โครงการ ส่งเสริมองคก์ รสขุ ภาวะภาคเอกชน เพ่อื ขับเคล่ือนสอู่ งค์กรคุณธรรม แนวทางส่งเสริมองคก์ รคุณธรรม นี้ จัดท�ำขน้ึ เพ่อื 1. ให้ผู้ปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมองค์กรคุณธรรม เข้าใจในเจตนารมณ์ หลกั คดิ กระบวนการ และวธิ ีในการสง่ เสรมิ และพัฒนาองค์กรคุณธรรม ตามแนวทางของโครงการท่ีถูกต้อง และเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั 2. ให้องค์กรส่งเสริมคุณธรรมรู้และเข้าใจ สามารถ ปฏบิ ัตติ ามหลักเกณฑ์ ขั้นตอนการด�ำเนินงานว่าดว้ ยการส่งเสรมิ องค์กรคุณธรรมท่ีเก่ียวข้องกับตนเองได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสทิ ธภิ าพ 3. เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบการปฏิบัติงาน ร่วมกัน ท้ังนี้ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการสนับสนุนการ ด�ำเนินงาน การติดตาม และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร รวมถึง รายงานความก้าวหน้าตอ่ ไป
ในการน้ี ให้ผู้ปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมองค์กร คุณธรรมได้ค�ำนึงถึงบริบทและสภาพแวดล้อมบางประการ ที่จ�ำเป็นต้องมีการจัดปรับและปรับปรุงวิธีการด�ำเนินการ ไดต้ ามความเหมาะสม ไปในแต่ละกลุม่ เปา้ หมาย หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมองค์กรคุณธรรม และองค์กร ท่ีเข้าร่วมโครงการ รวมถึงภาคีเครือข่ายท่ีเก่ียวข้องในการ ด�ำเนนิ งานเพ่ือการสง่ เสริมองคก์ รคณุ ธรรมตอ่ ไป
สารบัญ หนา้ ส่วนท่ี 1 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนานโยบายท่เี กยี่ วข้อง...............................1 กบั การพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1. ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)................... 5 2. แผนการปฏิรูปประเทศ............................................................................... 8 3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ..................................... 10 ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 4. แผนแม่บทสง่ เสรมิ คุณธรรมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 ....................... 14 (พ.ศ. 2559 – 2564) 5. ยุทธศาสตร์ชาติวา่ ดว้ ยการป้องกันและปราบปราม................ 16 การทจุ รติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) สว่ นท่ี 2 ความรูเ้ กีย่ วกับองค์กรคุณธรรม ................................................... 19 1. ความสำ� คัญในการส่งเสรมิ และพฒั นา............................................ 22 องค์กรคุณธรรม 2. ความหมายขององคก์ รคณุ ธรรม........................................................ 26 3. เป้าหมายการพฒั นาองคก์ รคุณธรรม ............................................ 28 4. หลักการสง่ เสรมิ องคก์ รคุณธรรม ..................................................... 30 5. ประเภทองคก์ รคุณธรรม ...................................................................... 32 6. ท่ีมาขององคก์ รคุณธรรม ...................................................................... 34
สารบญั หน้า 7. เกณฑ์ในการพจิ ารณาเพอื่ การส่งเสริม ......................................... 40 8. คณุ ธรรมสำ� คญั ที่เหมาะสมกับสงั คมไทย ................................... 44 9. ระดบั การพัฒนาองค์กรคุณธรรม .................................................... 48 10. กระบวนการพัฒนาองค์กรคุณธรรม .............................................. 56 11. บทบาทขององค์กรภายนอก .............................................................. 67 12. ประโยชนท์ ่ีเกิดจากการเป็นองคก์ รคณุ ธรรม ............................ 69 13. ตัวอย่างองคก์ รคุณธรรม ....................................................................... 74 ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์ และวธิ ีการในการวดั ................................................ 99 การเปน็ องค์กรคณุ ธรรม 1. หลักเกณฑ์และตัวชว้ี ัดเพ่อื การส่งเสรมิ ..................................... 101 และคัดเลือกองค์กรคณุ ธรรมตามแนวทาง ของคณะกรรมการสง่ เสริมคณุ ธรรมแหง่ ชาติ 2. แบบฟอรม์ แสดงเจตนารมณ์การเป็น ......................................... 105 องคก์ รสง่ เสริมคุณธรรม 3. แบบฟอร์มการจัดเกบ็ ขอ้ มูล ............................................................ 106 องค์กรคุณธรรม
1ส่วนท่ี ยทุ ธศาสตร์การพฒั นา นโยบายท่เี กี่ยวข้อง กบั การพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม แนวทางการสง่ เสรมิ องค์กรคณุ ธรรม 1 พอเพยี ง วินัย สจุ รติ จติ อาสา รบั ผิดชอบ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา นโยบายท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การพัฒนา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1 ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) 2 แผนการปฏิรปู ประเทศ 3 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 4 แผนแม่บทสง่ เสริมคุณธรรมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ. 2559 – 2564) 5 ยุทธศาสตรช์ าตวิ ่าดว้ ยการปอ้ งกัน และปราบปรามการทจุ ริตระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) 2 แนวทางการส่งเสริมองค์กรคุณธรรม พอเพยี ง วินยั สุจริต จติ อาสา รับผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามทจุ รติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ แนวทางการสง่ เสริมองค์กรคุณธรรม พอเพียง วนิ ยั สจุ ริต จิตอาสา รับผดิ ชอบ 3
ภาพรวม ความสอดคล้องการขับเคลื่อน งานสง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม โครงการส่งเสริมองค์กรสุขภาวะภาคเอกชนเพื่อขับเคลื่อนสู่ องค์กรคุณธรรม เป็นโครงการความร่วมมือที่อยู่ภายใต้บทบาทและภารกิจ ศูนย์คุณธรรม ร่วมกับ สสส. และมูลนิธิหัวใจอาสา ได้ด�ำเนินการเพ่ือ ขับเคลื่อนงานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมที่มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และแผนระดับชาติด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ในสังคมไทย ดงั นี้ 4 แนวทางการสง่ เสริมองค์กรคณุ ธรรม พอเพียง วนิ ัย สุจรติ จิตอาสา รับผิดชอบ
1 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) วิสยั ทัศน์ประเทศไทย “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” แนวทางการสง่ เสริมองคก์ รคณุ ธรรม 5 พอเพียง วินยั สจุ รติ จติ อาสา รับผิดชอบ
ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการพฒั นา และเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ โดยเฉพาะการดำ� เนนิ งานในระยะ 5 ปแี รก (พ.ศ. 2560 – 2564) ในประเด็นที่ 1) การปรับเปล่ียนค่านิยมและ วฒั นธรรม (Transformation of Culture) มุง่ เน้นให้ สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยมวัฒนธรรมท่ี พึงประสงค์ โดยบูรณาการร่วมระหว่าง “ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา ธุรกิจเอกชนและสื่อ” ในการหล่อหลอมคนไทยให้มีคุณธรรมจริยธรรม ในลักษณะที่เป็นวิถีการด�ำเนินชีวิต ได้แก่ การปลูกฝัง ค่านิยมและวัฒนธรรมผ่านการเล้ียงดูในครอบครัว, การปลกู ฝงั คา่ นยิ มและวฒั นธรรมโดยใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน, การสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมท่ีพึงประสงค์จาก ภาคธุรกิจ, การใช้สื่อและส่ือสารมวลชนในการปลูกฝัง ค่านิยมและวัฒนธรรมของคนในสังคม, การส่งเสริม ให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อ ส่วนรวม และประเด็นที่ 2) การพัฒนาศักยภาพคน ตลอดช่วงชวี ติ ในช่วงวัยเรยี น/วัยรนุ่ /นกั ศึกษา ปลกู ฝัง ความเป็นคนดี มีวินัย พัฒนาทักษะความสามารถ การเรยี นร้ทู ี่สอดรับกบั ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 6 แนวทางการสง่ เสรมิ องคก์ รคุณธรรม พอเพียง วนิ ยั สุจรติ จติ อาสา รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านความม่นั คง ประเดน็ ที่ 1 การรกั ษาความสงบภายในประเทศ โดยการพัฒนาและเสริมสร้างคนในทุกภาคส่วน ให้มีความพร้อม มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาฯ ปลูกจิตส�ำนึกและคุณสมบัติพื้นฐานคนไทยที่ดี และการเหน็ แกป่ ระโยชนข์ องประเทศชาตมิ ากกวา่ ประโยชน์สว่ นตน แนวทางการสง่ เสรมิ องค์กรคณุ ธรรม 7 พอเพยี ง วนิ ยั สุจรติ จติ อาสา รบั ผิดชอบ
2 แผนการปฏิรูปประเทศ การปฏริ ปู ประเทศด้านการเมือง ประเด็นท่ี 5 การสร้างรัฐธรรมาธิปไตย โดยการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และการปฏิบัติ หนา้ ทโ่ี ดยปราศจากการขดั กนั ของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมือง และการส่งเสริม สนับสนุน และ เสริมสร้างธรรมาธิปไตยให้แก่ผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ทางการเมอื ง 8 แนวทางการส่งเสริมองคก์ รคณุ ธรรม พอเพียง วนิ ัย สุจรติ จติ อาสา รบั ผิดชอบ
การปฏิรูปประเทศดา้ นการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ ใน 2 ประเดน็ คือ ประเดน็ ท่ี 1 ด้านการป้องกนั และเฝ้าระวัง กลยุทธ์ท่ี 1 เร่งสร้างการรับรู้และ จิตส�ำนึกของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต ประพฤตมิ ชิ อบ โดยความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม โดยมีกจิ กรรม คือ ปลูกฝงั “จิตพอเพียง” เพ่อื ต่อตา้ นการทุจริต และประพฤติมิชอบ และประเด็นที่ 2 ด้านการ ป้องปราม กลยุทธ์ที่ 2 ให้หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หรือ ผู้บังคับบัญชา มมี าตรการ เสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมองคก์ ร ในการปอ้ งกนั และปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ และเปน็ ตวั อยา่ งในการบรหิ ารงานดว้ ยความซอื่ ตรง และรบั ผดิ ชอบ กรณปี ลอ่ ยปละละเลยไมด่ ำ� เนนิ การ ให้ถือเป็นความผิดวินัย หรือ ความผิดทางอาญา โดยมีกิจกรรม คือ ปลุกจิตส�ำนึกให้เจ้าหน้าท่ี ของรฐั มคี ณุ ธรรมความซอ่ื ตรง (Integrity) โดยเนน้ ความซื่อตรงต่อหน้าท่ี (ซื่อสัตย์ สุจริต วิริยะ อตุ สาหะ ทำ� งานใหส้ ำ� เรจ็ ตามเปา้ หมายอยา่ งดที ส่ี ดุ ) และซือ่ ตรงตอ่ ประชาชน แนวทางการส่งเสรมิ องค์กรคุณธรรม 9 พอเพียง วินยั สุจรติ จติ อาสา รับผดิ ชอบ
3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) วัตถุประสงค์ของแผนฯ เพ่ือวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์มี คุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย ค่านิยมท่ีดี มีจติ สาธารณะ และมีความสขุ โดยมีสุขภาวะและ สุขภาพทีด่ ี ครอบครวั อบอุน่ ตลอดจนเปน็ คนเก่ง ท่ีมีทักษะความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเอง ได้ต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต เป้าหมายรวมของแผนฯ คนไทยมีคุณลกั ษณะเป็นคนไทยทสี่ มบรู ณ์ มวี นิ ยั มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของ สังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถ ในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ มีความรับผิดชอบและท�ำประโยชน์ต่อส่วนรวม มสี ุขภาพกายและใจทด่ี ี มีความเจรญิ งอกงามทาง จิตวญิ ญาณ มีวถิ ีชีวติ ท่ีพอเพียง และมคี วามเปน็ ไทย 10 แนวทางการส่งเสริมองคก์ รคุณธรรม พอเพยี ง วินัย สุจริต จิตอาสา รบั ผดิ ชอบ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การเสรมิ สร้างและพฒั นาศักยภาพทนุ มนษุ ย์ โดยมวี ัตถุประสงคด์ ังนี้ 1 เพ่ือปรับเปล่ียนให้คนในสังคมไทยมีค่านิยมตาม บรรทดั ฐานทดี่ ีทางสงั คม 2 เพ่ือเตรียมคนในสังคมไทยให้มีทักษะการด�ำรงชีวิต สำ� หรับโลกศตวรรษที่ 21 3 เพอื่ ส่งเสริมใหค้ นไทยมสี ขุ ภาวะที่ดีตลอดชว่ งชวี ิต 4 เพ่ือเสริมสร้างสถาบันทางสังคมให้มีความเข้มแข็ง เอือ้ ต่อการพัฒนาคนและประเทศ แนวทางการสง่ เสริมองค์กรคณุ ธรรม 11 พอเพยี ง วินยั สจุ รติ จิตอาสา รบั ผิดชอบ
แนวทางการพฒั นา ปรบั เปลย่ี นค่านยิ มคนไทย ให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงค์ ไดแ้ ก่ 1 ส่งเสริมการเลีย้ งดใู นครอบครวั 2 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนท้ังในและ นอกหอ้ งเรยี นที่สอดแทรกคุณธรรมฯ ปรับวิธีการเผยแพร่หลักศาสนาให้มุ่งชี้แนะแนวทาง 3 การด�ำรงชีวิตตามหลักธรรมค�ำสอนท่ีเข้าใจง่าย สามารถนำ� ไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ นำ� ไปสกู่ ารปลกู ฝงั คา่ นยิ ม ที่ดงี าม เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการมีส่วนร่วม 4 จัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์ จัดระเบียบทางสังคม และก�ำหนดบทลงโทษแก่ผู้ละเว้นการปฏิบัติตาม บรรทัดฐานในสังคม 12 แนวทางการสง่ เสริมองคก์ รคุณธรรม พอเพียง วนิ ยั สุจริต จิตอาสา รับผดิ ชอบ
จัดสรรเวลาและพ้ืนท่ีออกอากาศให้แก่ส่ือสร้างสรรค์ 5 ท่ีส่งเสริมการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและ ค่านิยมอันดี โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีผู้ชมมากท่ีสุด แ ล ะ ส ่ ง เ ส ริ ม ก า ร ใ ช ้ เ ค รื อ ข ่ า ย สั ง ค ม อ อ น ไ ล น ์ สร้างความรู้ความเข้าใจในบทบาท สิทธิ และหน้าที่ การเป็นพลเมืองที่ดี ผลกั ดนั ใหม้ กี ารนำ� วฒั นธรรมการทำ� งานทพี่ งึ ประสงค์ 6 ไปใช้ปฏิบัติจนให้เป็นคุณลักษณะท่ีส�ำคัญของคน ในสังคมไทย อาทิ การตรงตอ่ เวลา ความรับผดิ ชอบ ความมรี ะเบียบวินยั ฯลฯ แนวทางการส่งเสริมองค์กรคุณธรรม 13 พอเพยี ง วนิ ัย สจุ รติ จิตอาสา รบั ผดิ ชอบ
4 แผนแม่บทสง่ เสริม คณุ ธรรมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ. 2559 – 2564) วสิ ัยทศั น์ สั ง ค ม ไ ท ย มี คุ ณ ธ ร ร ม เ ป ็ น ร า ก ฐ า น ที่ ส� ำ คั ญ ในการด�ำรงชีวติ สืบสานความเป็นไทย อยู่ร่วมกัน ด้วยความสันติสุขในประเทศไทย ประชาคม อาเซียน และประชาคมโลกอยา่ งย่งั ยนื เปา้ ประสงค์ สังคมไทยเป็นสังคมคุณธรรม คนไทยปฏิบัติตน ตามหลักค�ำสอนทางศาสนาที่ตนนับถือ น้อมน�ำ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏบิ ตั ิ ธำ� รงรกั ษา ไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีงามของไทย และอยู่ร่วมกัน ด้วยสันติสุขในประเทศไทย ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลกอยา่ งยงั่ ยนื 14 แนวทางการส่งเสริมองคก์ รคุณธรรม พอเพยี ง วนิ ยั สุจริต จติ อาสา รบั ผิดชอบ
พันธกิจส�ำคญั พัฒนาคนให้มีคุณธรรมตามหลักธรรมทางศาสนา 1 น้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และด�ำรงชีวิตตาม วถิ วี ัฒนธรรมไทยที่ดงี าม 2 พัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านการส่งเสริม คุณธรรมให้มีประสิทธิภาพในมิติตา่ งๆ ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคม ตระหนักและ 3 ร่วมกันเป็นเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการ สง่ เสรมิ คณุ ธรรม เพอื่ สรา้ งสงั คมคณุ ธรรมทอี่ ยรู่ ว่ มกนั อย่างสันติสุขมีธรรมาภิบาล มีความสมานฉันท์และ มีความยง่ั ยนื 4 ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นแบบอย่างด้านคุณธรรม ในประชาคมอาเซยี นและประชาคมโลก แนวทางการสง่ เสริมองค์กรคณุ ธรรม 15 พอเพยี ง วนิ ยั สุจริต จิตอาสา รับผดิ ชอบ
5 ยทุ ธศาสตร์ชาติว่าด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 สร้างสังคมที่ไมท่ นตอ่ การทุจรติ เป็นยุทธศาสตร์ที่มุงเนนใหความสําคัญใน กระบวนการการปรับสภาพสังคมใหเกิดภาวะท่ี “ไมท นตอการทุจรติ ” โดยเร่มิ ตัง้ แตกระบวนการ ก ล อ ม เ ก ล า ท า ง สั ง ค ม ใ น ทุ ก ร ะ ดั บ ช ว ง วั ย ตั้งแตปฐมวัย เพ่ือสรางวัฒนธรรมต่อต้านการ ทุจริต และปลูกฝงความพอเพียง มีวินัย ซ่ือสัตย สุจริต เปนการดําเนินการผานสถาบันหรือกลุม ตัวแทนท่ีทําหนาท่ีในการกลอมเกลาทางสังคม ใหมีความเปนพลเมืองที่ดี ท่ีมีจิตสาธารณะจิต อาสา และความเสียสละเพ่ือสวนรวม และเสริม สรางใหทุกภาคสวนมีพฤติกรรมที่ไมยอมรับและ ตอตา นการทจุ ริตในทกุ รปู แบบ 16 แนวทางการสง่ เสริมองค์กรคุณธรรม พอเพียง วินยั สจุ รติ จติ อาสา รับผิดชอบ
กลยุทธ์ 4 ดา้ น ประกอบดว้ ย 1 ปรับฐานความคิดทุกชวงวัยต้ังแตปฐมวัยใหสามารถ แยกระหวางผลประโยชนสวนตัวและผลประโยชน สวนรวม 2 สงเสริมใหมีระบบและกระบวนการกลอมเกลา ทางสังคมเพื่อตอ่ ตานการทจุ ริต 3 ประยกุ ตห ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน เครอ่ื งมอื ต่อตา นการทุจริต 4 เสริมพลังการมีสวนรวมของชุมชน (Community) และบูรณาการทกุ ภาคสว นเพื่อตอ ตา นการทุจริต แนวทางการส่งเสรมิ องค์กรคณุ ธรรม 17 พอเพียง วินยั สจุ ริต จติ อาสา รบั ผิดชอบ
2สว่ นที่ ความร้เู กี่ยวกบั องค์กรคุณธรรม แนวทางการสง่ เสริมองคก์ รคณุ ธรรม 19 พอเพยี ง วนิ ัย สจุ ริต จิตอาสา รบั ผดิ ชอบ
องค์กรคณุ ธรรม 1 ความส�ำคัญในการส่งเสรมิ และพัฒนาองคก์ รคณุ ธรรม 2 ความหมายขององค์กรคุณธรรม 3 เป้าหมายการพัฒนาองคก์ รคณุ ธรรม 4 หลักการส่งเสริมองคก์ รคุณธรรม 5 ประเภทองคก์ รคุณธรรม 6 ท่ีมาขององคก์ รคณุ ธรรม 7 เกณฑ์ในการพจิ ารณาเพอื่ การสง่ เสริม 8 คุณธรรมสำ� คัญ ที่เหมาะสมกบั สังคมไทย 9 ระดับการพัฒนาองคก์ รคณุ ธรรม 10 กระบวนการพฒั นาองคก์ รคณุ ธรรม 11 บทบาทขององคก์ รภายนอก 12 ประโยชนท์ ีเ่ กดิ จากการเป็นองค์กรคุณธรรม 13 ตัวอย่างองคก์ รคุณธรรม 20 แนวทางการสง่ เสรมิ องค์กรคณุ ธรรม พอเพยี ง วนิ ัย สจุ รติ จิตอาสา รบั ผดิ ชอบ
“ การทจี่ ะทำ� งานใหบ้ รรลผุ ลทพ่ี งึ ปรารถนา เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และเป็นธรรมด้วยน้ันจะอาศัยเพียงความรู้แต่เพียงอย่างเดียวมิได้ จำ� เป็นต้องอาศัยความสจุ ริต ความบริสทุ ธใิ์ จ และความถูกตอ้ งเป็นธรรม ประกอบด้วย เพราะเหตุว่าความรู้น้ันเปรียบเสมือนเคร่ืองยนต์ท่ีท�ำให้ ยวดยานเคลื่อนไปได้ประการเดียว ส่วนคุณธรรมดังกล่าวแล้วย่อม เปรยี บเสมอื นหนง่ึ พวงมาลยั หรอื หางเสอื ซงึ่ เปน็ ปจั จยั ทนี่ ำ� พาใหย้ วดยาน ด�ำเนินไปถูกทางด้วยความสวัสดี คือ ปลอดภัยจนบรรลุจึงจุดหมาย ท่ีพึงประสงค์ ดังน้ันในการที่จะประกอบงานเพื่อตนเอง เพื่อส่วนรวม ขอให้ทุกคนส�ำนึกไว้เป็นนิจ โดยตระหนักว่าการงานสังคมและ บา้ นเมอื งนนั้ ถา้ ขาดผมู้ คี วามรเู้ ปน็ ผบู้ รหิ ารดำ� เนนิ การยอ่ มเจรญิ กา้ วหนา้ ไปได้โดยยาก แต่ถ้าการงานใด สังคมใด บ้านเมืองใดก็ตาม ขาดบุคคล ”ผู้มคี ณุ ธรรม ความสุจริตแลว้ จะด�ำรงอยู่มิได้เลย พระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปริญญาบตั ร มหาวทิ ยาลยั รามค�ำแหง ณ สวนอมั พร วันศกุ ร์ท่ี 8 กรกฎาคม 2520 แนวทางการสง่ เสริมองคก์ รคุณธรรม 21 พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา รับผดิ ชอบ
1 ความสำ� คัญในการส่งเสริม และพัฒนาองค์กรคณุ ธรรม คุณธรรมหรือสภาพคุณงามความดีที่อยู่ในจิตใจหลายคนและน�ำสู่ การประพฤติปฏิบัติที่ถูกต้องดีงาม เป็นคุณค่า และปัจจัยท่ีส�ำคัญของ การสร้างความมั่นคงผาสุกของประเทศชาติและประชาชน สังคมใดผู้น�ำ และประชาชนมคี ณุ ธรรม สงั คมนน้ั จะเขม้ แขง็ ประชาชนอยเู่ ยน็ เปน็ สขุ รว่ มกนั หากสังคมใดผู้น�ำและประชาชนขาดซ่ึงคุณธรรม สังคมน้ันย่อมจะอ่อนแอ และอาจถึงขัน้ ลม่ สลายได้ 22 แนวทางการสง่ เสริมองค์กรคณุ ธรรม พอเพยี ง วนิ ยั สจุ รติ จติ อาสา รับผดิ ชอบ
การพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศให้ถึงความ “ม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน” ได้นั้น จะต้องไม่ติดกับดักของความพอใจกับตัวชี้วัดความเติบโต ทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความสะดวกสบายทางวัตถุ เท่าน้ัน หากแต่ต้องไปให้ถึงเป้าหมายที่แท้จริงของการพัฒนา คือต้องให้เกิด “สังคมสันตสิ ุข ประชาชนอยู่เยน็ เป็นสขุ ร่วมกนั ” หมายถึง ประชาชนไดร้ บั ผลของการพัฒนาอยา่ งเปน็ ธรรม เปน็ พลเมืองทม่ี คี วามสามารถ และความดี เป็นพลังขับเคล่ือนให้สังคมเจริญและน่าอยู่เกิดเป็นสังคมคุณธรรม ดังน้ัน การพัฒนาทุกระดับจึงต้องให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา “คน” เพราะคน เป็นท้ังเป้าหมายและพลังการขับเคล่ือนการพัฒนาทุกด้าน การพัฒนาคน ที่สมดลุ จะต้องใหค้ นมีทั้งความดี ความสามารถ และความสุข แนวทางการส่งเสริมองค์กรคุณธรรม 23 พอเพยี ง วินัย สจุ ริต จิตอาสา รับผิดชอบ
การก่อเกิดคุณธรรมของบุคคลย่อมมาจากการปลูกฝัง บ่มเพาะ และส่งเสริมจากสถาบันสังคมและสภาพแวดล้อม และหล่อหลอมขยายเป็น คุณธรรมของครอบครวั ชมุ ชน และประเทศ 24 แนวทางการส่งเสริมองค์กรคุณธรรม พอเพยี ง วนิ ยั สุจริต จติ อาสา รับผิดชอบ
ระบบเศรษฐกจิ และการเมือง สศถาสาบนันา สอมวลชน ชุมชน โรงเรียน สถานที่ทำงาน กลมุ อาชพี ครอบครัว วฒั นธรรม ความเชอ ในอดีตการปลูกฝังคุณธรรมในสังคมไทย เน้นการใช้หลักธรรมของ ศาสนาโดยใช้กลไกของ บ้าน วัด โรงเรียนหรือพลังบวร คือ ครอบครัว และชมุ ชน สถาบนั ศาสนาและสถานศกึ ษา ปจั จบุ นั สงั คมมกี ารเปลี่ยนแปลง และมีความซับซ้อนมากขึ้น บางสถาบันมีบทบาทในการปลูกฝังบ่มเพาะ คุณธรรมน้อยลง หรือมีวิกฤตด้านคุณธรรมเสียเอง ขณะที่ประชาชน มีความสัมพันธ์กันในระบบองค์กรมากขึ้น ทั้งในสถานท่ีท�ำงานและการเป็น สมาชกิ ส�ำคญั ในรปู แบบต่างๆ ซ่ึงองค์กรเหล่านน้ั มอี ิทธพิ ลต่อวถิ ชี ีวติ คา่ นยิ ม และรวมถึงการมีคุณธรรมของสมาชิกด้วย ดังน้ันเราต้องรณรงค์ส่งเสริม ให้องค์กรต่างๆ ตระหนักในความรับผิดชอบและมีบทบาทในการส่งเสริม คณุ ธรรมอยา่ งจรงิ จงั เพอ่ื ใหอ้ งคก์ รเหลา่ นเี้ ปน็ องคก์ รคณุ ธรรม เปน็ แหลง่ สรา้ ง คนดี เพอ่ื สงั คมดี เปน็ พลงั สำ� คญั ของการขบั เคลอ่ื นสงั คมคณุ ธรรมทส่ี อดคลอ้ ง กบั สังคมทีเ่ ปลี่ยนแปลง แนวทางการส่งเสรมิ องค์กรคณุ ธรรม 25 พอเพียง วนิ ยั สจุ รติ จิตอาสา รับผดิ ชอบ
2 ความหมายองค์กรคณุ ธรรม คือ องค์กรคนดี เพ่ือสังคมดี ที่แสดงเจตนารมณ์และมุ่งมั่นที่จะ ส่งเสริมคุณธรรมของคนในองค์กรและเป็นส่วนหน่ึงของการสร้าง สงั คมคณุ ธรรมโดย ส่งเสริมสนับสนุนให้สมาชิกขององค์กรมีคุณธรรม เป็นฐานในการด�ำเนินชีวิตทั้งในการปฏิบัติงาน ครอบครวั และชุมชน (คนดี) 26 แนวทางการส่งเสรมิ องค์กรคณุ ธรรม พอเพียง วินัย สจุ รติ จิตอาสา รบั ผดิ ชอบ
มกี ารบรหิ ารจดั การองคก์ รเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล หรือการบริหารกจิ การบา้ นเมืองท่ดี ี (ระบบดี) รณรงค์และสนับสนุนการส่งเสริมคุณธรรมให้กับ ประชาชน ชุมชน และสงั คมทเี่ กี่ยวข้องกบั องคก์ ร (เผอ่ื แผ่ชมุ ชน/สังคมดี) แนวทางการสง่ เสริมองคก์ รคณุ ธรรม 27 พอเพียง วนิ ยั สจุ ริต จติ อาสา รบั ผดิ ชอบ
3 เป้าหมายการพัฒนา องค์กรคุณธรรม องค์กรเป็นแหล่งสร้างคนดี เพื่อสังคมดี คือ คนในองค์กรเกิด การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ วิธีคิด และการประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวัน ท่ีสะท้อนการมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีดี เหมาะสมกับสังคมไทย มากขน้ึ และองคก์ รไดค้ ณุ คา่ เพม่ิ และมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลในการดำ� เนนิ กิจการจากการมีสมาชิกเปน็ คนดมี ีคุณธรรม 28 แนวทางการสง่ เสรมิ องค์กรคุณธรรม พอเพียง วินัย สจุ ริต จิตอาสา รับผดิ ชอบ
ค�ำวา่ ดี ประกอบดว้ ย ความดี 3 ระดับ คือ ท�ำความดี เพอื่ สนองความตอ้ งการของคนอ่ืน ท�ำความดี ตามกฎหมายก�ำหนด หรือนโยบายท่ีใหท้ �ำ ทำ� ความดี เพราะเห็นเป็นความดี ม่งุ หวัง ลด ละ เลกิ สงิ่ ทไี่ ม่ดีงาม และทำ� แต่ประโยชนส์ ขุ สว่ นรวม ความหมาย ของคำ� วา่ ดี ในทน่ี ี่ ควรมจี ดุ มงุ่ หมายถงึ ความดี ทจ่ี ะชว่ ย เปล่ียนแปลงตนเอง ในระดับบุคคล ให้เกิดการ ลด ละ เลิก สิ่งท่ีไม่ดีงาม และทำ� แต่ประโยชนส์ ขุ ส่วนรวม แนวทางการส่งเสรมิ องคก์ รคุณธรรม 29 พอเพยี ง วินยั สจุ ริต จิตอาสา รบั ผดิ ชอบ
4 หลกั การส่งเสริม องค์กรคณุ ธรรม น้อมน�ำหลักทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาสู่การปฏิบัติ โดยยดึ หลักการสำ� คัญ ไดด้ ังน้ี ระเบดิ (จากภายใน) เกิดจากความสมัครใจและมุ่งม่ันของผู้บริหาร และสมาชกิ ขององคก์ รท่เี ขา้ ใจและอยากทำ� ไม่ใช่ การสั่งการให้ทำ� เป็นระบบ ทำ� อย่างเปน็ ระบบครบวงจร ต่อเนื่อง ผสมผสาน กับกระบวนการท�ำงานปกติขององค์กรและ ต้องเป็นระบบท่ีง่ายต่อการเข้าใจและการปฏิบัติ ของผ้เู กยี่ วข้อง โดยไม่ตดิ ในตำ� รา 30 แนวทางการส่งเสรมิ องค์กรคณุ ธรรม พอเพยี ง วินัย สุจรติ จติ อาสา รบั ผิดชอบ
จากหลักความจริง เรม่ิ จากเข้าใจความจรงิ สภาพความเปน็ จริง ในบริบทของแตล่ ะองค์กรและลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง สคู่ วามดงี าม เป้าหมายไม่ใช่แค่ท�ำตามกระแส แก้ปัญหา เฉพาะหนา้ ตอ้ งเปน็ ความคดิ วธิ กี าร กจิ กรรมเชงิ บวก และสรา้ งสรรค์ เนน้ ประโยชนส์ ขุ สว่ นรวมของคนใน และนอกองคก์ ร การมีสว่ นรว่ ม ตอ้ งเปดิ ชอ่ งทางใหม้ สี ว่ นรว่ มอยา่ งกวา้ งขวางของคน ทุกระดบั ในทกุ กระบวนการด�ำเนินงาน แนวทางการส่งเสริมองคก์ รคุณธรรม 31 พอเพยี ง วนิ ยั สจุ รติ จติ อาสา รับผดิ ชอบ
5 ประเภทองคก์ รคณุ ธรรม สามารถแบ่งกลุม่ ประเภทหน่วยงาน ได้ดงั นี้ กลมุ่ องค์กรภาครฐั 1 เชน่ สว่ นราชการ รฐั วสิ าหกจิ องคก์ รอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู องค์การมหาชน และองคก์ รในก�ำกบั ของรฐั เปน็ ตน้ 32 แนวทางการส่งเสรมิ องคก์ รคุณธรรม พอเพียง วนิ ยั สุจริต จิตอาสา รับผิดชอบ
กลุ่มองค์กรภาคธรุ กจิ เอกชน 2 เช่น บริษัท ห้างร้าน โรงงาน สถานประกอบการ ธนาคาร เป็นตน้ กลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมและชมุ ชน 3 เชน่ หมบู่ า้ น ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน กลมุ่ สมาคม มลู นธิ ิ องค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรสาธารณะประโยชน์ เป็นต้น แนวทางการสง่ เสรมิ องคก์ รคุณธรรม 33 พอเพยี ง วินยั สุจริต จติ อาสา รบั ผิดชอบ
6 ทีม่ าขององคก์ รคณุ ธรรม การจัดประเภทท่ีมาขององค์กรคุณธรรม มีประโยชน์ต่อการให้ คำ� ปรกึ ษา และการสง่ เสรมิ การพฒั นาองคก์ รคณุ ธรรม ซงึ่ ผสู้ ง่ เสรมิ ควรแยกแยะ องค์กรแต่ละแห่งท่ีเสนอความต้องการมายังโครงการ หรือศูนย์คุณธรรม เพ่ือท่ีจะรู้ระดับการพัฒนา และต้องมีความปรารถนาดีที่จะกระตุ้นให้ องค์กรเหล่านั้น ได้พัฒนาตนเอง เพื่อไปสู่การพัฒนาท่ีสูงขึ้น ในระยะต่อไป โดยการแยกแยะที่มาขององคก์ รนนั้ สามารถดูไดจ้ าก ลกั ษณะดังน้ี 34 แนวทางการสง่ เสริมองคก์ รคุณธรรม พอเพียง วินัย สุจรติ จติ อาสา รับผดิ ชอบ
ประเภทสนใจท�ำตามกฎหมาย หรอื มนี โยบายกำ� หนดใหท้ ำ� อา้ งตอ้ งทำ� ตามนโยบาย ผู้บริหารหรือรัฐบาลใหท้ ำ� ประเภททำ� ตามกระแส เหน็ คนอื่นทำ� สำ� เร็จและได้ผล ก็ใครส่ นใจท�ำตาม ทค่ี นอ่นื ท�ำ ประเภทท�ำเพราะเห็นว่า ทำ� แลว้ ดี ไดป้ ระโยชน์ แตย่ งั ตดิ อยกู่ บั กจิ กรรม มองวา่ กจิ กรรมจะชว่ ยทำ� ให้ เกดิ การพฒั นาคณุ ธรรม และทำ� ใหค้ นเปลย่ี นแปลง ยังก้าวไปสูร่ ะดับองค์กรยงั ไมไ่ ด้ แนวทางการสง่ เสรมิ องค์กรคุณธรรม 35 พอเพยี ง วินัย สจุ รติ จติ อาสา รบั ผดิ ชอบ
ประเภททีท่ �ำดว้ ยความจรงิ ใจ มุ่งมั่นที่จะด�ำเนินการให้เกิดผลจริงเพ่ือการ เปลย่ี นแปลงในองคก์ ร เปน็ องคก์ รทใี่ หค้ วามสำ� คญั ด้านคุณธรรม ประเภทท่มี งุ่ มัน่ ที่จะท�ำใหเ้ กิดความยง่ั ยืน มุ่งให้การพัฒนาองค์กรคุณธรรมน้ัน มีประโยชน์ ต่อสังคม ส่วนรวม เพื่อสร้างสรรค์สังคม อาจมี โครงการหรือกิจกรรมท่ีท�ำร่วมกับองค์กรอ่ืน เครอื ขา่ ยอน่ื ๆ ดำ� เนนิ การรว่ มกนั ไมต่ า่ งคนตา่ งทำ� เปลี่ยนกิจกรรม ท�ำแล้วจบ มาเป็นท�ำร่วมกัน โดยมรี ะยะเวลาทยี่ าวขน้ึ หรอื ทำ� กจิ กรรมไปสกู่ ารมี รายได้ เพ่ือด�ำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม ภายในองคก์ รและดูแลสงั คมภายนอกได้ 36 แนวทางการสง่ เสริมองค์กรคุณธรรม พอเพยี ง วินยั สจุ รติ จติ อาสา รบั ผิดชอบ
ทง้ั นี้ เราสามารถแบง่ ประเภทองค์กรท่สี นใจ ในแบบอนื่ ได้ ดงั นี้ ลักษณะองค์กรคุณธรรม ย่อมมีฐานและที่มาท่ีแตกต่างกัน เพราะมคี วามต้องการท่ไี ม่เหมอื นกัน โดยท่ัวไป องคก์ รคณุ ธรรม อาจมที ่ีมา 4 แบบ คอื มาจากการมองเห็นสภาพปญั หาท่ีตอ้ งการแก้ไข 1 ซึ่งอาจเป็นเพราะมีปัญหาในองค์กรท่ีสะสมมานาน และมีความสุกงอมพอ ท่ีคนในองค์กรนั้นๆ ต่างก็ ตอ้ งการแกไ้ ข ตอ้ งการท�ำให้องค์กรดขี น้ึ มาจากนโยบาย 2 ต้องการให้เกิด เป็นแนวนโยบายที่ผู้บริหารต้องการ ทำ� ใหเ้ กดิ ขนึ้ และคาดหวงั ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิ เกดิ การเปลย่ี นแปลง ไปในทางทดี่ ีขึ้น แนวทางการส่งเสรมิ องค์กรคณุ ธรรม 37 พอเพียง วนิ ัย สจุ ริต จิตอาสา รบั ผิดชอบ
มาจากความสนใจ 3 เพราะเห็นว่าคนอ่ืนๆ ใครก็ท�ำกัน อาจเกิดจาก ปรากฏการณ์ทางสงั คม ท่ีองคก์ รต่างๆ ใหค้ วามสนใจ ในองคก์ รคุณธรรมมาก จนเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ความสนใจ และเขา้ ร่วมขบวนการ เพ่อื ไม่ใหต้ กขบวน มาเพอ่ื ต้องการยกระดับองคก์ รตนเอง 4 ให้เป็นท่ียอมรับ โดยอาจมีความพยายาม ที่จะ ยกระดับองค์กร ให้เป็นที่ยอมรับ และสร้างคุณค่า จากรางวัลหรือการการันตีจากหน่วยงานระดับสูง ด้านการส่งเสริมคุณธรรม โดยอาจมีเจตนาที่เป็นได้ ทงั้ บวกและลบ 38 แนวทางการส่งเสริมองค์กรคณุ ธรรม พอเพยี ง วินัย สจุ รติ จติ อาสา รบั ผิดชอบ
อย่างไรก็ดี แม้องค์กรคุณธรรม ท่ีเข้ามาสัมพันธ์หรือขอรับ การสนับสนุนการพัฒนาจากโครงการนี้ หรือจากศูนย์คุณธรรม จะมาโดย รูปแบบใดก็ตาม สิ่งที่ส�ำคัญที่สุด ก็คือ การให้ค�ำปรึกษาท่ีตรงไปตรงมา ให้เห็นถึงประโยชน์และคุณค่าของการเป็นองค์กรคุณธรรม ที่จะช่วยท�ำให้ องคก์ รดขี น้ึ มีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น เกิดความสนั ตสิ ขุ มากขึ้น และสังคมไทย ได้รับประโยชน์จากการส่งเสริมคุณธรรมของแต่ละองค์กร ซึ่งองค์กรต่างๆ เหล่าน้ัน จะต้องรู้ว่า ถ้าจะท�ำให้เกิดขึ้นได้จริง ต้องมุ่งม่ันตั้งใจที่จะท�ำ ในเรอ่ื งใดบ้าง และให้องค์กรคิดและตัดสินใจเอง แนวทางการสง่ เสริมองคก์ รคุณธรรม 39 พอเพียง วนิ ัย สจุ รติ จิตอาสา รับผดิ ชอบ
7 เกณฑ์ในการพิจารณา เพอื่ การส่งเสริม พิจารณาจากองคป์ ระกอบภายนอก เปน็ องคก์ รทางยทุ ธศาสตร์หรอื ไม่ 1 หมายความว่า องค์กรใดก็ตามท่ีเสนอตัวขอเข้ารับ การพัฒนาตนเอง เพ่ือน�ำไปสู่องค์กรคุณธรรมน้ัน หากเป็นองค์กรทางนโยบาย และองค์กรที่มีฐาน เครือข่ายทางสังคม หรือมีสมาชิกเครือข่ายอยู่มาก ควรให้ความสำ� คัญในล�ำดับต้นๆ เพราะสามารถที่จะ ขยายผลทางยทุ ธศาสตรไ์ ด้ มีความมุ่งมั่นหรือไม่ 2 หมายความวา่ องคก์ รทต่ี ดิ ตอ่ มาไดแ้ สดงความตอ้ งการ รบั การสนบั สนนุ หรอื คำ� ปรกึ ษาเพอื่ การพฒั นาองคก์ ร คุณธรรมนั้น มีความจรงิ จงั และพลงั ท่จี ะด�ำเนนิ การ หรอื ไม่ เพราะหากเปน็ การทำ� ตามนโยบาย หรอื เพอื่ ให้ องค์กรตนเองบรรลุตัวช้ีวัด ก็ไม่ควรให้ความส�ำคัญ มากมายนัก และควรแนะน�ำให้คิดประโยชน์สูงสุด มากกวา่ ท�ำเพ่อื ใหเ้ สรจ็ ธรุ ะ 40 แนวทางการส่งเสรมิ องค์กรคุณธรรม พอเพียง วนิ ยั สจุ รติ จติ อาสา รบั ผดิ ชอบ
มีทมี งานรับผดิ ชอบหรอื ไม่ 3 หมายความวา่ องคก์ รนนั้ ๆ ไดม้ กี ารเตรยี มความพรอ้ ม ด้านบุคลากรรองรบั ไว้หรือไม่ มกี ารวางแผนก�ำลังคน และทีมงานไว้อย่างไร ท้ังน้ี การที่มีบุคลากรรองรับ ภารกจิ นนั้ หมายถงึ การมกี ลไกดำ� เนนิ การ ซง่ึ จะมผี ล คอื เกดิ การปฏบิ ตั ิ มากกวา่ องคก์ รทย่ี งั ขาดการวางแผน ดา้ นบุคลากรรองรบั ภารกิจ เป็นองคก์ รทีม่ ีนโยบายหรอื วสิ ยั ทศั น์ทางธุรกจิ หรือวิสัยทศั นอ์ งค์กรที่มุ่งทำ� ประโยชน์ ร่วมกบั สังคมและรบั ผิดชอบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม 4 มีการประกอบธุรกิจท่ีไม่เป็นการท�ำลายคุณภาพชีวิต ของประชาชน ไม่ประกอบธุรกิจผดิ กฎหมาย เปน็ ตน้ แนวทางการส่งเสริมองค์กรคุณธรรม 41 พอเพยี ง วินัย สจุ รติ จติ อาสา รับผิดชอบ
พจิ ารณาจากองคป์ ระกอบภายใน เรามผี ู้เชี่ยวชาญรองรบั หรอื ไม่ 1 หมายความว่า เราต้องพิจารณาด้วยว่า งานที่หน่วย ภายนอกตดิ ตอ่ เขา้ มานนั้ เกยี่ วขอ้ งกบั ใครบา้ ง โดยเฉพาะ ผเู้ ชย่ี วชาญทจี่ ะตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของเขาได้ ทั้งเป็นผู้ปฏิบัติงานภายในและผู้เช่ียวชาญภายนอก เม่ือเราเทียบเคียงได้ เราจะสามารถแนะน�ำหรือจัด ทีมงานทเ่ี หมาะสมเข้าไปสนบั สนุนได้ถูกต้อง เรามีองคค์ วามรู้รองรบั หรือไม่ 2 หมายความวา่ เรอื่ งทอ่ี งคก์ รภายนอก ขอรบั การสนบั สนนุ นน้ั มคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั องคค์ วามรใู้ ด ภายในโครงการนี้ หรอื ศนู ยค์ ณุ ธรรม เกยี่ วขอ้ งกบั คนกลมุ่ ใด และทส่ี ำ� คญั เรามีแหล่งเรียนรู้รองรับหรือไม่ แหล่งเรียนรู้ในท่ีนี้ ก็คือ พื้นที่รูปธรรม ท่ีจะสามารถให้ค�ำตอบหรือ สร้างแรงบันดาลใจให้กับองค์กรภายนอกเหล่านั้น ได้อย่างเหมาะสม ยิ่งเรามีแหล่งเรียนรู้มากเท่าใด กจ็ ะเปน็ ฐานสำ� คญั ในการขยายเครอื ขา่ ยและสะทอ้ น ผลงานของศนู ยฯ์ ไดม้ ากเทา่ นัน้ 42 แนวทางการสง่ เสริมองค์กรคณุ ธรรม พอเพยี ง วินัย สุจริต จติ อาสา รับผดิ ชอบ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124