Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานเครื่องปั่นผ้าเพื่อสุขภาพ

โครงงานเครื่องปั่นผ้าเพื่อสุขภาพ

Published by ครูจูน ปู้นปู้น, 2022-08-30 06:44:50

Description: โครงงานเครื่องปั่นผ้าเพื่อสุขภาพ

Search

Read the Text Version

1

2 โครงงานวทิ ยาศาสตร เรื่อง เคร่ืองปน ผาเพื่อสขุ ภาพ จดั ทำโดย นกั ศกึ ษา กศน.เทศบาลตำบลคลองวาฬ ครทู ่ปี รึกษา นางสาวสมติ า โชติดาว ครู กศน.เทศบาลตำบลคลองวาฬ ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองประจวบคีรขี ันธ รายงานฉบับนเี้ ปน สวนหนึ่งของการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร สำหรับนักศกึ ษา กศน. ระดับอำเภอ ดานการใชแ ละการอนรุ ักษพ ลังงานไฟฟาเพอ่ื ชีวิตและสงั คมประจำป พ.ศ.2565

ก3 บทคดั ยอ โครงงานวิทยาศาสตร เรื่อง เครื่องปนผาเพื่อสุขภาพ ดานการใชและการอนุรักษพลังงานไฟฟาเพ่ือ ชีวิตและสังคม ประจำป พ.ศ. 2565 จัดทำขึ้นเปนโครงงานทางเลือกในการใชแทนเครื่องซักผา อีกทั้งยัง สามารถใชเ ปน เคร่ืองออกกำลังกายไดดวย หลกั การทำงานคือใชกำลงั ขับโดยใชมือหมุนหรือการขับเคลื่อนจาก การปนจกั รยานขบั เคลือ่ นแกนเพลาใหห มนุ แลว อาศยั แรงเหว่ียงจากการหมุนแกนเพลา ดังกลา วทำใหสามารถ ที่จะซักผาซึง่ อยูในตะกราไดเหมอื นกับเคร่ืองซักผาทั่วไป และหลักการทำงานดงั กลาวก็ สามารถที่จะปนผาให แหงไดดว ย มีวตั ถปุ ระสงค (1) เพือ่ เปน โครงงานทางเลือกทดแทนการใชพ ลงั งานไฟฟา ได ประหยดั คาไฟฟาใน ครัวเรือน (2) เพื่อใชเปนเครื่องซักผาใหเกิดความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัย และ (3) เพื่อออกแบบการ ทำงานใหเปนเครื่องออกกำลังกายไดในเครื่องเดียวกัน สำหรับโครงงานดังกลาวสามารถนำมาทดแทนการใช พลังงาน ไฟฟาได 100 เปอรเซ็นต คณะตัวแทนนักศึกษา ครู กศน.เทศบาลตำบลคลองวาฬ หวังวาโครงงาน ดังกลาวจะจุดประกายความคิดในการพัฒนาและประยุกตใชโดยการนำวัสดุเหลือที่ไมใชแลวในชุมชนหรือ ครัวเรือน เชน ถังน้ำ ตะกรา จักรยาน ฯลฯ มาตอยอดความคิดและพัฒนาเปนนวัตกรรมใหมๆ เพื่อลดการใช พลังงานไฟฟา และชวยแกปญหาของคนในชุมชนใหมีความสะดวกในการทำงานดานอาชีพตางๆ สามารถลด เวลาการทำงาน และมสี ขุ ภาพทแี่ ข็งแรง คณะผูจัดทำมีวิธีการดำเนินการศึกษา คือประชุม กำหนดปญหาและวางแผนการปฏิบัติงาน แบงหนาที่รับผิดชอบวางแผนการปฏบิ ตั ิ ศึกษา คนควาขอมูลที่เกี่ยวของ และสามารถนำมาประยกุ ตใชไดจริง ลงมือปฏิบตั ิโครงงานประดษิ ฐ สรปุ และรายงานผลตอ ครทู ีป่ รึกษา พัฒนา และปรับปรงุ แกไ ข โดยสืบคน ขอมูล จาก จากอินเทอรเ นต็ สอบถามจากผรู แู ลว นำมาสรุปเปน องคความรผู ลการศึกษาพบวา คณะผูจัดทำโครงงาน มีความรู ความเขาใจถึงหลักการประดิษฐเครื่องปนผาเพื่อสุขภาพมากขึ้นจาก เดมิ ทง้ั นเี้ ปนเพราะคณะผจู ัดทำโครงงานไดศกึ ษาหาความรจู ากการเรยี นวิชาวิทยาศาสตร จากการคนควาทาง สื่อตางๆ และจากการสอบถามผูรู ทำใหมีความรู ความเขาใจถึงหลักการประดิษฐเครื่องปนผาเพื่อสุขภาพ เพม่ิ ข้นึ สามารถออกแบบ และประดษิ ฐ “เคร่อื งปน ผาเพ่อื สขุ ภาพ” ไดอ ยา งถูกตอ งตามหลกั การใชงานไดจ ริง

4ข กติ ติกรรมประกาศ โครงงานวทิ ยาศาสตร เรือ่ ง “เครื่องปนผาเพ่ือสุขภาพ” ดา นการใชแ ละการอนรุ ักษพลังงานไฟฟาเพื่อ ชีวิตและสังคม ประจำป พ.ศ. 2565 สามารถดำเนินการจัดทำไดเปนผลสำเร็จ ซึ่งทางคณะผูจัดโครงงานตอง ขอขอบพระคุณ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ ที่ สนับสนุบงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ และขอขอบคุณผูที่มีสวนเกี่ยวของในการสนับสนุนชวยเหลือ และใหคำปรึกษา แนะนำ จนทำใหโครงงานนี้สำเร็จลุลวงดวยดี คณะผูจัดทำโครงงานขอขอบพระคุณนางมณี รัตน อัจฉริยพันธกุล ผูอำนวย กศน.อำเภอเมืองประจวบคีรขี ันธ ที่ใหการชว ยเหลอื ดานเครื่องมือ อุปกรณใน การจัดทำโครงงาน ตลอดจนครูที่ปรึกษา นางสาวสมิตา โชติดาว ครู กศน.เทศบาลตำบลคลองวาฬ ที่คอย แนะนำชวยเหลือ และแกปญหาตางๆ ใหการดำเนินการจัดทำโครงงานเปนไปอยางราบรื่นและเปนผลสำเร็จ ในท่สี ดุ จึงขอขอบพระคณุ ทกุ ทา นท่ีไดกลา วมา ณ ที่นดี้ ว ย คณะผจู ัดทำโครงงาน กศน.เทศบาลตำบลคลองวาฬ

สารบัญ ค5 บทคัดยอ บทนำ หนา กิตตกิ รรมประกาศ แนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และหลักฐานที่เกยี่ วของ ก สารบัญ แผนปฏบิ ัติงาน อปุ กรณแ ละวิธีการดำเนนิ การ ข บทที่ 1 ผลการดำเนนิ การ ค บทท่ี 2 สรุป อภปิ รายผลและขอ เสนอแนะ 1 บทที่ 3 3 บทท่ี 4 9 บทท่ี 5 15 บรรณานุกรม 16 18

1 บทท่ี 1 บทนำ ท่ีมาและความสำคญั ของโครงงาน นวัตกรรมเครื่องชักผา ในปจจุบันมีพัฒนาการที่มีความกาวหนาทันสมัยมากกวาเกา มีคุณสมบัติท่ี หลากหลายชวยอำนวยความสะดวกแกผูบริโภค แตมีราคาคอนขางสูงมาก ทำใหผูบริโภคบางกลุม เชน นักศึกษาที่อยูหอพัก บางครอบครัวทีม่ ี ประชาชนผูมีรายไดนอ ย ผูสูงอายุบางคนยังคงตองใชการชกั ผา ดวยวิธี แบบเดิมดวยการซักมือ นักศึกษา กศน.เทศบาลตำบลคลองวาฬ ไดมองเห็นถึงปญหาเหลานี้ จากคนใน ครอบครัว เพื่อนนักศึกษาดวยกันและเพื่อนรวมงานที่อยูห อพักที่มรี ายไดนอยจึงไดรวมกลุม กันจัดทำโครงงาน สิ่งประดิษฐ เครื่องปนผาเพื่อสุขภาพ ซึ่งเดิมนักศึกษา กศน.เทศบาลตำบลคลองวาฬ ไดศึกษาจากไมถูพื้น แบบถังปน ที่มีกระบวนการปนผาถูพื้นดวยการใชการใชเทาเหยียบและจากการศึกษาหาความรูใน อนิ เตอรเนต็ นกั ศึกษา กศน.เทศบาลตำบลคลองวาฬจึงนำความรูและแนวทางจากการศึกษามาประยุกตใชกับ ผลงานสิ่งประดิษฐ เครื่องซักปนผาเพื่อสุขภาพ โดยการเลือกใชวัสดุอุปกรณในการประดิษฐที่มีความคงทน แข็งแรง มีในครัวเรือน หาซื้องายตามทองตลาด ราคาไมแพงจนเกินไป เพื่อใหประชาชนและนักศึกษาที่มี รายไดนอย สามารถซื้อวัสดุอุปกรณนำมาประดิษฐ เครื่องปนผาเพื่อสุขภาพ เองไดเครื่องปนผาเพื่อสุขภาพ เปนนวตั กรรมที่มคี วามแข็งแรง ซกั ผาสะอาด เคล่ือนยา ยไดสะดวก ราคาสบายกระเปา จึงไดมีการวางแผนและศึกษาโครงงานเคร่ืองปนผาเพ่ือสขุ ภาพขึ้น โดยยึดหลกั แรงหมุนและแรงเสยี ด ทานของเคร่อื งซักผา มา จำลองทำและทดลองดูปรากฏวา ไดผลทำใหผ า สะอาดไดอ ยา งรวดเรว็ ประหยดั ไฟเปน โครงงานทางเลือกเปนเครือ่ งซกั ผาหรือเครือ่ งปน ผาใหแ หงไดอีกดวย จากความคิดดังกลาวทางคณะผูจ ัดทำได รวมปรึกษาหารือกับครูที่ปรึกษาแลวไดไอเดีย โดยการนำจักรยานมาชวยในการออกแรงขับเพลาเพื่อใหเกิด ความรวดเร็วในการปนยิ่งขึ้น รวมถึงไดสามารถออกกำลังกายไดอีกดวย จึงไดคิดประดิษฐเครื่องปนผาเพื่อ สขุ ภาพ และสามารถหมุนดว ยมือไดอ ีกดว ย สามารถนำมาทดแทน การใชพลงั งานไฟฟา ได 100 เปอรเ ซ็นต วตั ถุประสงคข องโครงงาน 1. เพื่อเปน โครงงานทางเลือกทดแทนการใชพ ลังงานไฟฟาได ประหยดั คา ไฟฟาในครัวเรือน 2. เพ่ือใชเปน เครื่องซักผาใหเ กิดความสะดวกรวดเรว็ และปลอดภัย 3. เพอ่ื ออกแบบการทำงานใหเปน เคร่อื งออกกำลังกายไดในเครอ่ื งเดียวกนั สมมติฐานของการศึกษา การประดิษฐเคร่ืองปนผาเพื่อสุขภาพ เปนโครงงานทางเลือกทดแทนการใชพ ลงั งานไฟฟาได ในการ ซักผา ทำใหประหยัดคาไฟฟาในครัวเรอื น เกิดความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัย รวมทั้งเปนเครื่องออกกำลงั กายไดในเคร่ืองเดียวกัน

2 ขอบเขตการทำโครงงาน ตวั แปรทีใ่ ชใ นการศึกษา ตวั แปรตน : การออกแบบการทำงานของเครื่องปน ผาเพ่ือสุขภาพ ตัวแปรตาม : สามารถซักผา ทดแทนการใชพ ลงั งานไฟฟา ตัวแปรควบคุม : จำนวนผาหรือผาในตะกรา ชนิดของผาที่นำมาซักลางและปนรวมถึงความเร็วใน การปน นิยามศัพทเฉพาะ งานประดษิ ฐ หมายถงึ งานท่ีเกดิ จากการใชความคิดสรางสรรคข องมนษุ ยสรา งหรือประดษิ ฐขนึ้ ตาม วตั ถุประสงคท่หี ลากหลาย หรือเพ่ือความสวยงาม หรือเพ่ือประดบั ตกแตง หรอื เพ่อื ประโยชนใชสอย โครงงานทางเลือก หมายถงึ เปน โครงงานที่สามารถเลือกใชประโยชนไดต ามความตองการของผใู ชง าน นิยามเชงิ ปฏบิ ัติการ เคร่ืองปน ผา เพ่อื สขุ ภาพ หมายถงึ เปนโครงงานทางเลือกในการใชแ ทนเครื่องซกั ผา หรือใช เปนเครื่อง ลางผา เอนกประสงค อกี ท้ังยังสามารถใชเ ปน เคร่ืองออกกำาลังกายไดดว ย ปน หมายถึง การปนผาใหสะอาด เพื่อสุขภาพ หมายถึง การใชมือหมุนแกนเพลาใหหมุนเปนการออกกำลังไดในตัวเองควบคูกับการ ทำงานไปดว ย ขอบเขตการศกึ ษา ในการศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร ประเภทนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ ในครั้งนี้เปนการศึกษา ประสทิ ธภิ าพและหลกั การทำงานของโครงงานเครื่องปน ผา เพื่อสขุ ภาพ ซ่งึ เปนโครงงานทางเลอื กในการใชแทน เครอื่ งซักผาไฟฟา สามารถออกกำลงั กายไดใ นตัว อกี ทั้งสามารถนำมาทดแทนการใชพ ลังงานฟา อีกดว ย ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดรับ 1. ทดแทนการใชพลงั งานไฟฟา 2. มที างเลือกในการใชงาน เปนเครอื่ งซกั ผา 3. ไดท ำงานไปดว ยและออกกำลงั กายไปดวย 4. เกิดความสะดวกสบายรวดเร็วและปลอดภัย ลักษณะเดนของโครงงาน การประดิษฐเครื่องปนผาเพื่อสุขภาพ เปนโครงงานทางเลือกในการใชแทนเครื่องซักผา อีกทั้งยัง สามารถใชเ ปนเครื่องออกกำลังกายไดดว ย หลกั การทำงานคือใชกำลงั ขบั โดยใชมือหมุนหรือการขับเคลื่อนจาก การปนจักรยานขับเคลื่อนแกนเพลาใหหมุนแลวอาศัยแรงเหวี่ยงจากการหมุนแกนเพลา เปนการประหยัด พลงั งานไฟฟา มปี ระโยชน คมุ คา ในการดำเนนิ ชวี ติ และสงั คมไดอยางดี

3 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสาร และหลกั ฐานที่เกี่ยวของ ความรเู ก่ียวกับงานประดิษฐ ความหมายของงานประดิษฐ หมายถึง งานที่เกิดจากการใชความคิดสรางสรรคของมนุษยสรางหรอื ประดิษฐข ึน้ ตามวตั ถุประสงคท่ีหลากหลาย หรือเพอ่ื ความสวยงาม หรอื เพื่อประดับตกแตง หรือเพ่ือประโยชน ใชส อย ความเปนมาของงานประดิษฐสิ่งประดิษฐเกิดขึ้นเพราะมนุษยเปนผูสราง ผูพัฒนา ปรับปรุงและ เปลี่ยนแปลงแบบผลงานดวยความคิดสรางสรรคที่มีอยูในตัวบุคคล มีวัตถุประสงคในการสรางส่ิงประดิษฐเพอื่ ตอบสนอง ความตองการดานประโยชนใชสอย งานประดิษฐมีความสัมพันธและเกี่ยวของกับชีวิตประจำวัน ของคนต้ังแตส มัยโบราณ หลกั การสรางสรรคง านประดษิ ฐ การสรางสรรคงานประดิษฐใหประสบความสำเร็จนั้นผูเรียนตองมีความพอใจในการทำงานโดยยึด หลกั การดงั นี้ 1. หมนั่ ศึกษาหาความรูใ นงานท่ตี นสนใจ โดยศกึ ษาจากผูเช่ียวชาญจากสิง่ ประดษิ ฐท ่สี นใจ 2. ศึกษาหลักการวิธีการ หรือข้ันตอนการปฏบิ ตั งิ านในการประดษิ ฐช ้ินงานโดยวิเคราะหด วยตนเอง หรอื ศกึ ษาจากผูรู ผเู ช่ียวชาญ หรอื จากสื่อตางๆ 3. การทดลองการประดิษฐ ผูเรียนตองศึกษาคน ควาและทดลองปฏิบตั ติ ามแนวคิดที่ไดสรา งสรรคไว และมกี ารปรบั ปรงุ แกไ ข ขอบกพรองจนสำเรจ็ เปนชิ้นงานประดษิ ฐท พี่ ึงพอใจ ขอ มลู ประกอบสำหรับเครอ่ื งซักผาเพื่อสุขภาพ เครื่องซักผาและเครื่องปน ผาแหง เปน อุปกรณไฟฟา ทช่ี ว ยอำนวยความสะดวกใหกบั ชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะอยางยิ่งสำหรับครอบครวั ทีม่ เี วลาจำกดั

4 หลักการทาํ งานของเครื่องซกั ผา้

5

6 สะเตม็ ศึกษาคอื อะไร ส ะ เ ต ็ ม ศ ึ ก ษ า ( Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education) คือ แนวทางการจัดการศึกษาใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและสามารถบูรณาการความรูทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร ไปใชในการเชื่อมโยงและแกปญหา ใน ชวี ติ จรงิ รวมทั้งการพฒั นากระบวนการหรือผลผลติ ใหมควบคูไปกับการพัฒนาทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 ดังนั้น สะเต็มศึกษาจึงไมใชเรื่องใหม แตเปนการตอยอดหลักสูตรโดยบูรณาการการเรียนรูวิทยาศาสตร เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร เพ่ือนำไปใชแกป ญหาในชวี ิตจริง และการ ประกอบอาชีพ ในอนาคต สะเต็มศึกษาจึงสงเสริมการเรียนรูผานกิจกรรมหรือโครงงานที่มุงแกปญหาที่พบเห็นในชีวิตจริง เพื่อ สรางเสริมประสบการณทักษะชีวิต ความคิดสรางสรรค นำไปสูการสรางนวัตกรรม ผูเรียนที่มี ประสบการณใน การทำกิจกรรมหรือโครงงานสะเต็มจะมีความพรอมที่จะไปปฏิบัติงานที่ตองใชองคความรู และทักษะดาน วิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยีในภาคการผลิต และการบริการที่สำคัญตออนาคต ของประเทศ เชน การเกษตร อตุ สาหกรรม การพลังงาน การจัดการสิ่งแวดลอม การบริการสุขภาพ ลอจิสติกส อนึ่ง การทำกิจกรรมหรือโครงงานสะเต็มไมไดจำกัดอยูในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และ การงานอาชีพและเทคโนโลยี แตสามารถนำความรูในวิชาอื่น เชน ศิลปะ ภาษาไ ทย ภาษาอังกฤษ สุขศึกษา พลศกึ ษา มาบูรณาการไดอีกดวย

7 หลกั การทาํ งานของจกั รยาน ชุดขับเคลอ่ื น และ เกยี ร ชุดขับเคลื่อนเริ่มตนจาก บันได ไปทำการหมุนจานหนา ซึ่งเชื่อมติดอยูกับ ขาจานและ กะโหลก จักรยานโดยทั่วไปใช โซเพื่อขับเคลื่อนพลังงานไปยังลอหลัง จักรยานจำนวนนอย ใช เพลาในการขับเคลื่อน พลงั งาน หรอื อาจจะใชส ายพานแทน ชดุ ขบั เคลื่อนแบบไฮดรอลคิ ก็มีการพฒั นาข้นึ มา แตยังไมมีประสิทธิภาพ พอและยงั มีความซบั ซอ นอยูมาก ขาของนักปน มีประสิทธิภาพมากท่ีสุดในชว งรอบของการปนชว งหนึ่งของ รอบขา เปนตัวแปร ของ อัตราทดเกียรซึ่งจะชวยใหนักปน สามารถคงรอบการปนใหคงที่ ขณะที่พื้นทางเปลี่ยนไป จักรยานบางสวน ใช เกียรด ุมมอี ตั ราทดระหวา ง 3 - 14 เกียร แตโดยสว นมากใช ระบบตีนผี เปนตัวขยบั โซใ หเ ปลยี่ นไปมา ระหวาง เฟอง ทมี่ ีขนาดตาง ๆ กัน เรยี กวา จานหนา และ เฟอ งหลัง ตามลำดบั เพ่อื ใชเปลี่ยนอตั ราทด ระบบ ตนี ผีโดย ปกตจิ ะมี สองชุด ชดุ หนง่ึ จะอยูดานหนา ทำหนา ท่ีเลือก เปลย่ี นไปมาระหวาง จานหนา และ อีกชดุ หน่ึงจะอยู ดานหลังใชทำหนาที่เลือก เปลี่ยนไปมาระหวางเฟองหลังแตละตัว จักรยานสวนใหญจะมีจานหนา สองหรือ สามจาน และจะมีเฟองหลังหาถึงสิบเอ็ดเฟอง จำนวนเกียรทางทฤษฎี คำนวณไดโดย จำนวนของจาน หนา คูณดวยจำนวนของเฟองหลัง แตในความเปนจริง เกียรจะซ้ำกันหรือไมสามารถใชงานในแนวทแยงเกินไป ได ดังนนั้ จำนวนเกยี รท่ีใชไ ดจ รงิ จงึ นอ ยลง ทางเลือกอื่นของชุดขับเคลื่อนคือใชสายพานซึ่งมีฟนเล็ก ๆ อยูเพื่อทำหนาที่คลายเฟอง เปนที่นิยม สำหรับ เดนิ ทาง หรือการปน ทางไกลเพราะวา ไมตองการการบำรุงรกั ษาที่มาก แตม ีขอ เสยี คอื ไมส ามารถใชการ เปลี่ยนเกยี รดวยระบบตนี ผไี ด สามารถใชงานไดแบบ เกียรเ ดยี ว หรอื ตองใชง านแบบ เกียรดมุ เทานนั้ และยงั มี ระบบขับเคล่ือนดวยเพลาแตไ มไ ดร บั ความนิยม

8 ขนาดของเกียรและชวงเกียร จะมีความเหมาะสมแตกตางกันไปตามแตละบุคคล จักรยานที่มีหลาย เกียรนัก ปน สามารถเลือกใชเ กียร ใหเ หมาะสมไดตามแตล ะสถานการณ: นกั ปน อาจจะใชเกียรสงู เม่ือปนลงเขา เลือกใช เกยี รปานกลางสำหรับปนทางเรียบ และ ใชเ กียรต ่ำ เมือ่ ปนขนึ้ เขา การใชเกยี รต ำ่ หมายถึงการปน บันได หลาย ครั้ง แตเ ฟอ งหลงั จะหมุนเพียงเล็กนอยเทานั้น ซ่ึงจะทำใหลอ หลังหมนุ เล็กนอยเชนกัน ดังนน้ั ส่ิงนี้จะทำให การ ใชพ ลงั งานในการขับเคลอ่ื นโดยมรี ะยะทางเทากนั แตอ อกแรงหมุนบันไดนอยลง ทำใหสามารถเฉลี่ยแรงใน การ ปนได การปนขึ้นเขา ที่ตองออกแรงผลักมากขึ้น หรือการปนตานลมแรง หรือการปนโดยบรรทกุ น้ำหนัก มาก เกียรสูงจะใหความเร็วโดยการปนบันไดเพยี งเล็กนอย จะไปหมุนลอ หลงั หลายรอบ จะไดค วามเรว็ แต ตอง ออก แรงหมนุ บนั ไดมากข้ึน ดว ยการขบั เคล่ือนดว ยโซ จานหนา ท่ีตออยูกับขาจานจะเปนตัวขับเคล่ือนโซ เมอ่ื นักปน หมนุ บันได จะไป หมุน ลอ หลัง ผา นเฟอ งหลัง (เฟอ งหลงั หรือ ฟรลี อ หลัง) มสี ต่ี ัวเลอื กสำหรบั ชุดเกียร: ชุดจานหนา ที่มีเกียรดุม สองส ปด , จานหนา ทม่ี ีสามจาน, เฟองหลงั 11 เฟอ ง, เกยี รด มุ ทีล่ อหลัง (สามถึงสิบส่ีสปด) โดยทัว่ ไป จะใช เกียรดุม ที่ลอหลัง แตจานหนาแบบหลายจานรวมกนั และใชเฟองหลังหลายเฟอง (การประกอบแบบอื่น ๆ สามารถใช งานได แตไมค อ ยมีการใชง านกันโดยท่ัวไป) แรงเสยี ดทาน แรงเสียดทาน คือแรงท่ตี านการเคลอ่ื นทเ่ี ชงิ สมั พัทธห รอื แนวโนมของการเคล่ือนทีด่ ังกลาว ของพื้นผิวสองอยางที่สัมผัสกัน มักจะเกิดตรงขามกับแรงที่ทำใหวัตถุเคลื่อนที่เสมอ ผิวหนาสัมผัส จึงชวยลด แรงเสยี ดทาน ได โดยขนาดของแรงเสียดทานจะมากหรือนอย ขึ้นอยูกับ แรงหรือน้ำหนักที่หมุนลงไปบนพื้นผิวสัมผัส ซึ่งแรงนี้จะตั้งฉากกับผิวสัมผัส ถาแรงหมุนทับนี้ มาก แรง เสยี ดทานก็จะมีคา มากดว ย ลักษณะของผิวสัมผัสนั้น ๆ ถาผิวสัมผัสนั้นเรียบลื่น แรงเสียดทานก็จะมีคานอย ถาผิวสัมผัส หยาบหรอื ขรุขระ แรงเสยี ดทานกจ็ ะมีคา มาก

9 บทท่ี 3 วัสดุอุปกรณและวิธกี ารศกึ ษา โครงงานวิทยาศาสตรป ระเภทสงิ่ ประดิษฐ เรื่อง “เคร่ืองปนผา เพ่ือสุขภาพ” มวี ตั ถุประสงคเ พื่อ เปน โครงงานทางเลือก ทดแทนการใชพ ลังงานไฟฟาได ใชเ ปนเครื่องปนผาเอนกประสงคห รอื เครอ่ื งซักผาใหเกิด ความสะดวกรวดเรว็ และปลอดภยั ออกแบบการทำงานใหเ ปน เคร่อื งออกกำลงั กายไดใ นเครือ่ งเดียวกัน ซ่ึงมีวธิ ีดำเนนิ การดงั นี้ 1. วสั ดแุ ละอปุ กรณ 1.1 วสั ดุ (1) ถงั น้ำ ขนาด 20 ลิตร จำนวน 1 ถัง (2) ตะกราพลาสตกิ /ฝา จำนวน 1 ใบ (3) กะละมัง จำนวน 1 ใบ (4) แผน ไมอัด จำนวน 1 แผน (5) เฟอง เลก็ /ใหญ อยางละ จำนวน 1 เสน (6) จกุ เปด/ปดรนู ้ำ จำนวน 1 ตัว (7) ตวั หมุน จำนวน 1 ตัว (8) ไมถ ูพ้ืน จำนวน 1 อนั (9) ทอแปป 4หนุ จำนวน 4 อนั (10) ปน กาว จำนวน 1 อัน (11) นอต เบอร 12 ตวั ผู4 ตวั เมีย4 เบอร 10 ตัวผ4ู ตวั เมีย4 แหวน16 จำนวน 17 อัน 1.2 อุปกรณ (1) สวา น (2) เครื่องเจียร (3) เครื่องตัดเหลก็ (4) คอน (5) คมี / ไขขวง

10 วธิ กี ารและลำดับข้นั ตอนการทำโครงงาน 1. ประชุมชแ้ี จงและออกแบบโครงงานเคร่อื งซกั ลา ง ปน เพ่อื สขุ ภาพ 2. นำจักรยานเกา มาถอดลอ และช้ินสว นทไี่ มต อ งการออก

11 3. เหล็กกลอ งมาตัดตามขนาดทต่ี องการและเชอ่ื มตอกันเปนฐานรองรบั โครงจักรยาน 4. ทำฐานสำหรบั รองรับถังพลาสติกและออกแบบกลไกในการขับเคล่ือนโดยใชโ ซและสเตอรพรอมมี ตุกตา รองรบั แกนเพลาในการขบั เคล่อื น

12 5. ดำเนินการจดั ทำถังซกั ลา ง ปน และกลไกในการบังคับหมุน 6. ติดตง้ั ถังซัก ลา ง ปน และกลไกในการขบั เคลื่อน

13 7. ทดลองและปรบั ปรงุ แกไข ขอบกพรอง ใหโครงงานมปี ระสิทธภิ าพยงิ่ ข้นึ

14 8. ดำเนนิ การทดลองอีกคร้งั เพ่ือโครงงานมปี ระสทิ ธิภาพและเปนไปตามวตั ถปุ ระสงค

15 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา จากการเกบ็ ขอมลู เพ่อื หาประสิทธิภาพของโครงงานเคร่ืองปน ผาเพ่อื สขุ ภาพ ในการนำไปใชง านจริง ซง่ึ ทางคณะผจู ดั ทำไดศกึ ษาคนควา ขอมลู ในการจดั ทำโครงงานช้ินนี้ ในการซกั ผา รวมถึงการปน แหง จงึ ได วางแผนและทดลอง โดยเรม่ิ จากการทำเปนเครื่องซักผา แบบมอื หมุนแลวศึกษาประสทิ ธิภาพในปนอยา งไรให ผา ท่นี ำมาทดลองสามารถทำความสะอาดไดร วดเร็วและใชเวลานอยทส่ี ุด ระยะเวลาท่ศี กึ ษา ในวนั ท่ี 1 - 29 สิงหาคม 2565 สถานที่ในการศกึ ษา กศน.เทศบาลตำบลคลองวาฬ กศน.อำเภอเมืองประจวบคีรขี นั ธ จากการทดลองพบวา เคร่ืองปนผา เพื่อสขุ ภาพแบบมอื หมนุ สามารถซกั ผา ไดจ ริงอยา งมีประสิทธิภาพ ดังน้ี ที่ งานปฏบิ ตั ิ ระยะเวลาดำเนินการ ผรู บั ผดิ ชอบ 1 สำรวจและศึกษาปญหาในพน้ื ที่ เพอ่ื แผนการดำเนินงาน 1 – 8 สิงหาคม 65 คณะผจู ัดทำ 2 ประชุม และสรปุ การปฏบิ ัติงาน 10 – 12 สิงหาคม 65 คณะผูจัดทำ 3 แบงหนาทร่ี บั ผิดชอบ 13 - 14 สงิ หาคม 65 คณะผจู ดั ทำ 4 วางแผนการปฏบิ ัติ 13 - 14 สิงหาคม 65 คณะผูจัดทำ 5 ศึกษา คนควา ขอมลู ท่เี ก่ยี วของ และสามารถนำมาประยุกตใชไ ดจริง 15 – 18 สงิ หาคม 65 คณะผจู ดั ทำ 6 ลงมอื ปฏิบตั โิ ครงงานประดิษฐ 25 – 29 สงิ หาคม 65 คณะผจู ัดทำ 7 สรุป และรายงานผลตอครูทปี่ รกึ ษา 28 – 29 สงิ หาคม 65 คณะผูจัดทำ 8 พฒั นา และปรบั ปรงุ แกไข 28 – 29 สิงหาคม 65 คณะผจู ดั ทำ สรปุ ไดวา เม่อื ทดสอบการซกั ผาดวยวิธกี ารตา งๆ และทดลองซกั ผาเครอ่ื งซักผาเพื่อสขุ ภาพแบบมือ หมนุ ประดษิ ฐข้นึ พบวา สามารถชว ยประหยดั ไฟฟา ได ผลการทดสอบประสิทธิภาพในการเครอ่ื งปน ผา เพอื่ สุขภาพ ระยะเวลาที่ศกึ ษา ในวนั ท่ี 1 - 29 สิงหาคม 2565 สถานทใี่ นการศกึ ษา กศน.เทศบาลตำบลคลองวาฬ ตำบลคลองวาฬ จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ จากการทดลองพบวาโครงงานเคร่ืองปนผาเพ่อื สุขภาพ สามารถที่จะซักผา และปนผา ใหแ หงได โดยทำ การทดลองซักผาและปนผาใหแหง ซึ่งใชถังซักผาและถังปนผาแหงและใชจักรยานในการปนให แกนเพลาไป หมุนเหวี่ยงผาในถังซักซึ่งอยูในตะกราอีกชั้นหนึ่งใหหมุนเหวี่ยงไปกับแกนเพลาเกิดการเสียดสีกับผา ในถังที่ เปยกและมกี ารปน ในน้ำที่มผี งซักฟอก ทำใหเกดิ การซกั เหมือนกับเครือ่ งซักผา สามารถทจี่ ะทำใหผา สะอาดได และทดลองนำผาท่ซี กั แลว มาลา งในน้ำทีอ่ ยใู นกะละมัง จากนัน้ บดิ พอหมาดแลวนำไปใสใ นตะกรา ซง่ึ เปนถงั ปน แหงไมม ีนำ้ พบวา แรงเหว่ยี งจากแกนเพลาสามารถที่จะปน ผาใหแ หง ได

16 บทที่5 สรปุ ผลและอภปิ รายผล โครงงานวิทยาศาสตร ดานการใชและการอนุรักษพลังงานไฟฟาเพื่อชีวิตและสังคม เรื่อง โครงงาน เครอื่ งปน ผา เพอ่ื สขุ ภาพ มีวัตถุประสงคด งั นี้ 1. เพอ่ื เปนโครงงานทางเลือก ทดแทนการใชพลังงานไฟฟา ได 2. เพือ่ ใชเ ปน เคร่ืองซักผา ใหเ กิดความสะดวกรวดเรว็ และปลอดภัย 3. เพ่อื ออกแบบการทำงานใหเปนเครื่องออกกำลังกายไดในเคร่อื งเดียวกัน ผลการทดลอง โครงงานวิทยาศาสตรเ รื่อง เครื่องปน ผาเพ่ือสขุ ภาพ ดานการใชแ ละการอนรุ กั ษพลังงานไฟฟา เพ่ือ ชีวิตและสังคม ประจำป พ.ศ.2565 จัดทำขึ้นเพื่อเปนโครงงานทางเลือกในการใชแทนเครื่องซักผาอีกทั้งยัง สามารถใชเปนเครื่องออกกำลังกายไดดวย หลักการทำงานคือใชกำลังขับโดยใชมือ หมุนหรือการขับเคลื่อน จากการปนจักรยานขับเคลื่อนแกนเพลาใหหมุนแลวอาศัยแรงเหวี่ยงจากการหมุน แกนเพลาดังกลาวทำให สามารถที่จะซักผาซึ่งอยูในตะกราไดเหมือนกบั เครื่องซักผาทั่วไป และหลักการทำงาน ดังกลาวก็สามารถที่จะ ปน ผา ใหแ หง ไดดวย สำหรบั โครงงานดังกลา วสามารถนำมาทดแทนการ ใชพลังงานไฟฟา ได 100 เปอรเซน็ ต ประโยชนท คี่ าดวา จะไดร ับ 1. ทดแทนการใชพ ลงั งานไฟฟา 2. มีทางเลือกในการใชง าน เปนไดเคร่ืองปนผาได 3. ไดทำงานไปดว ยไดออกกำลงั กายไปดว ย 4. เกิดความสะดวกรวดเรว็ และปลอดภัย ขอเสนอแนะ ในการพัฒนาโครงงานเครื่องปน ผาเพอื่ สขุ ภาพ ในอนาคตควรออกแบบใหถังซัก ลา ง และปน หมนุ เหว่ียงกลับไปกลับมาได ในสวนของแกนหมุนขบั เพลาอาจใชเปน เหล็กสแตนเลสแทนทอ PVC ซ่ึงจะทำให โครงงานดังกลา วมปี ระสิทธภิ าพดียง่ิ ข้นึ

17 โครงงานวทิ ยาศาสตร เรื่อง เคร่ืองปน ผา เพ่อื สุขภาพ

18 บรรณานกุ รม ครูจกั รชยั อนิ ลายศ กลมุ สาระการเรยี นรู การงานอาชพี . (ออนไลน). ความรูเก่ยี วกบั งานประดษิ ฐ 25 มิถุนายน 2564 ท่ีมาhttp://www.thaischool.in.th/_files_school/10106250/data/10106250_1_20200819- 104546.pdf นายเฉลมิ เดช เฉลมิ ลาภอัศดร. เคร่อื งซักผาและเคร่ืองอบผา .(ออนไลน). 2546 ทม่ี า ขอมลู ดานการอนรุ ักษพ ลังงาน ศูนยป ระชาสมั พันธ รวมพลังหาร 2 บูรณาการ STEM Education. 25 มิถุนายน 2564 ไมปรากฏชอ่ื . โครงงานวิจยั สงิ่ ประดิษฐเร่อื งเคร่ืองซักผา ประหยัดพลังงาน.(ออนไลน) . 20 มกราคม 2562 ท่มี า https://www.youtube.com/watch?v=koW8ggTugoc กศน.อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแกน . โครงงานวทิ ยาศาสตรเ คร่ืองซักผาประหยดั พลงั งาน ไฟฟา .(ออนไลน) . 16 กรกฎาคม 2563 ท่ีมา https://www.youtube.com/watch?v=UCR_Nf0jpX4 Copyright 2014 © STEM EDUCATION THAILAND เอกสาร สะเต็มศึกษา สสวท. (ออนไลน) . 6 กรกฎาคม 2564 ท่มี า http://www.stemedthailand.org/?faq=%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A1 โรงเรียนแมสายประสิทธิ์ศาสตร. หลักการทำงานของจักรยาน (ออนไลน). 15 มกราคม 2563 ที่มา https://sites.google.com/a/maesai.ac.th/sitthikorn/swn-prakxb-khxng-cakryan

19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook