Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปอาชีพ64-กลุ่มสนใจ-สบู่สมุนไพร

สรุปอาชีพ64-กลุ่มสนใจ-สบู่สมุนไพร

Published by ครูจูน ปู้นปู้น, 2021-04-14 13:18:09

Description: สรุปอาชีพ64-กลุ่มสนใจ-สบู่สมุนไพร

Search

Read the Text Version



ข บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทบั สะแก ที่ ศธ0210.4403/ วันที่ 16 เมษายน 2564 เร่อื ง รายงานผลการจัดกจิ กรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลหว้ ยยาง รปู แบบกลมุ่ สนใจ หลกั สูตรการทำสบูจ่ ากสมุนไพรพนื้ บ้าน จำนวน 9 ชัว่ โมง เรยี น ผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอทับสะแก ตามท่ี ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ทับสะแก มอบหมายให้ ข้าพเจ้า นางสาวสมิตา โชติดาว ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล ห้วยยาง ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่ม สนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพ้ืนบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามแผนปฏิบัติงาน กศน. ตำบลห้วยยาง ประจำปงี บประมาณ 2564 นนั้ บัดนี้ได้ดำเนินการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบ กลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพ้ืนบ้าน จำนวน 9 ชั่วโมง เสร็จเรียบร้อยแล้ว รายละเอียดเอกสารรายงานสรปุ ผลการจัดกิจกรรมดังแนบ จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวสมิตา โชตดิ าว) ครกู ศน. ตำบลหว้ ยยาง

ค ก บทสรปุ สำหรับผ้บู ริหาร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัยอำเภอทับสะแก โดย กศน.ตำบล ห้วยยาง จัดโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชนตำบลหว้ ยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสตู รการทำ สบู่จากสมุนไพรพ้ืนบ้าน จำนวน 9 ชั่วโมง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานท่ี ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอ ทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในตำบล หว้ ยยาง ได้ฝึกทักษะอาชีพตามความต้องการของตนเอง เพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ใน การพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของตนเอง เพื่อส่งเสริมพัฒนาอาชีพด้วย นวัตกรรมเทคโนโลยีกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ประกอบด้วย ประชาชนตำบลห้วยยาง จำนวน 10 คน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุม่ สนใจ หลักสูตรการทำสบู่ จากสมนุ ไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ชั่วโมง ในระหวา่ งวันท่ี 11 เดือนมนี าคม พ.ศ. 2564 ถึง วันท่ี 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอ ทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นการอบรมให้ความรู้ ประชาชนในตำบลห้วยยาง ที่ เข้าอบรม ได้ฝึกทักษะตามความต้องการของตนเอง ทำให้มีทักษะด้านอาชีพเบ้ืองต้น สามารถมองเห็นชอ่ งทางในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาอาชพี ทท่ี ำอยู่ มาปรับใชใ้ นการ พัฒนาอาชีพให้ดีย่ิงขึ้นโดยใช้แหล่งข้อมูล วิทยากร 1 คน ท่ีเข้ารับการอบรม ส่ือและการ ฝกึ ปฏิบัตจิ รงิ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่ จากสมนุ ไพรพ้นื บา้ น จำนวน 9 ชวั่ โมง ในระหวา่ งวันท่ี 11 เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึง วนั ท่ี 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับ สะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีผลการประเมินความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับ มาก ท่ีสุด (X̅= 4.69) ผู้ท่ีเข้าอบรมได้รับความรู้ ผู้เข้ารับการอบรมท่ีเข้ารับได้เรียนรู้ เทคนิค/ วิธีการจัดกิจกรรมของวิทยากรผู้เข้ารับการอบรมที่เข้ารับอบรม ได้รับความรู้จากวิทยากร ในเร่ืองท่ีจัดกิจกรรม จุดท่ีควรพัฒนาของโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชนตำบลห้วยยาง ควรมี ติดตามและให้คำแนะนำเพิ่มเติมหลังจากเข้าร่วมกิจกรรมของผู้จัดข้อเสนอแนะเพื่อการ พัฒนาโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลห้วยยาง ผู้ท่ีเข้ารับการอบรมควรนำความรู้และ ประสบการณ์ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในชุมชน แนะนำการทำกิจกรรมท่ีได้รับมาไป เผยแพรใ่ หเ้ กิดประโยชน์กับประชาชนในชุมชน

ง ข คำนำ การดำเนนิ โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชนตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสตู ร การทำสบู่จากสมุนไพรพ้ืนบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนได้มีโอกาส เลือก อย่างเหมาะสมและรูปธรรมและเป็นระบบ กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้รับความรู้เกิด กระบวนการเรียนรู้ และมคี วามสามารถในด้านการนำความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้อย่าง ต่อเนื่องจนเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน เมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วจึงมีการสรุปผลการ ดำเนินงานเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานในครั้งต่อไป และเพื่อให้เห็นผล การประเมนิ เป็นรปู ธรรมและมีคุณภาพครบกระบวนการดำเนนิ งาน(PDCA) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทบั สะแก กศน.ตำบล ห้วยยาง จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะทำให้ทราบการบรรลุวัตถุประสงค์ของ โครงการและจะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานในปีงบประมาณต่อไป เพ่ือใช้ในการ บริหารงาน การพัฒนางานและการทำงานที่ตรงกบั ความต้องการของสถานศึกษาตอ่ ไป กศน.ตำบลห้วยยาง เมษายน 2564

สารบญั จ บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหาร หนา้ คำนำ ก สารบญั ข สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ค 1 1. บทนำ 1 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 4 3. ขอบเขตของโครงการ 4 4. ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รับ 4 5. วธิ ีดำเนินการ 5 6. ผลการดำเนนิ งาน 8 7. สรปุ 11 ภาคผนวก 1. โครงการท่ไี ดร้ บั อนมุ ัติ 2. เอกสารทเี่ กย่ี วข้องกับโครงการ 3. หนังสอื เชิญวิทยากร 4. แบบขอจัดต้ังกลุ่ม 4. รายชื่อผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ 5. คำส่ังแตง่ ตงั้ คณะวิทยากร 6. ภาพกจิ กรรม 7. แบบสอบถามความคิดเห็น 8. คณะผ้จู ดั ทำ

1 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รปู แบบกลมุ่ สนใจ หลักสตู รการทำสบจู่ ากสมุนไพรพน้ื บ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง กศน.ตำบลหว้ ยยาง ประจำปงี บประมาณ 2564 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญ การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนา ประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่ม บุคคล เป็ นการแก้ปั ญ ห าการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้ แก่เศรษ ฐกิจชุมช น กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก” และได้ กำหนดภารกิจว่า จะพัฒนายกระดับและจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มศักยภาพ และขีดความสามารถให้ ประชาชนได้มีอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้ท่ีมั่งคั่ง และม่ันคง เพื่อเป็นบุคลากรท่ีมีวินัยเป่ียมไปด้วย คุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อ่ืนและสังคม โดยคำนึงถึงศักยภาพและ บริบท รอบ ๆ ตัวผู้เรียน พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้และกระบวนการเรียนการสอนให้ทัดเทียม อารยประเทศ ด้วยการบริหารจัดการเทคโนโลยีสมัยใหม่ มุ่งเป้าหมายของการเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันและยกระดับศักยภาพในการทำงานให้บุคลากรไทยให้แข่งขันได้ในระดับสากลภายใต้ ศักยภาพ 5 ด้าน ไดแ้ ก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาตใิ นแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพของพื้นท่ีตามลักษณะ ภมู ิอากาศ ศักยภาพของภมู ปิ ระเทศและทำเลที่ตั้งของแตล่ ะพื้นทีศ่ ักยภาพของศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพ้ืนที่ นอกจากน้ันยังได้กำหนด หลกั สตู รออกเป็น 5 กลมุ่ อาชพี ไดแ้ ก่ 1. กลุ่มหลกั สตู รใหมด่ ้านเกษตรกรรม 2. กลุ่มหลกั สตู รใหมด่ ้านอตุ สาหกรรม 3. กลุ่มหลักสูตรใหมด่ ้านพาณชิ ยกรรม 4. กลมุ่ หลักสูตรใหมด่ ้านความคิดสรา้ งสรรค์ 5. กลุ่มหลักสูตรใหมด่ ้านอำนวยการและอาชีพเฉพาะทาง สำนักงาน กศน. จงึ ไดน้ ำนโยบายและยุทธศาสตรด์ ังกล่าวสู่การปฏิบัติ เพื่อจัดการศึกษาพัฒนา อาชพี ใหก้ ลุม่ เปา้ หมายและประชาชนมีรายได้และมีงานทำอยา่ งยั่งยนื มคี วามสามารถเชิงการแข่งขนั ทั้ง ในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากลโดยจัดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนทั่วประเทศ ซึ่งการดำเนินการ ดังกล่าวจะทำการจัดการศึกษาของประเทศ และของสำนักงาน กศน. เป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิต

2 ในรูปแบบใหม่ท่ีสร้างความมั่นคงให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ และจะทำให้การจัดการศึกษาของ ประเทศเป็นการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตอย่างแท้จริง การจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชพี มี 4 ประเภท คอื 1.การฝึกทักษะอาชีพ โดยจัดการศึกษาด้านอาชีพหลักสูตรระยะสั้น เพื่อสนองความต้องการ ของผ้เู รยี น ให้มีความรแู้ ละทักษะพื้นฐานในการอาชพี 2.การเข้าสอู่ าชีพ เปน็ การพฒั นากลุ่มเป้าหมายใหส้ ามารถคดิ วเิ คราะห์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพฒั นาตนเองเพ่ือเข้าสอู่ าชีพ 3.กลุ่มพัฒนาอาชีพ เป็นการส่งเสริมความรู้และประสบการณ์แก่กลุ่มที่มีอาชีพประเภท เดียวกัน ให้สามารถพัฒนาปริมาณและคุณภาพผลผลิตเข้าสู่การจำหน่ายมีรายได้ยิ่งขึ้น เกิดการ แลกเปลี่ยนเรยี นร้โู ดยกระบวนการกลุ่ม 4.การพัฒนาด้วยเทคโนโลยี เป็นการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเฉพาะท่ีต้องการนำ เทคโนโลยีมาใชใ้ นการพฒั นาอาชีพและศกั ยภาพแก่ตนเองและกลุ่ม การจัดการศกึ ษาอาชพี ท้ัง 4 ประเภท เปน็ กิจกรรมที่มีความสมั พันธต์ ่อเนอื่ งท้งั การ เรียนรู้และการประกอบอาชีพ มิได้แยกจากกันโดยเด็ดขาด เช่น เม่ือเรียนพัฒนาอาชีพ อาจจะ ตอ้ งการความรู้ ทกั ษะอาชพี บางอย่างทีม่ เี สริมให้อาชีพท่ีดำเนนิ การอย่างมีคุณคา่ มากข้ึน การจัดการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาอาชพี เปน็ การจัดการศึกษาตามนโยบายและจุดเนน้ การ ดำเนินงาน กศน.มุ่งเน้นจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อฟื้นฟูจิตใจและเสริมสร้างสมรรถนะในประกอบ . อาชีพให้ประชาชนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันที ทั้งในการพัฒนาอาชีพเดิม การสร้างอาชีพเสริม และอาชีพใหม่ การเตรยี มความพร้อมให้กบั แรงงานเพื่อส่งเขา้ ส่รู ะบบการผลิตอตุ สาหกรรม รวมทั้งการ พัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ให้สร้างรายได้ที่มั่งคั่งและ ม่ันคง เป็นบุคคลท่ีมีวินัย เป่ียมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและ สังคม ตลอดจนการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเน้นการจัดการศึกษาที่ยึด พ้ืนท่ีเป็นฐาน ซึ่งสถานศึกษาต้องวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นท่ี ด้าน คือ ศักยภาพด้าน 5 ทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพด้านภูมิอากาศ ศักยภาพด้านภูมิประเทศ ศักยภาพด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และศักยภาพด้านทรัพยากรมนุษย์และวิเคราะหข์ ้อมูลวถิ ีการดำเนินชีวติ ความต้องการ ของ ประชาชนในภูมิภาคต่าง ๆ ท่ีจะมาใช้หรือรับบริการผลผลติ ของสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมลู ท้ังสอง สว่ นจะนำมาสู่การกำหนดหลกั สูตรอาชีพท่สี ถานศึกษาจะเปดิ สอน การจัดการศกึ ษาของสำนกั งาน กศน. จงึ ต้องปรบั เปลีย่ นกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ท่เี น้นการ ปฏิบัติจริง มีการศึกษาดูงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ในอาชีพโดยตรง ผู้สอนเป็น วทิ ยากรที่มีความรคู้ วามสามารถและเป็นผปู้ ระกอบการในอาชพี นั้นๆ ให้ความสำคัญตอ่ การประเมินผล การจบหลักสูตรท่ีเน้นทักษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ช้ินงานท่ีได้มาตรฐานออกสูต่ ลาดได้ การ พัฒนาหลักสูตรอาชีพ ต้องพัฒนาให้ครบวงจร ประกอบด้วย ช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะของ อาชีพ การบรหิ ารจัดการ และแหล่งเงนิ ทุน ผู้เข้ารับการอบรมที่เรียนจบจากหลักสูตรอาชีพต้องมีความ ม่นั ใจวา่ จะสามารถประกอบอาชีพสรา้ งรายได้ ได้อย่างแทจ้ ริง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับสะแก โดย กศน .ตำบล ห้วยยาง ได้เข้าร่วมประชาคมในพ้ืนที่ตำบลห้วยยาง เพ่ือสำรวจข้อมูลความต้องการของชุมชนใน การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ โดยร่วมกับประชาชนในชุมชนการออกแบบกิจกรรมการศึกษานอกระบบ

3 และการศึกษาตามอัธยาศัย ในลักษณะบูรณาการระหว่างวิถีชีวิต การทำงานและการเรียนรู้ โ ดย การศึกษาสภาพปญั หาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและประเมินสภาพความต้องการซง่ึ ข้อมูลที่ไดม้ า จากวิธีการสังเกต พูดคุย สอบถามการหาโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนและสรุปเป็นสภาพปัญหา ความต้องการ เพ่ือเป็นแนวทางในการกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ กศน.ตำบลห้วยยาง จึงได้จั ด ทำการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ กศน.ตำบลห้วยยาง ขึ้น จึงทำงานร่วมกับเครือข่าย ในการสร้างโอกาส ให้เกิดการแลกเปล่ยี น ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน 2.2 สอดคลอ้ งกบั แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกช่วงวัยและการสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. เรียนรู้การใชด้ จิ ทิ ัล เพื่อใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือสำหรับหาช่องทางในการสร้างอาชพี 2. จดั ทำหลกั สตู รพัฒนาอาชพี ท่ีเหมาะสมสำหรับผูท้ ี่เข้าส่สู งั คมสงู วัย 2.4 สอดคล้องกับ 12 นโยบายเร่งด่วนภารกจิ ต่อเน่ือง พ.ศ. 2564 12 ภารกิจ “เรง่ ดว่ น” ท่ีจะต้อง “จับต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธกิ าร กศน. (นายวรทั พฤกษาทวีกลุ ) “คนสำราญ งานสำเรจ็ ” ข้อ 8 สง่ เสริม สนบั สนนุ การฝึกอาชพี เพอื่ การมงี านทำ “Re-Skill Up-Skill และ ออกใบรบั รองความรู้ความสามารถ” ข้อ 9 ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มกบั ทุกภาคีเครือขา่ ยและภาคเอกชนในการฝกึ อาชีพและ ส่งเสรมิ การตลาด เพ่อื ยกระดับผลติ ภณั ฑ์/สินค้า กศน. ขยายชอ่ งทางการจำหนา่ ย ภารกจิ ตอ่ เน่อื ง ขอ้ 1.3 การศกึ ษาต่อเนื่อง ข้อ 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำอย่างย่ังยืน โดยให้ความสำคัญกับการจัด การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และ อาชีพเฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพ้ืนท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพ ชมุ ชน โดยจัดให้มีหน่ึงอาชีพเด่น รวมท้ังให้มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพือ่ การมีงานทำอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนื่อง 2.5 สอดคล้องกบั พันธกิจของสำนักงาน กศน.จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ พนั ธกิจที่ 2 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ท่มี ีคุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจำเป็นใน โลกศตวรรษท่ี 21

4 พันธกิจที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตร รูปแบบการจัดการ เรยี นรู้ สื่อและนวตั กรรม การวจิ ยั การวดั ผลและประเมนิ ผล ใหส้ อดคล้องกบั บริบทในพืน้ ท่ี พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานำเทคโนโลยีทางการศึกษา และ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใช้ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ พันธกิจท่ี 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2.6 สอดคล้องกบั พนั ธกจิ ของ กศน.อำเภอทบั สะแก พันธกจิ ที่ 1 จัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหผ้ ู้เรยี น/ ผูร้ ับบริการ ทุกกลุ่ม ทกุ ช่วงวัย มโี อกาสการเรียนร้อู ยา่ งตอ่ เน่ืองอยา่ งทั่วถึงและมีคุณภาพ พันธกิจท่ี 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรียนรู้พร้อม รับการเปลยี่ นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 พนั ธกิจท่ี 5 สถานศึกษาสง่ เสริมและพฒั นาแหล่งเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย พันธกิจท่ี 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ และนวัตกรรมทสี่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของชุมชน พันธกิจท่ี 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย 2.7 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานการศึกษาตอ่ เน่ือง มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเน่อื ง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรยี นรกู้ ารศึกษาตอ่ เนื่อง มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงกำร 1. เพื่อส่งเสรมิ ให้ประชาชนในตำบลห้วยยาง ไดฝ้ กึ ทักษะอาชพี ตามความต้องการของตนเอง 2. เพอื่ สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ในการพฒั นาอาชีพและแก้ไขปญั หาในกลุ่มอาชีพของตนเอง ขอบเขตของโครงกำร การรายงานคร้ังนี้เป็นการรายงานผลการดำเนินงานตาม โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน. ตำบลห้วยยาง หลกั สตู รการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบา้ น พื้นบ้าน จำนวน 9 ชวั่ โมง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานท่ี ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบล ห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในการจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง ดำเนินการในเนื้อหาสาระ ดังน้ี 1) ชีแ้ จงความสำคญั ของ โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน กศน.ตำบลหว้ ยยาง หลักสตู รการทำสบจู่ ากสมุนไพรพน้ื บ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง

5 2) ชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงค์ แนวทางการจัดกจิ กรรมหลักสตู รการทำสบู่จากสมุนไพร พืน้ บา้ น 3) รูปแบบกิจกรรม “อบรมให้ความรู้รปู แบบกลมุ่ สนใจ” 4) เทคนคิ การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอน เพ่ือสร้างกระบวนการใหค้ วามรู้ หลกั สูตรการทำสบจู่ ากสมนุ ไพรพนื้ บ้าน 2. แหลง่ ข้อมลู /ผู้ใหข้ อ้ มลู ในการรายงานคร้ังนี้ ประกอบดว้ ย 1) แหล่งขอ้ มลู ประเภทเอกสาร/หลักฐาน 2) อนิ เตอร์เนต็ เพ่ือคน้ หาขอ้ มูล 3) เอกสาร/แผน่ ความรู้ ของ กศน.ตำบลห้วยยาง 3. แหล่งข้อมลู ประเภทบุคคล วิทยากร ประกอบด้วย นางสาวจิรวดี ทอดสนทิ ประโยชน์ที่คำดวำ่ จะ ประชไาดชน้รไบัดร้ บั ความรู้เร่ืองการทำสบู่จากสมนุ ไพรพน้ื บ้านและสามารถนำความรู้ ไปพฒั นา ชวี ิตท่ดี ีและดำรงชีวิตในสงั คมไดอ้ ย่างเป็นสุขสามารถมองเห็นชอ่ งทางในการประกอบอาชีพหรอื พฒั นา อาชีพที่ทำอยู่ได้อย่างเหมาะสม วิธีดำเนิ นกำร ข้ันตอนการทำงาน การดำเนินงานกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ปีงบประมาณ 2564 ใน โครงการศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รปู แบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพ้ืนบ้าน พื้นบ้าน จำนวน 9 ชั่วโมง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 สถานท่ี ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้ ดำเนินการตามกระบวนการของการดำเนินงาน วงจรคุณภาพ PDCA ซ่ึงประกอบด้วย ขั้นตอน 4 ขนั้ ตอน คือ วางแผน-ปฏิบตั ิ-ตรวจสอบ-ปรับปรุงการดำเนนิ กิจกรรม ดงั นี้ 1. การวางแผนการดำเนินงาน ( P ) ครู กศน.ตำบลหว้ ยยาง ดำเนินการศกึ ษาขอ้ มูลเบือ้ งตน้ ของชุมชน โดยทำการสำรวจ สภาพปญั หาความต้องการของชุมชนและประชาชนผู้รบั บริการเพื่อนำมาสูก่ ระบวนการวเิ คราะห์ข้อมูล จากแผนพัฒนาตำบล การเข้าร่วมประชุมหมู่บ้าน และการร่วมปฏิบัติงานกับหน่วยงานราชการอำเภอ ทับสะแกและภาคเี ครือขา่ ยท่ีเกีย่ วขอ้ ง พรอ้ มนำขอ้ มลู ท่ไี ดม้ าดำเนนิ การวางแผนการดำเนินงาน ดงั นี้ 1.1 วิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการของชุมชน/ผู้รับบริการ โดยสรุปปัญหาท่ีสำคัญ มากไปถึงน้อยท่ีสุดและสามารถดำเนินการจัดการกระบวนการเรียนรู้ให้กับชุมชนและกลุ่มเป้าหมาย วิเคราะหค์ วามต้องการของผ้รู บั บริการจากข้อมลู แบบสำรวจ

6 1.2 ผูบ้ ริหารและบุคลากร กศน.อำเภอทับสะแก ร่วมประชุมวางแผนการดำเนินงาน และทำความเข้าใจกรอบแนวทางการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ให้มีความ สอดคล้องกบั นโยบายของ สำนักงาน กศน. 1.3 ผู้บริหารและครู กศน.ตำบล ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย / วัตถุประสงค์ในการ ดำเนินงาน จากการสำรวจสภาพปัญหาความต้องการด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และวางแผน ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมายและวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณและการใช้ วัสดุตามที่ได้รบั จัดสรรงบประมาณจากส่วนกลาง ประสานงานวทิ ยากร,ภูมปิ ัญญา และภาคเี ครือข่ายท่ี เก่ียวข้อง 1.4 ครู กศน.ตำบลห้วยยาง และวทิ ยากรที่มีความร้แู ละประสบการณ์นำข้อมูลท่ีได้ จากการสำรวจมาวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการเพ่ือออกแบบกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนผู้รับบริการแต่ละกิจกรรมและหลักสูตร โดยออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยสอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาล , สำนักงาน กศน.และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเป็นหลั ก และใช้ กระบวนการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ/แบบมสี ว่ นร่วม 1.5 ครู กศน.ตำบลห้วยยาง เสนอแผนการดำเนินงาน / เสนอโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน พื้นบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ในระหว่างวันที่ 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 13 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตอ่ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา เพ่ือขออนุมตั ไิ ปยังสถานศึกษาตน้ สังกัด 1.6 ครู กศน.ตำบล ขออนุญาตดำเนินการจัดกจิ รรม โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน พื้นบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานท่ี ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จากผู้บริหาร สถานศึกษา 1.7 เตรียม สื่อ อปุ กรณ์การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดย ประสานงานผูเ้ ก่ยี วข้องในการ จัดกิจกรรม และขอรับการสนับสนุนด้านสื่อ อุปกรณ์จากภาคีเครือข่ายต่างๆ เช่น องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ , ชุมชน ฯลฯ 1.8 สถานศึกษาดำเนินการจดั ทำแผนการนเิ ทศตดิ ตามผลการจดั กจิ กรรม/โครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน พื้นบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลาหม่บู ้าน ม.3 ตำบลหว้ ยยาง อำเภอทบั สะแก จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ 2. การปฏบิ ตั ิงาน (D) ก า ร ด ำ เนิ น ง า น จั ด กิ จ ก ร ร ม ก ร ะ บ ว น ก า ร เรี ย น รู้ กิ จ ก ร ร ม ก า ร ศึ ก ษ า เพ่ื อ พั ฒ น า อ า ชี พ ปีงบประมาณ 2564 ใน โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลมุ่ สนใจ หลักสตู ร การทำสบู่จากสมุนไพรพ้ืนบ้าน พ้ืนบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานท่ี ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอ ทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามแผนท่ีได้รับการอนุมัติ ได้ดำเนินการปฏิบัติงาน ไปตาม แผนงานวธิ กี ารและขัน้ ตอนทไ่ี ด้กำหนดไว้ดังน้ี

7 1. จดั ทำหลักสูตรระยะสัน้ ซึ่งมคี วามสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของประชาชน ผู้รับบริการในการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบล ห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน พ้ืนบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ใน ระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานท่ี ศาลา หมบู่ ้าน ม.3 ตำบลหว้ ยยาง อำเภอทบั สะแก จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ 2. ขออนมุ ตั ิหลกั สตู รระยะสั้น - หลกั สูตรการทำสบ่จู ากสมุนไพรพนื้ บา้ น จำนวน 9 ชัว่ โมง 3. ขออนญุ าตจัดตง้ั ชน้ั เรยี น - หลกั สูตรการทำสบจู่ ากสมุนไพรพนื้ บ้าน จำนวน 9 ชั่วโมง ให้กับ ประชาชนพื้นที่ตำบลห้วยยาง ในระหว่างวันที่ 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 13 เดือน มีนาคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบครี ขี ันธ์ 4. ขออนุญาตจดั การศกึ ษาตอ่ เนอื่ งรูปแบบกลุม่ สนใจ หลักสูตรการทำสบจู่ าก สมุนไพรพ้นื บ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง 5. แตง่ ต้ังวทิ ยากรผสู้ อน - หลักสูตรการทำสบู่จากสมนุ ไพรพนื้ บา้ น จำนวน 9 ชวั่ โมง วิทยากร คือ นางสาวจิรวดี ทอดสนิท 6. จัดทำแผนการสอนหลกั สูตรระยะส้ัน หลักสูตรการทำสบจู่ ากสมุนไพรพื้นบา้ น จำนวน 9 ชว่ั โมง 7. ดำเนินการเปดิ สอนหลักสตู รระยะส้นั โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน กศน.ตำบล หว้ ยยาง รูปแบบกลุม่ สนใจ หลกั สตู รการทำสบจู่ ากสมนุ ไพรพืน้ บา้ น จำนวน 9 ชว่ั โมง 8. ดำเนนิ การประเมนิ ผลผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม 3. การตดิ ตามและประเมินผล ( C ) ในการติดตามและประเมินผลโดยการใช้แบบสอบถามความพึงพอใจของผ้เู รียน ผู้รับบริการการศึกษานอกโรงเรียน ของศูนย์ก/ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ทับสะแก ในการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาอาชีพ ปีงบประมาณ 2563 ตาม โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน กศน. ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพ้ืนบ้าน จำนวน 9 ชั่วโมง เป็นการ ติดตามและประเมินผลการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ซึ่งในการติดตามและประเมินผลโดยใช้ เครื่องมือต่างๆในการติดตามและประเมินผล คือ (1) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน/ ผู้รบั บริการการศกึ ษานอกโรงเรยี น ( 2 ) แบบติดตามนเิ ทศ (3 ) แบบวัดผลประเมินผลการเรยี น เครอ่ื งมอื ในการเกบ็ ข้อมูล 1. แบบสอบถามความคิดเห็นผเู้ ขา้ อบรม เปน็ แบบสอบถามความคิดเห็นผูเ้ ข้าอบรมท่ี ผู้รับผดิ ชอบโครงการสร้างขึ้น มที งั้ หมด 4 ตอน ประกอบด้วย ตอนท่ี 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบเติมคำ สอบถามตำแหน่งที่ปฏิบัติงาน เพศ อายุ และประสบการณก์ ารทำงาน กศน.

8 ตอนท่ี 2 สอบถามข้อมูลด้านกระบวนการในการอบรมและการนำไปใช้ที่ตรงกับความ ตอ้ งการและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่องาน มีลักษณะเป็นแบบสอบถามชนดิ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) กำหนดระดับความคิดเหน็ ต่อเนือ้ หาการประชุม 5 ระดบั แบ่งเป็นเนอ้ื หา ดังนี้ 1) ขอ้ มลู ด้านความรู้ความเขา้ ใจ 2) ข้อมูลความม่ันใจในการนำไปใช้ ตอนท่ี 3 สอบถามความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม มีลักษณะเป็นแบบสอบถามชนิด มาตราสว่ น ประมาณค่า (Rating Scales) กำหนดระดบั ความคิดเหน็ ตอ่ เนอ้ื หาการอบรม 5 ระดับ ตอนที่ 4 ขอ้ คิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ เปน็ แบบเติมคำ เกณฑ์การให้คะแนน ในการกำหนดคะแนนของตัวเลือกสำหรับแบบสอบถามที่เป็น แบบ สอบถามมาตราส่วนประมาณค่าในตอนที่ 2 และตอนท่ี 3 น้ัน ผู้รับผิดชอบโครงการได้กำหนด คะแนนออกเปน็ 5 ระดับ คือ ค่าเฉล่ีย 0.51 - 1.50 หมายถึง มีความคิดเห็นว่าเป็นกระบวนการที่ตรงกับความ ตอ้ งการสามารถนำไปใช้ประโยชนต์ อ่ งานและมีความพึงพอใจปรับปรงุ ค่าเฉลี่ย 1.51 - 2.50 หมายถึง มีความคิดเห็นว่าเป็นกระบวนการท่ีตรงกับความ ตอ้ งการสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ต่องานและมีความพึงพอใจน้อย ค่าเฉลี่ย 2.51 - 3.50 หมายถึง มีความคิดเห็นว่าเป็นกระบวนการที่ตรงกับความ ตอ้ งการสามารถนำไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ งานและมีความพึงพอใจปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.51 - 4.50 หมายถึง มีความคิดเห็นว่าเป็นกระบวนการท่ีตรงกับความ ตอ้ งการสามารถนำไปใช้ประโยชน์ตอ่ งานและมีความพึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ย 4.51 - 5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นว่าเป็นกระบวนการที่ตรงกับความ ต้องการสามารถนำไปใชป้ ระโยชนต์ ่องานและมีความพึงพอใจมากที่สดุ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีใช้ในการประเมินคร้ังน้ี ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินการตาม ขั้นตอนดงั ต่อไปน้ี 1. แจกแบบสอบถามความคดิ เหน็ ผู้เข้าอบรม 2. เกบ็ รวบรวมสรปุ แบบสอบถาม การวเิ คราะหข์ ้อมูล 8 วธิ กี ารวิเคราะหข์ ้อมลู ใชค้ า่ สถิติรอ้ ยละและคา่ เฉล่ีย เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในการทำก๋วยเต๋ียวลยุ สวนและการทำสลดั โรล 2. ผเู้ ข้ารับการอบรมมผี ลการเรียนท่ีผา่ น

9 ผลการดำเนินงาน 1. สภาพการดำเนินงานโครงการ 1) จดั อบรมตามโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน กศน.ตำบลหว้ ยยาง รูปแบบกลมุ่ สนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ชั่วโมง ให้กับประชาชนพ้ืนท่ีตำบล ห้วยยาง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลหว้ ยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ วิทยากรจำนวน 1 คน เป็นผูถ้ า่ ยทอดความรู้ให้กับผ้เู ขา้ รบั การอบรม 2) รูปแบบการอบรมเป็นการอบรมรูปแบบกลุ่มสนใจ 3) อบรมให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ใน เรื่องหลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพร พ้ืนบ้าน จำนวน 9 ชวั่ โมง 4) เสริมสร้างทักษะในการทำสบู่จากสมนุ ไพรพนื้ บ้าน 5) ให้ผู้เข้ารับการอบรมที่เข้ารับการอบรมสามารถ นำความรู้ที่ ได้ไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั ได้อย่างเหมาะสม 6) ให้ผู้เข้ารับการอบรมที่เข้ารับการอบรม นำเสนอแนวทาง ไปประยุกต์ใช้กับ ชวี ติ ประจำวันได้ 7) สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการต่อ กศน.อำเภอ ผู้เกี่ยวข้องและรายงานกลุ่ม แผนงานโครงการ 2. ผลการดำเนินงานโครงการ 2.1 จำนวนผู้เข้ารว่ มโครงการ โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลมุ่ สนใจ หลักสูตร การทำสบ่จู ากสมุนไพรพน้ื บา้ น จำนวน 9 ชว่ั โมง เชงิ ปริมาณ ประกอบดว้ ย ผ้เู ขา้ รับการอบรมตำบลห้วยยาง อำเภอทบั สะแก จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ จำนวนรวมท้งั สนิ้ 10 คน เชงิ คณุ ภาพ ผ้เู ข้ารับการอบรมมีได้รับความรู้การทำสบู่จากสมนุ ไพรพื้นบา้ น และสามารถนำ ความรู้ไปพัฒนาชีวิตที่ดีและดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเป็นสุข สามารถมองเห็นช่องทางในการ ประกอบอาชพี หรือพฒั นาอาชพี ที่ทำอยู่ได้อย่างเหมาะสม ระยะเวลาทีด่ ำเนินการ หลักสูตรการทำสบจู่ ากสมุนไพรพน้ื บา้ น จำนวน 9 ชวั่ โมง ในระหว่างวันที่ 11 เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลา หมบู่ า้ น ม.3 ตำบลหว้ ยยาง อำเภอทบั สะแก จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ การใชจ้ า่ ยงบประมาณ - ค่าวิทยากร เปน็ เงิน 1,800 บาท - คา่ วสั ดอุ ุปกรณ์ เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเปน็ เงนิ 2,800 บาท

10 2.1.2 ผลการประเมินความพึงพอใจ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำ สบู่จากสมุนไพรพนื้ บ้าน จำนวน 9 ชว่ั โมง ตาราง 1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลสว่ นบุคคล ประชากร จำนวน จำนวนผเู้ ขา้ รว่ ม ร้อยละ ทง้ั หมด (n = 10) ประชาชน 10 10 100 รวม 10 10 100 จากตาราง 1 จำนวนผู้เขา้ อบรมตอบแบบสอบถามท้ังหมด 10 คนจากผู้เขา้ อบรมท้ังหมด 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เม่ือจำแนกตามตำแหน่งในการปฏิบัติงาน ผู้เข้าอบรมส่วนมาก เป็น ผู้ ประชาชน ตำบลห้วยยาง 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ตาราง 2 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ความพงึ พอใจของผรู้ ับการอบรม ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ค่าเฉล่ยี S.D. แปลผล ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หา 4.80 0.42 มากทส่ี ดุ 1 เน้อื หาตรงตามความต้องการ 4.80 0.42 มากทส่ี ดุ 2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 4.70 0.48 มากที่สดุ 3 เนอื้ หาปัจจุบันทนั สมัย 4.90 0.32 มากที่สดุ 4 เน้ือหามปี ระโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม 4.80 0.42 มากทส่ี ดุ 5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 4.70 0.48 มากท่ีสดุ 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 4.80 0.42 มากที่สุด 7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.70 0.48 มากท่สี ดุ 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย 4.90 0.32 มากที่สดุ 9 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร 4.80 0.42 มากที่สดุ 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องทีถ่ า่ ยทอด 4.60 0.52 มากที่สดุ 11 วทิ ยากรมีเทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 4.50 0.53 มากทส่ี ุด 12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนร่วมและซกั ถาม ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก 4.40 0.52 มาก 13 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสง่ิ อำนวยความสะดวก 4.50 0.53 มากทีส่ ุด 14 การสอ่ื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ การเรียนรู้ 4.50 0.53 มากทส่ี ุด 15 การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา 4.69 0.49 มากทส่ี ดุ รวม

11 จากตาราง 2 พบว่า ความพึงพอใจของประชาชน ท่ีมตี ่อการการจดั โครงการศูนยฝ์ ึก่คำเฉ ่ีลย อาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ให้กับประชาชนพื้นท่ีตำบลห้วยยาง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึง วันท่ี 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานท่ี ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์ โดยรวมอยู่ในระดบั มากทส่ี ุด (  = 4.69) เมือ่ พิจารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า สว่ นดมี าก อยู่ในระดับ ดมี าก (  = 4.90) คอื เน้อื หามีประโยชน์ตอ่ การนำไปใช้ใน การพัฒนาคุณภาพชีวติ และวิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ รองลงมา อยู่ในระดบั ดมี าก (  =4.80) คือ เนือ้ หาตรงตามความตอ้ งการ การจัด กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา และ วิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในเรือ่ งท่ีถ่ายทอด คา่ เฉลี่ยต่ำสุด อยใู่ นระดับดี (  = 4.50) คอื วิทยากรเปิดโอกาสให้มสี ่วนรว่ มและ ซักถาม การส่ือสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และการบริการ การช่วยเหลือและการ แก้ปัญหา กรำฟแสดงควำมพึงพอใจของผเู้ ข้ำอบรม 5.00 4.90 4.80 4.70 4.60 4.50 4.40 4.30 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ชดุ ขอ้ มลู 1 4.80 4.80 4.70 4.90 4.80 4.70 4.80 4.70 4.90 4.80 4.60 4.50 ตาราง 2.1.3 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลการ เปา้ หมายการบรรลุ หมาย ดำเนนิ งาน บรรลุ ไม่บรรลุ เหตุ 1) ผู้เข้ารับการอบรมได้อบรมและฝกึ การจดั ทกุ คน ✓ หลกั สูตรการทำสบจู่ ากสมุนไพรพ้นื บา้ น ทกุ คน จำนวน 9 ชั่วโมง มีความพึง ✓ 2) ผเู้ ขา้ รับการอบรมมีความพึงพอใจและมี พอใจ ระดับ ความรู้ ความเข้าใจ ตอ่ การจัดโครงการศูนย์ฝึก ในระดับ มากท่สี ุด อาชพี ชุมชนตำบลหว้ ยยาง หลักสูตรการทำสบู่ มากข้ึนไป จากสมนุ ไพรพืน้ บ้าน จำนวน 9 ชว่ั โมง

12 ผลการวิเคราะห์แบบการติดตามผ้จู บหลักสตู รการศกึ ษาต่อเนื่อง จากการตดิ ตามผู้จบตามแบบตดิ ตามผูจ้ บหลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนื่องโดยการใช้ แบบสอบถามกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ชั่วโมง ให้กบั ประชาชนพ้ืนที่ ตำบลห้วยยาง ในระหว่างวันที่ 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบว่า บุคคลผู้จบ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง โดยการใช้แบบติดตาม ผู้จบหลักสูตร การนำความรู้/ทักษะไปใช้ประโยชน์ หลักจากจบหลักสูตร ดังน้ี 1) ลดรายจ่ายในครัวเรือน 2) เพ่ิมรายได้โดยการประกอบอาชีพ 3) ประกอบอาชพี 4) อ่ืน ๆ (โดยระบุ) เช่น การเพมิ่ ทกั ษะชีวติ และไมไ่ ดน้ ำไปใช้ประโยชน์ สรุปผลการติดตามผ้จู บหลักสตู รการจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง กิจกรรมการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ ปีงบประมาณ 2564 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่ม สนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพ้ืนบ้าน จำนวน 9 ชั่วโมง ให้กับประชาชนพื้นที่ตำบล ห้วยยาง ในระหว่างวันที่ 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานท่ี ศาลาหมู่บา้ น ม.3 ตำบลหว้ ยยาง อำเภอทบั สะแก จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ การนำความรู้ / ทักษะไปใช้ประโยชนห์ ลงั จากจบหลักสูตร (คน) จำนวน จำนวน ประ ลด วทิ ยากร ขยายผล อนื่ ๆ รวม ไมไ่ ด้ ผูเ้ รยี น ผจู้ บ กอบ รายจ่าย เพิ่ม (คน) นำไปใช้ (คน) หลกั สตู ร อาชพี แหล่ง ทักษะ ประโยชน์ (คน) ใน เรียน จดั ตง้ั กลุม่ / (คน) ครวั เรือน รู้ ชมรม 10 10 5 -- - 5 10 - คดิ เปน็ ร้อยละ - 5 -- - 5 10 - จากตารางพบว่าผู้จบหลักสูตร ได้นำความรู้ /ทักษะไปใช้ประโยชน์หลังจากจบหลักสูตร ดังนี้ ลด รายจา่ ยในครวั เรอื นเพิ่มทักษะ จำนวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 50 เพิม่ ทักษะ จำนวน 5 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 50 การปรบั ปรุงและพัฒนา (A) ในปีงบประมาณ 2565 จัดกิจกรรมให้ครอบคลุมทุกพื้นท่ีในตำบลห้วยยางและส่งเสริมให้ ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจผู้ที่เข้ารับการอบรมควรนำความรู้และประสบการณ์ไปถ่ายทอดให้กับ ประชาชนในชุมชน แนะนำการทำกิจกรรมทไ่ี ด้รบั มาไปเผยแพร่ให้เกดิ ประโยชน์กับประชาชนในชุมชน

13 สรุป 1. จดุ เด่นของโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชนตำบลหว้ ยยาง รูปแบบกลุม่ สนใจ 1.1 หลกั สูตรการทำสบจู่ ากสมนุ ไพรพนื้ บ้าน จำนวน 9 ชัว่ โมง ใหก้ บั ประชาชนพ้ืนที่ตำบลห้วยยาง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 13 เดือน มีนาคม พ.ศ.2564 สถานท่ี ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์ มผี ลการประเมนิ ความพงึ พอใจ โดยรวมอยใู่ นระดับ มากท่สี ุด (X̅= 4.69) 1.2 ผู้เข้ารับการอบรมท่ีเข้ารับได้เรียนรู้ เทคนิค/วิธีการจัดกิจกรรมของ วทิ ยากร 1.3 การจดั กิจกรรมการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี โครงการศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพ้ืนบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ให้กับประชาชนพ้ืนที่ตำบลห้วยยาง ในระหว่างวันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึง วันที่ 13 เดือนมีนาคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เกิดจากการสำรวจข้อมูลความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี จึงมีข้อมูลความ ต้องการของชุมชน และประชาชนใหค้ วามรว่ มมือเข้ารว่ มกิจกรรมจำนวนมากด้วยความเตม็ ใจ กิจกรรม ท่ีจดั มคี วามหลากหลาย 2. จดุ ทค่ี วรพัฒนาของโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชนตำบลหว้ ยยาง ควรมีติดตามและใหค้ ำแนะนำเพ่มิ เติมหลังจากเข้ารว่ มกิจกรรมของผจู้ ดั 3. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นาโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชนตำบลห้วยยาง ผูท้ ี่เขา้ รบั การอบรมควรนำความรู้และประสบการณ์ไปถา่ ยทอดให้กับประชาชนในชมุ ชน แนะนำการทำกิจกรรมที่ได้รบั มาไปเผยแพร่ใหเ้ กิดประโยชน์กบั ประชาชนในชุมชน

14 ภาคผนวก

15 ภาพกิจกรรมโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลมุ่ สนใจ หลักสูตรการทำสบจู่ ากสมนุ ไพรพื้นบา้ น จำนวน 9 ช่ัวโมง ในระหวา่ งวนั ท่ี 11 เดอื นมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวนั ท่ี 13 เดอื นมนี าคม พ.ศ.2564 สถานที่ ศาลาหมู่บา้ น ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ .

16 แบบรายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ 2564 โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน กศน. อำเภอทับสะแก 1. ชื่อโครงการ โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง (รูปแบบกลุ่มสนใจ) หลกั สตู รการทำสบูจ่ ากสมุนไพรพื้นบา้ น จำนวน 9 ช่วั โมง 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน 2.2 สอดคล้องกบั แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวัยและการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. เรยี นรกู้ ารใช้ดิจทิ ัล เพือ่ ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมือสำหรับหาชอ่ งทางในการสร้างอาชพี 2. จัดทำหลักสตู รพัฒนาอาชีพท่เี หมาะสมสำหรับผ้ทู ่ีเข้าสู่สังคมสงู วยั 2.4 สอดคล้องกับ 12 นโยบายเรง่ ด่วนภารกจิ ตอ่ เนือ่ ง พ.ศ. 2564 12 ภารกจิ “เรง่ ดว่ น” ท่ีจะต้อง “จบั ต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธกิ าร กศน. (นายวรัท พฤกษาทวกี ลุ ) “คนสำราญ งานสำเร็จ” ขอ้ 8 ส่งเสริม สนบั สนนุ การฝึกอาชพี เพ่อื การมงี านทำ “Re-Skill Up-Skill และ ออกใบรบั รองความรูค้ วามสามารถ” ขอ้ 9 สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมกับทุกภาคเี ครอื ข่ายและภาคเอกชนในการฝกึ อาชีพและ ส่งเสรมิ การตลาด เพ่อื ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์/สนิ ค้า กศน. ขยายช่องทางการจำหน่าย ภารกจิ ต่อเน่ือง ขอ้ 1.3 การศกึ ษาต่อเน่ือง ข้อ 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอย่างยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับการจัด การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และ อาชีพเฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพ้ืนท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน โดยจัดให้มีหน่ึงอาชีพเด่น รวมทั้งให้มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพอ่ื การมงี านทำอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่ือง

17 2.5 สอดคลอ้ งกบั พันธกิจของสำนกั งาน กศน.จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ พันธกิจท่ี 2 สง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ท่ีมีคุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจำเป็นใน โลกศตวรรษท่ี 21 พันธกิจท่ี 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตร รูปแบบการจัดการ เรียนรู้ สือ่ และนวตั กรรม การวิจัย การวดั ผลและประเมินผล ให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทในพื้นท่ี พันธกิจท่ี 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานำเทคโนโลยีทางการศึกษา และ เทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใช้ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ พันธกิจท่ี 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.6 สอดคลอ้ งกับพนั ธกจิ ของ กศน.อำเภอทบั สะแก พันธกจิ ที่ 1 จดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้ผเู้ รยี น/ ผู้รับบริการ ทกุ กลุม่ ทกุ ชว่ งวยั มโี อกาสการเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื งอยา่ งทวั่ ถึงและมีคุณภาพ พันธกิจที่ 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรียนรู้พร้อม รบั การเปล่ยี นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 พันธกิจที่ 5 สถานศึกษาส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรทู้ หี่ ลากหลาย พันธกิจที่ 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ และนวัตกรรมท่สี อดคลอ้ งกบั บริบทของชมุ ชน พันธกิจที่ 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด กิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2.7 สอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตอ่ เน่ือง มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ้ รยี นการศึกษาต่อเน่อื ง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรยี นรู้การศึกษาต่อเน่ือง มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา 3. หลักการและเหตุผล สำนักงาน กศน.ได้ดำเนินการจัดให้มีโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยใช้สถานศึกษา กศน. และ กศน.ตำบล หรอื แขวง เป็นฐานการจัดกจิ กรรมให้แกป่ ระชาชนกลุ่มเป้าหมายในพืน้ ทีบ่ รกิ าร โดยมี ความเชื่อม่ันว่าโครงการดังกล่าวจะช่วยให้ประชาชนในระดับฐานรากท่ีมีรายได้น้อยและขาดโอกาสใน การเพิ่มรายได้อันเป็นเง่ือนไขสำคัญของการเกิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจที่ส่งผลให้ฐานเศรษฐกิจ ของประเทศไทยไม่เข้มแข็งอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน การจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจึง เป็นการจัดการศึกษาให้กับประชาชนที่มีอาชีพอยู่แล้วและต้องการต่อยอดอาชีพเดิม เพื่อให้มีทักษะ อาชีพ สามารถนำความรู้และทักษะไปใช้เพื่อสร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนท้องถิ่น โดยให้ สถานศึกษาใช้ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนที่จัดตั้งไว้ หรือ กศน.ตำบล หรือในชุมชน หรือสถานท่ีของภาคี เครือข่าย ซึ่งรูปแบบการจัดแบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบพัฒนาอาชีพหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ันไม่เกิน 30 ชั่วโมง(กลุ่มสนใจ) และแบบชั้นเรียนวิชาชีพ 30 ช่ัวโมงขึ้นไป และส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีเพื่อ การพฒั นาอาชพี ในอนั ท่ีจะประกอบอาชพี ทส่ี ร้างรายได้ไดจ้ ริง

18 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทับสะแก โดย กศน.ตำบลห้วยยาง จึง ได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น โดยเน้นความรู้และทักษะอาชีพในเชิง เศรษฐกิจ ที่สอดคล้องกับสภาพของแต่ละพื้นที่ ให้ผู้เรียนมีทักษะความชำนาญเฉพาะเรื่อง สามารถ เพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนการผลิต มีความรู้และทักษะในการจัดการระบบบัญชี การตลาด และการ บรหิ ารจดั การ อย่างครบวงจร มองเห็นช่องทางการประกอบอาชพี หรอื เป็นผ้ปู ระกอบการเองได้ หรือ รวมกลมุ่ กันประกอบอาชีพไดแ้ ละร้จู กั นำเทคโนโลยีมาใชเ้ พ่ือพัฒนาอาชีพ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อสง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนผูเ้ รียนได้มโี อกาสเลือกฝึกทักษะอาชีพและเขา้ ส่อู าชีพทตี่ นเองถนัด ได้ อยา่ งเหมาะสม 4.2 เพ่อื ส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรใู้ นการพัฒนาอาชีพและแกไ้ ขปญั หาในกล่มุ อาชพี ของ ตนเอง 5. ผลการดำเนินงาน เชงิ ปรมิ าณ กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป จำนวน 7 คน (ทง้ั ป)ี ผลการดำเนินงาน จำนวน 7 คน เชงิ คณุ ภาพ - ผู้เรยี นมีโอกาสเลือกฝึกทักษะอาชพี และเข้าส่อู าชพี ท่ีตนเองถนดั ได้ อยา่ งเหมาะสม - ผเู้ รียนมกี ระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแกไ้ ขปัญหาในกลมุ่ อาชีพของ ตนเอง 6.กิจกรรมทีด่ ำเนินการ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน พน้ื ที่ดำเนนิ การ ระยะเวลา งบ (คน) (คน) ในการ ประมาณ งาน/โครงการ/ 7 ศาลาหมู่ 3 ตำบล ดำเนนิ งาน (บาท) ที่ กจิ กรรม/ ชาย หญิง รวม ห้วยยาง อำเภอ 2,800.00 7 ทบั สะแก จงั หวดั 11-13 หลกั สูตร ประจวบครี ขี ันธ์ มนี าคม 2564 2,800.00 1 หลักสูตรการทำ สบจู่ ากสมนุ ไพร พ้นื บา้ น จำนวน 9 ชว่ั โมง รวม 7. งบประมาณที่ไดร้ บั จัดสรรท้งั สน้ิ ใช้ไปจำนวน 2,800.00 บาท ได้รับจดั สรรจำนวน 2,800.00 บาท 8. จดุ เดน่ การจัดกิจกรรมการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบล ห้วยยาง

19 หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ระหว่างวันท่ี 11-13 มีนาคม 2564 สถานท่ี ศาลาหมู่บ้าน หมู่ 3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เกิดจากการ สำรวจข้อมูลความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี จงึ มีข้อมูลความต้องการของชุมชน และประชาชนให้ ความรว่ มมือเข้าร่วมกจิ กรรมจำนวนมากดว้ ยความเตม็ ใจ กจิ กรรมท่ีจดั มคี วามหลากหลาย 9. จดุ ควรพัฒนา ไมม่ ี 10.ปัญหาและอุปสรรค ไมม่ ี 11.ข้อเสนอแนะ ผู้ที่เขา้ รบั การอบรมควรนำความรู้และประสบการณไ์ ปถ่ายทอดให้กบั ประชาชนในชุมชน แนะนำการทำกิจกรรมท่ีได้รบั มาไปเผยแพร่ให้เกดิ ประโยชน์กับประชาชนในชุมชน 12.แนวทางเพ่ือการพฒั นาโครงการตอ่ ไป จดั กิจกรรมตามความต้องการของประชาชนในพื้นทีใ่ ห้มากทส่ี ุด

20 ภาพกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง รูปแบบกลมุ่ สนใจ หลักสตู รการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ระหวา่ งวันท่ี 11 – 13 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่ ศาลาหมบู่ า้ น หมู่ 3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทบั สะแก จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์

21 1. ชอ่ื โครงการ ศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง ปีงบประมาณ 2564 หลักสตู รการทำสบู่จากสมนุ ไพรพน้ื บ้าน จำนวน 9 ช่วั โมง หลกั สตู รการทำไตรโคเดอร์มา จำนวน 12 ชั่วโมง 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคน 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ช่วงวยั และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. เรยี นร้กู ารใชด้ ิจทิ ัล เพือ่ ใช้เป็นเครอื่ งมอื สำหรบั หาช่องทางในการสรา้ งอาชีพ 2. จัดทำหลกั สูตรพฒั นาอาชีพทเ่ี หมาะสมสำหรับผทู้ ีเ่ ข้าสสู่ งั คมสงู วัย 2.4 สอดคลอ้ งกับ 12 นโยบายเรง่ ด่วนภารกจิ ต่อเนื่อง พ.ศ. 2564 12 ภารกิจ “เร่งดว่ น” ที่จะต้อง “จบั ต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธกิ าร กศน. (นายวรัท พฤกษาทวีกลุ ) “คนสำราญ งานสำเรจ็ ” ข้อ 8 สง่ เสริม สนบั สนุนการฝกึ อาชีพเพอื่ การมงี านทำ “Re-Skill Up-Skill และ ออกใบรับรองความรู้ความสามารถ” ข้อ 9 ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมกบั ทกุ ภาคเี ครือข่ายและภาคเอกชนในการฝกึ อาชพี และ ส่งเสรมิ การตลาด เพือ่ ยกระดับผลติ ภัณฑ์/สินค้า กศน. ขยายช่องทางการจำหน่าย ภารกจิ ต่อเนอ่ื ง ขอ้ 1.3 การศึกษาต่อเน่ือง ข้อ 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอย่างยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับการจัด การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และ อาชีพเฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพื้นท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพ ชมุ ชน โดยจัดให้มีหน่ึงอาชีพเด่น รวมทั้งให้มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพอ่ื การมีงานทำอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง 2.5 สอดคลอ้ งกับพนั ธกิจของสำนกั งาน กศน.จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ พนั ธกิจที่ 2 สง่ เสริม สนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ทม่ี ีคุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวติ ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จำเป็นใน โลกศตวรรษท่ี 21 พันธกิจท่ี 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตร รูปแบบการจัดการ เรยี นรู้ สือ่ และนวัตกรรม การวจิ ยั การวดั ผลและประเมนิ ผล ให้สอดคลอ้ งกบั บริบทในพ้นื ท่ี

22 พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานำเทคโนโลยีทางการศึกษา และ เทคโนโลยีดิจิทลั มาใชใ้ นการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พันธกิจที่ 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2.6 สอดคล้องกบั พันธกิจของ กศน.อำเภอทับสะแก พันธกิจที่ 1 จดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหผ้ เู้ รยี น/ ผรู้ บั บริการ ทกุ กล่มุ ทกุ ช่วงวยั มีโอกาสการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ืองอยา่ งทั่วถงึ และมีคุณภาพ พันธกิจที่ 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรียนรู้พร้อม รบั การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 พนั ธกจิ ที่ 5 สถานศึกษาส่งเสริมและพฒั นาแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย พันธกิจท่ี 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ และนวัตกรรมทสี่ อดคล้องกบั บริบทของชมุ ชน พันธกิจท่ี 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย 2.7 สอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี นการศกึ ษาต่อเนื่อง มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การเรียนร้กู ารศึกษาตอ่ เน่ือง มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา 3. หลักการและเหตผุ ล สำนักงาน กศน.ได้ดำเนินการจัดให้มีโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยใช้สถานศึกษา กศน. และ กศน.ตำบล หรือแขวง เปน็ ฐานการจัดกิจกรรมให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพืน้ ท่ีบรกิ าร โดยมี ความเช่ือมั่นว่าโครงการดังกล่าวจะช่วยให้ประชาชนในระดับฐานรากท่ีมีรายได้น้อยและขาดโอกาสใน การเพิ่มรายได้อันเป็นเง่ือนไขสำคัญของการเกิดความเหล่ือมล้ำทางเศรษฐกิจท่ีส่งผลให้ฐานเศรษฐกิจ ของประเทศไทยไม่เข้มแข็งอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน การจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจึง เป็นการจัดการศึกษาให้กับประชาชนที่มีอาชีพอยู่แล้วและต้องการต่อยอดอาชีพเดิม เพื่อให้มีทักษะ อาชีพ สามารถนำความรู้และทักษะไปใช้เพื่อสร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนท้องถ่ิน โดยให้ สถานศึกษาใช้ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนที่จัดต้ังไว้ หรือ กศน.ตำบล หรือในชุมชน หรือสถานที่ของภาคี เครือข่าย ซึ่งรูปแบบการจัดแบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบพัฒนาอาชีพหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นไม่เกิน 30 ชั่วโมง(กลุ่มสนใจ) และแบบชั้นเรียนวิชาชีพ 30 ช่ัวโมงข้ึนไป และส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีเพื่อ การพัฒนาอาชพี ในอันทีจ่ ะประกอบอาชพี ทสี่ ร้างรายไดไ้ ด้จรงิ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอทับสะแก โดย กศน.ตำบลห้วยยาง จึง ได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ปีงบประมาณ 2564 ข้ึน โดยเน้นความรู้และทักษะอาชีพในเชิง เศรษฐกิจ ท่ีสอดคล้องกับสภาพของแต่ละพื้นท่ี ให้ผู้เรียนมีทักษะความชำนาญเฉพาะเร่ือง สามารถ

23 เพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนการผลิต มีความรู้และทักษะในการจัดการระบบบัญชี การตลาด และการ บรหิ ารจัดการ อย่างครบวงจร มองเหน็ ช่องทางการประกอบอาชีพหรือเป็นผปู้ ระกอบการเองได้ หรือ รวมกลุม่ กนั ประกอบอาชีพไดแ้ ละรู้จกั นำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อพัฒนาอาชีพ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพ่อื สง่ เสริมให้ผู้เรียนผ้เู รียนไดม้ ีโอกาสเลอื กฝกึ ทักษะอาชีพและเขา้ ส่อู าชีพท่ตี นเองถนัด ได้ อย่างเหมาะสม 4.2 เพอ่ื สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นร้ใู นการพัฒนาอาชพี และแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชพี ของ ตนเอง 5. เปา้ หมาย 5.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ ประชาชนทั่วไป จำนวน 14 คน 5.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เรียนมีโอกาสเลือกฝึกทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพท่ีตนเองถนัดได้ อย่าง เหมาะสม 5.2.2 ผเู้ รียนมกี ระบวนการเรียนรู้ในการพฒั นาอาชพี และแกไ้ ขปัญหาในกลุ่มอาชีพ ของตนเอง 6. วธิ กี ารดำเนินงาน กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบ 1 คน ดำเนนิ การ ต.ค. 63 ประมาณ 1. ขน้ั วางแผน(Plan) เพอื่ ให้การดำเนินงาน - ผอ.กศน. 4 คน กศน.อำเภอ - - 1.1 ประชุมวางแผน ตามโครงการมี อำเภอทบั สะแก ทบั สะแก ธ.ค. 63 2,800 ปฏิบตั งิ าน ประสิทธภิ าพ - บุคลากร 11-13 1.2 แตง่ ตงั้ คณะทำงาน กศน.อำเภอ 1.3 จดั ทำโครงการ ทบั สะแก และขออนุมัติโครงการ 1.4 ประชาสมั พนั ธ์ 2.ข้นั ดำเนินงาน 1.เพือ่ สง่ เสริมให้ (Do) ผเู้ รยี นผู้เรยี นไดม้ ี ดำเนินการตามแผน โอกาสเลอื กฝึกทักษะ จัดกิจกรรมแบบพฒั นา อาชพี ระยะสัน้ ไม่เกนิ อาชพี และเข้าสู่อาชพี 30 ช่วั โมง (กล่มุ สนใจ ) ที่ตนเองถนดั ได้ - หลกั สตู รการทำสบู่ อยา่ งเหมาะสม - ประชาชน 7 คน ม.3 ตำบล

24 กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบ ดำเนนิ การ ประมาณ จากสมุนไพรพ้นื บ้าน มีนาคม จำนวน 9 ชัว่ โมง 2. เพ่ือสง่ เสริม ทว่ั ไป หว้ ยยาง 2564 3,400 - หลักสตู รการทำไตร โคเดอร์มา จำนวน 12 กระบวนการเรยี นรู้ 12-15 ชว่ั โมง มนี าคม ในการพฒั นาอาชีพ - ประชาชน 6 คน กศน.ตำบล 2564 ท่ัวไป หว้ ยยาง และแก้ไขปัญหาใน กลมุ่ อาชีพของตนเอง 3. ขน้ั ตรวจสอบ 1.เพอ่ื ประเมนิ ความ คณะกรรมการที่ 5 คน กศน.ตำบล มนี าคม - - (Check) เป็นไปได้ของ รับผิดชอบฝ่าย ห้วยยาง 2564 3.1 การประเมินผล โครงการ วัดผลและ ก่อนดำเนินโครงการ 2.เพอ่ื ประเมิน ประเมนิ ผล 3.2 การประเมิน ความก้าวหน้า ระหวา่ งดำเนินการ โครงการ 3.3 การประเมนิ เมื่อ 3.เพ่อื ประเมิน เสรจ็ สิ้นโครงการ ผลสำเร็จของ โครงการ 4. ขัน้ ปรับปรุงแก้ไข เพอื่ ปรับปรุงแก้ไข คณะกรรมการที่ 5 คน กศน.อำเภอ มีนาคม (Action) และพัฒนาการ รบั ผดิ ชอบฝา่ ย ทบั สะแก 2564 4.1 รวบรวมข้อมูล ดำเนินโครงการ รายงานผล วิเคราะหข์ ้อมูล สรปุ และจัดทำรายงานการ ประเมินโครงการ 4.2 ประชมุ คณะทำงานเพอ่ื นำ ขอ้ มลู จากการประเมนิ โครงการไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพฒั นา ดำเนินโครงการต่อไป 7. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 จากแผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพ่ือ ความยั่งยืน โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาท่ีย่ังยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบ รายจ่ายอื่น จำนวนเงิน 6,200 บาท (หกพันสองร้อยบาทถ้วน) หลกั สตู รการทำสบูจ่ ากสมนุ ไพรพน้ื บา้ น จำนวน 9 ชั่วโมง - คา่ วิทยากร เปน็ เงนิ 1,800 บาท - ค่าวัสดุ เป็นเงนิ 1,000 บาท

25 หลักสตู รการทำไตรโคเดอรม์ า จำนวน 12 ชัว่ โมง - ค่าวิทยากร เป็นเงนิ 2,400 บาท - คา่ วสั ดุ เป็นเงนิ 1,000 บาท 8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค. 63) (ม.ค.-ม.ี ค. 64) (เม.ย.-ม.ิ ย. 64) (ก.ค.-ก.ย. 64) กิจกรรมหลกั 2,800 1. ดำเนนิ การตามแผนจัดกจิ กรรมแบบ 3,400 พัฒนาอาชีพระยะสนั้ ไมเ่ กิน 30 ชว่ั โมง (กล่มุ สนใจ ) 6,200 - หลักสูตรการทำสบ่จู ากสมนุ ไพร พ้ืนบ้าน จำนวน 9 ชว่ั โมง - หลกั สตู รการทำไตรโคเดอร์มา จำนวน 12 ชว่ั โมง 2. การตดิ ตามและประเมนิ ผล 3. การรายงานและพัฒนาการจัด กจิ กรรม รวม 9. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ ครู อาสาสมัคร กศน. 9.1 นางสมุ ติ รา สุขอวบอ่อง ครู กศน.ตำบลหว้ ยยาง 9.2 นางสาวสมิตา โชติดาว 10. เครอื ขา่ ย 10.1 องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลห้วยยาง 10.2 ผู้นำชุมชนตำบลหว้ ยยาง 11. โครงการทีเ่ กี่ยวข้อง 11.1 โครงการการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวิต 11.2 โครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 11.3 โครงการการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั

26 12. ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้เรียนได้มีโอกาสเลือกฝึกทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพท่ีตนเองถนัดได้ อย่างเหมาะสมมี กระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของตนเอง และมองเห็นช่อง ทางการประกอบอาชพี หรือรวมกลุ่มกันประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 13. ตัวชวี้ ดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1. ตัวชี้วดั ผลผลิต (Out put) -ร้อยละ 80 ของผเู้ รียนมคี วามพงึ พอใจในระดบั มากขึ้นไป -ร้อยละ 80 ของผู้เรียนมีโอกาสเลอื กฝกึ ทกั ษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพทีต่ นเองถนดั ได้ อยา่ งเหมาะสม -รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไข ปญั หาในกลมุ่ อาชพี ของตนเอง 13.2. ตัวชี้วดั ผลลัพธ์(Outcome) -ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเลือกฝึกทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพท่ี ตนเองถนัดได้ อย่างเหมาะสม มีกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพ ของตนเอง และได้พัฒนาอาชีพดว้ ยนวัตกรรมเทคโนโลยี

27

28 แผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยากร นางสาวสมิตา โชติดาว หลักสูตรการทำสบู่จากสมนุ ไพรพน้ื บ้าน จำนวน 3 ช่ัวโมง กล่มุ ท2่ี วันที่ 13 เดือน กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2564 สถานทจ่ี ดั กศน.ตำบลห้วยยาง ตำบลหว้ ยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ วนั เดือน ปี เวลา กระบวนการจัดการเรยี นรู้ จำนวนช่วั โมง หมายเหตุ ทฤษฎี ปฏิบัติ เรยี นวนั ละ 3 ชม. 13 กมุ ภาพนั ธ์ 09.00 – 12.00 น - บรรยายเรอ่ื งความรู้ 12 2564 เบ้ืองตน้ เกี่ยวกับการทำเจล แอลกอฮอลล์ า้ งมือ - ฝึกปฏิบัติทกั ษะในการทำ เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ

29 แบบ กศ.ตน.1๖ บันทึกข้อความ สว่ นราชการ กศน.ตำบลหว้ ยยาง กศน.อำเภอทับสะแก โทร. 0 3254 6102 ท่ี ศธ 0210.4403 /0522 วนั ท่ี 4 มีนาคม 2564 เร่ือง ขออนุญาตจัดการศึกษาต่อเน่ืองรูปแบบกลมุ่ สนใจ หลักสตู รการทำสบู่จากสมุนไพรพ้นื บ้าน จำนวน 9 ชัว่ โมง เรียน ผ้อู ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทบั สะแก ดว้ ย กศน.ตำบลห้วยยาง มีความประสงค์ ขออนญุ าตจัดการศกึ ษาต่อเน่ืองรูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ชั่วโมง ให้กับประชาชนตำบลห้วยยาง สถานท่ีจัด ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระหว่างวันที่ 11 - 13 เดือน มีนาคม พ.ศ.2564 ตั้งแตเ่ วลา 09.00 น ถึง 12.00 น จำนวน 3 ชั่วโมง มีผูเ้ รยี นจำนวนรวมทง้ั หมด 7 คน รายช่อื ดงั แนบ โดย มี นางสาวจริ วดี ทอดสนิท เปน็ วทิ ยากรให้ความรู้ ในส่วนอุปกรณ์การเรยี นการสอนที่มีอยู่แล้ว คือ ใบความรู้ เปิดสอน หลกั สตู รการทำสบู่ จากสมุนไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง กศน.ตำบลห้วยยาง กศน.อำเภอทับสะแก โดยขอใช้เงิน งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน งบรายจ่ายอ่ืน ค่าใช้จ่ายโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ประเภทงบ 2000234752700019 รหัสกิจกรรมหลัก 200027700P2713 ภายในวงเงิน 2,800 บาท ( สองพนั แปดร้อย บาทถว้ น ) รายละเอียดดังแนบ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา 1. อนุญาตให้เปิดสอน หลักสูตรการทำสบู่จากสมุนไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระหว่างวันท่ี 11 - 13 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564 2. อนุมัติหลักการจัดซ้ือจัดจ้างพัสดุ ดังรายละเอียดที่แนบ สำหรับการเปิดสอนฯ ภายในวงเงิน 1,000.00 บาท ( หนึ่งพันบาทถ้วน ) 3. ลงนามในคำสง่ั แต่งต้ังวิทยากร (นางสาวสมิตา โชติดาว) หัวหน้า กศน.ตำบลหว้ ยยาง

30 ใบลงทะเบียนผสู้ มัครเรียนหลกั สูตรการจดั การศึกษาต่อเนอื่ ง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับสะแก จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ โครงการ/วิชา พฒั นาอาชพี หลักสตู รการทำสบจู่ ากสมนุ ไพรพน้ื บา้ น จำนวน 9 ชวั่ โมง ระหวา่ งวันที่ 11 – 13 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่ ศาลาหมบู่ า้ น ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ ที่ ชอ่ื -สกุล เลขบัตร อายุ วุฒิ อาชพี ทีอ่ ยู่ปัจจบุ นั หมาย ประชาชน การศกึ ษา เหตุ 1 นางสาวนันทวรรณ โคกอ่อน 3100900390429 42 ม.6 เกษตรกร 51/9 ม.3 ต.หว้ ยยาง 2 นางยุพา รว่ มกำเหนิด 3770302589460 60 ป.6 เกษตรกร 95/9 ม.3 ต.หว้ ยยาง 3 นางบรรทม ทอดสนิท 3770300424254 54 ป.6 เกษตรกร 155 ม.3 ต.ห้วยยาง 4 นางกานดา ครึกคร้ืน 3770300458892 56 ป.6 เกษตรกร 157/6 ม.11 ต.หว้ ยยาง 5 นางสาววราภรณ์ ลลติ มงคล 3770200252729 49 ม.6 เกษตรกร 51/4 ม.11 ต.ห้วยยาง 6 นางพนิดา รงุ่ แจ้ง 1770300097541 50 ป.6 เกษตรกร 14/2 ม.3 ต.ห้วยยาง 7 นางกาญจนา รุ่งแจ้ง 3770300512927 25 ป.6 เกษตรกร 8/3 ม.3 ต.ห้วยยาง 8 นายสมชาย แดงสงิ ห์ 1779900142481 30 ป.6 เกษตรกร 50/5 ม.3 ต.ห้วยยาง 9 นางยุพนิ ทอดสนทิ 1770400088292 51 ป.6 เกษตรกร 51/9 ม.11 ต.ห้วยยาง 10 นางสมพร ตะเพียนทอง 3740100498882 43 ป.6 เกษตรกร 157/1 ม.3 ต.หว้ ยยาง ลงชื่อ (นางสาวสมิตา โชติดาว) ครู กศน.ตำบลห้วยยาง

31 แบบ กศ.ตน.3 ( สำเนา ) คำส่งั ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทบั สะแก ที่ 37 / 2564 เรื่อง แต่งต้ังวิทยากรการศกึ ษาต่อเน่ือง ...................................... ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทับสะแก ตำบลห้วยยาง ดำเนินการจัดการศึกษาต่อเนอ่ื ง  รูปแบบกลุ่มสนใจ  รูปแบบชน้ั เรยี น หลักสูตรการทำสบู่จาก สมุนไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ช่ัวโมง ให้กับประชาชนท่ัวไปที่สนใจ ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สถานท่ีจัด ณ ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระหว่างวันที่ 11 - 13 เดือน มีนาคม พ.ศ.2564 ตั้งแต่เวลา 09.00 น ถึงเวลา 12.00 น. วันละ 3 ช่ัวโมง จำนวนวันท่ีเปิด สอน 3 วนั มีผ้เู รยี นเปน็ รวมจำนวนเรียน 7 คน อาศยั ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยการจัดการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง พ.ศ. 2554 จงึ แต่งต้ังให้ บุคคลดังตอ่ ไปนี้ 1. นางสาวจริ ดี ทอดสนิท เป็นวทิ ยากร 2. นางสาวสมติ า โชตดิ าว เปน็ ผชู้ ่วยวทิ ยากร โดยให้วิทยากรเบิกค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม ฝึกอบรม ประชาชนของสถานศึกษาสำนักงาน กศน. ที่กระทรวงการคลังและสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กำหนด ทั้งน้ี วันท่ี 11 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 13 เดือนมนี าคม พ.ศ. 2564 สัง่ ณ วนั ที่ 4 เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2564 (นางมณรี ัตน์ อัจฉริยพันธกุล) ผ้อู ำนวยการกศน. อำเภอทบั สะแก

32 แบบประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมทะเบยี นผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรม โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน กศน.ตำบลห้วยยาง โครงการ/วิชา พัฒนาอาชีพ หลักสูตรการทำสบูจ่ ากสมุนไพรพน้ื บา้ น จำนวน 9 ชว่ั โมง ระหว่างวนั ที่ 11 – 13 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 สถานท่ี ศาลาหมบู่ า้ น ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ คา่ เฉลี่ย S.D. แปลผล ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หา 4.80 0.42 มากที่สุด 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ 4.80 0.42 มากทส่ี ดุ 2 เน้อื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.70 0.48 มากทส่ี ุด 3 เนอ้ื หาปจั จบุ ันทนั สมัย 4.90 0.32 มากทีส่ ดุ 4 เนอื้ หามปี ระโยชนต์ อ่ การนำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 4.80 0.42 มากท่ีสุด 5 การเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม 4.70 0.48 มากทีส่ ุด 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 4.80 0.42 มากทสี่ ดุ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 4.70 0.48 มากท่สี ดุ 8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกล่มุ เป้าหมาย 4.90 0.32 มากที่สดุ 9 วธิ กี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 4.80 0.42 มากที่สุด 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรือ่ งท่ีถ่ายทอด 4.60 0.52 มากทส่ี ุด 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 4.50 0.53 มากท่ีสุด 12 วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีส่วนร่วมและซักถาม ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก 4.40 0.52 มาก 13 สถานที่ วสั ดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 4.50 0.53 มากทีส่ ดุ 14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 4.50 0.53 มากทส่ี ุด 15 การบริการ การช่วยเหลอื และการแก้ปัญหา 4.69 0.49 มากท่สี ดุ รวม

33 แบบตดิ ตามผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมประชาชนหลังจบหลักสูตร กศน.ตำบลหว้ ยยาง กศน.อำเภอทับสะแก จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ โครงการ/วิชา พฒั นาอาชีพ หลักสูตรการทำสบ่จู ากสมนุ ไพรพื้นบ้าน จำนวน 9 ชัว่ โมง ระหวา่ งวันที่ 11 – 13 เดือนมนี าคม พ.ศ. 2564 สถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ม.3 ตำบลห้วยยาง อำเภอทับสะแก จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ คำชแ้ี จง แบบติดตามผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมประชาชนหลงั จบหลักสูตร มวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาและ รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับประโยชนท์ ีผ่ ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมได้รับหลงั จากการฝึกอบรมจบหลักสูตรแลว้ การนำไปใช้ประโยชน์ ท่ี ช่ือ-นามสกุลผู้เรยี น ลดรายจ่าย เพ่มิ รายได้ พัฒนา นำไปประกอบอาชีพ อน่ื ๆ (ระบุ) คณุ ภาพชีวติ 1 นางสาวนนั ทวรรณ โคกอ่อน ✓ 2 นางยุพา ร่วมกำเหนดิ ✓ 3 นางบรรทม ทอดสนิท ✓ 4 นางกานดา ครึกครนื้ ✓ 5 นางสาววราภรณ์ ลลติ มงคล ✓ 6 นางพนิดา รุง่ แจ้ง ✓ 7 นางกาญจนา ร่งุ แจ้ง ✓ 8 นายสมชาย แดงสิงห์ ✓ 9 นางยุพิน ทอดสนิท ✓ 10 นางสมพร ตะเพยี นทอง ✓

34 คณะผู้จดั ทำ ท่ปี รกึ ษา ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอทับสะแก ครู นางมณรี ัตน์ อจั ฉรยิ พันธกุล ครผู ู้ชว่ ย นายสรุ พงษ์ อนนั ต์ธนสาร นางสาวภิชชากร ชรู ัตน์ วิทยากรและคณะทำงาน วทิ ยากร นางสาวสมติ า โชติดาว ครู กศน.ตำบล นางสาวสมิตา โชตดิ าว ผสู้ รุปรายงานและจดั ทำรูปเลม่ ครู กศน.ตำบล นางสาวสมิตา โชตดิ าว ครูผู้ชว่ ย ครู กศน.ตำบล ออกแบบปก นายสุรพงษ์ อนนั ต์ธนสาร นางสาวสมติ า โชตดิ าว

35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook