปนผูสําเร็จ ราชการแทนพระองค จนกวาพระองคจะมีพระชนมพรรษาครบ 20 พรรษา โดยทรงประกอบ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกคร้ัง แรก เมื่อวันท่ี 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 โดยไดรับการเฉลิม พระปรมาภิไธยวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณฯ พระจุฬาลงกรณเกลา เจา อยูหวั

ผนวชและบรมราชาภเิ ษกครง้ั ท่ี 2 เม่ือพระองคมีพระชนมายุครบ 20 พรรษาแลว เม่ือวันท่ี 15 กันยายน พ.ศ. 2416 จึงผนวชเปนพระภิกษุ ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม แลวเสด็จไปประทับ ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เปนเวลา 15 วัน หลังจากทรงลาสิกขาแลว ไดมีการจัดพระราช พิธีบรมราชาภิเษกครั้งท่ี 2 ข้ึน เม่ือวันท่ี 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2 4 1 6 โ ด ย ไ ด รั บ ก า ร เ ฉ ลิ ม พ ร ะ ป ร ม า ภิ ไ ธ ย ในคร้ังนี้วา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณฯ พระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว

พระราชกรณยี กจิ สาํ คญั ก า ร เ ลิ ก ท า ส อ อ ก พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ เ ลิ ก ท า ส ที่แทจริงข้ึน เรียกวา “พระราชบัญญัติทาส ร.ศ.124” (พ.ศ.2448) เลิกเร่ืองลูกทาส ในเรือนเบี้ยอยางเด็ดขาด เด็กท่ี เกิดจากทาส ไมเปนทาสอีกตอไป การซื้อขายทาสเปนโทษ ทางอาญา สวนผทู ่ีเปน ทาสอยแู ลว ใหนายเงนิ ลดคา ตัวใหเดือนละ 4 บาท จนกวา จะหมด การปฏิรูประเบียบบริหารราชการ ไดทรงปรับปรุงหนาท่ี ของกรมตาง ๆ ที่มีอยูแตเดิมใหเปนระเบียบเรียบรอยโดยรวม กรมตาง ๆ ท่ีมีอยูมากมายเวลาน้ันเขาเปนกระทรวง กระทรวงหนึ่ง ๆ ก็มีหนาที่อยางหนึ่ง หรือหลายอยางพอ เหมาะสม การศึกษา ทรงโปรดใหจัดต้ังโรงเรียนหลวงขึ้นใน พ ร ะ บ ร ม ม ห า ร า ช วั ง แ ล ว มี ห ม า ย ป ร ะ ก า ศ ชั ก ช ว น พ ร ะ บ ร ม ว ง ศ า นุ ว ง ศ แ ล ะ ข า ร า ช ก า ร ใ ห ส ง บุ ต ร ห ล า น เขา เรียน โรงเรียนภาษาไทยน้ี การศาล ทรงตั้งกระทรวงยุติธรรมข้ึน เพื่อรวบรวมศาลตาง ๆ ใหมาขน้ึ อยใู นกระทรวงเดียวกัน

การคมนาคม ไดโปรดเกลาฯ ใหขยายถนนบํารุงเมือง ถนนท่ีทรงสรางใหม คือ ถนนเยาวราช ถนนราชดําเนินกลาง ถนนราชดําเนินนอก ถนนดินสอ ถนนบูรพา ถนนอุณากรรณ เปน ตน การสุขาภิบาล ไดทรงต้ังกรรมการข้ึนคณะหนึ่ง เพ่ือดูแล จัดตง้ั โรงพยาบาลข้นึ หลายแหง เชน ศริ ริ าชพยาบาล โรงพยาบาล บางรกั โรงพยาบาลโรคจติ และโรงเล้ียงเดก็ การสงครามและการเสียดินแดน ทานทรงควบคุมการเสีย ดินแดนของไทย หากหลีกเล่ียงไมได ก็พยายามทําใหไดประโยชน จากการเสยี ดนิ แดนใหม ากทสี่ ดุ การเสด็จประพาส ระหวางที่ยังมีผูสําเร็จราชการแทน พระองค ก็ไดเสด็จประพาสตางประเทศหลายที่ เพื่อดูแบบอยาง การปกครอง และนาํ มาแกไขดัดแปลงใชในประเทศของเรา การศาสนา ทรงเปนองคศาสนูปถัมภกโดยแทจริง ในดา นพระพุทธศาสนา การวรรณคดี ทรงเปนนักประพันธ ซ่ึงมีความชํานาญ ทั้งทางรอยแกวและรอยกรอง เชน ไกลบาน ลิลิตนิทราชาคริต เงาะปา พระราชพธิ ีสิบสองเดือน เปน ตน

พระบรมรปู ทรงมา ต้ังอยูท่ีลานพระบรมรูปทรงมา สรางข้ึนในสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยบริษัทซุซ เซอรเฟรส ฟองเดอร สรางเสร็จ เมื่อวันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2451 รูปมีขนาดโตเทาพระองคจริง ประทับอยูบนหลังมา พระท่ีน่ัง หลอดวยโลหะทองบรอนซ เปนรูปมายืน สูง 6 เมตร กวา ง 2.5 เมตร และยาว 5 เมตร ในปจจุบันมีประชาชนมากมายเขาไปสักการบูชา ซ่ึงดอกไม ท่ีประชาชนนิยมไปถวายคือดอกกุหลาบสีชมพู เนื่องจากเปน สีเดียวกันวันพระราชสมภพของพระองค (วันอังคาร) ท่ีงดงาม และหนามแหลมคมเปรียบเสมือนอํานาจของพระองค เชื่อวา หากบูชาแลว จะทาํ ใหผบู ชู ามอี าํ นาจมากขน้ึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook