Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอนุรักษ์ การสงวนรักษาและทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณ

การอนุรักษ์ การสงวนรักษาและทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณ

Published by HASURA TATA, 2021-10-03 14:38:16

Description: การอนุรักษ์ การสงวนรักษาและทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณ

Search

Read the Text Version

การอนุรักษ์ การสงวน รักษาและทำสำเนาดิจิทัล เอกสารโบราณ 421-354 (Digital Information Management)

\" การอนุรักษ์คือการคงสภาพ เดิม การรักษาไว้ให้นานที่สุด และสามารถนํามาใช้ให้เป็น ประโยชน์มากที่สุด \" การสงวนรักษาคือการ ซ่อมแซมกลับสู่สภาพ เดิม

การอนุรักษ์ เอกสาร การอนุรัก ษ์เอกสาร การปฏิบัติการอนุรักษ์ CONSERVATIVE มีความหมายเป็น 2 นัยยะ TREATMENT เป็นวิธีการที่นำมาเพื่อใช้แก้ ปัญหาต่างๆที่ได้เกิดขึ้นกับเอกสารโดยการกำจัด ความหมายของการป้องกัน ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นให้หมดแล้วซ่อมแซมหรือ preventive คือวิธีการชะลอการชำรุด เสริมสร้างเอกสารให้กลับคืนสู่สภาพเดิมหรือใกล้ หรือเสื่ อมสภาพที่เกิดขึ้ นกับเอกสาร จำเป็นจะต้องเข้าใจถึงคุณสมบัติของ เคียงสภาพเดิมมากที่สุดทั้งความแข็งแรงรูป วัสดุที่ผลิตเอกสารสาเหตุและปัญหา ต่างๆที่อาจก่อให้เกิดความชำรุดเสื่ อม แบบและเนื้อวัสดุทั้งนี้วิธีการที่นำมาใช้จะต้องไม่ สภาพกับวัสดุนั้น เช่น ความชื้นในอากาศ ก่อเกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆกับเอกสารและ ทำให้เกิดเชื้ อราความร้อนทำให้กระดาษ สามารถแก้ไขกลับไปเหมือนก่อน แห้งกรอบ การปฏิบัติการอนุรักษ์ซึ่ง กระบวนการดังกล่าวเป็นหน้าที่ ของนักอนุรักษ์ที่ได้รับการฝึก อบรมมาแล้วเป็นอย่างดี

ขั้ น ต อ น / ก ร ะ บ ว น ก า ร ทำ ง า น ข อ ง ก า ร อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ ก า ร ส ง ว น รั ก ษ า เ ป็ น ดิ จิ ทั ล

ขัข้ัน้นตตออนนการรปปฏฏิิบบัตัิติ กกาารรออนนุุรรัักกษษ์์ ขั้นตอนการปฏิบัติการอนุรักษ์ conservative Treatment การกำจัดแมลงด้วยวิธีการแช่แข็ง Deep fisting เพื่อกำจัดแมลงและไข่ที่อาจติดอยู่ในเอกสาร วิธีการนำเอกสารห่อด้วยพลาสติกหรือใส่ถุงพลาสติก ปิดให้สนิทนำถุงเอกสารใส่ในตู้เย็นหรือตู้แช่แข็งที่มี อุณหภูมิประมาณติดลบ 20 องศาเซลเซียสและทิ้งไว้ ประมาณ 1 อาทิตย์ นำถุงเอกสารออกจากตู้เย็นวางทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้อง ประมาณ 1 อาทิตย์ การเสริมความแข็งแรงด้วยกระดาษสา เครื่องวีระวัสดุได้แก่ กาวเมทิลเซลลูโลส คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส น้ำกลั่น พู่กัน กระดาษสาไร้กรดด่าง กระดาษไข แปรงปัดฝุ่น หน้ากากอนามัยและถุงมือ

ขั้นตอนการปฏิบัติ การอนุรักษ์ การเตรียมกาว ผสมกาว 1 ช้อนชาน้ำกลั่น300 MLคนกาวให้ละลาย การทดสอบความหนืดของกาวที่เหมาะสมใช้พู่กันจุ่มกาวแล้วยก ขึ้นให้อัตราการหยดที่ 3-4 หยดต่อ 5 วินาที การเสริมความแข็งแรงของเอกสาร ใช้กาวผนึกให้กระดาษสาติดกับเอกสารสองด้านด้วยวิธีการ ดังนี้ กระดาษขายลงบนโต๊ะ วางกระดาษเอกสารที่จะซ่อมลงบนกระดาษไข วางกระดาษสาชนิดบางลงบนเอกสารที่จะซ่อม ใช้พู่กันจุ่มกาวแล้วทาลงไปบนกระดาษสาและเอกสารให้ทั่ว แผ่น ใช้กระดาษไขวางทับ ผลิกกระดาษไขด้านล่างขึ้นแล้วคว่ำหน้ากระดาษลงกับพื้น โต๊ะ ลอกกระดาษขายออกวางกระดาษสาลงไปทากาวให้ทั่ว แผ่น ยกกระดาษทั้งหมดไปผึ่งให้แห้งในที่ร่ม เมื่อใกล้จะแห้งเอากระดาษกรองปิดทั้งสองด้าน นำไปอัดบนเครื่องมืออัดเอกสารเพื่อทำให้กระดาษเรียบ เมื่อกระดาษเรียบแล้วดึงกระดาษไขออกจากนั้นตัดขอบ กระดาษเอกสารตามเดิม เก็บเอกสารในซองเอกสาร

ขั้นตอนการปฏิบัติ การอนุรักษ์ การซ่อมเฉพาะบริเวณ เหมาะสำหรับเอกสารที่กระดาษยังมีความแข็งแรงและไม่จำเป็น ต้องซ่อมแซมทั้งแผ่น วางกระดาษไขลงบนโต๊ะ วางกระดาษเอกสารที่จะซ่อมลงไปในกระดาษไข ติดด้วยกระดาษสาชนิดบางที่ฉีดให้มีขนาดใหญ่กว่าบริเวณที่ ต้องการซ่อมเล็กน้อย ใช้พู่กันจุ่มกาวแล้วทาลงไปบนกระดาษสาและเอกสารใช้ กระดาษไขวางทับ ผลิกกระดาษไขด้านล่างขึ้นแล้วคว่ำหน้ากระดาษลงกับพื้นโต๊ะ ลอกกระดาษไขออกปิดด้วยกระดาษสาชนิดบางที่ฉีดให้มีขนาด ใหญ่กว่าบริเวณที่ต้องการซ่อมเล็กน้อย ทากาว ลอกกระดาษไขออกทั้งหมด นำเอกสารมาแห้งบนกระดาษไขแผ่นใหม่โดยไม่ต้องรีดให้แนบ สนิทกันเพื่อป้องกันมิให้กาวผนึกเอกสารและกระดาษไขเข้าด้วย กันซึ่งอาจทำให้เอกสารฉีกขาดหรือตัวอักษรหลุดขาดได้ ทำการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุและหนังสือได้รับการ อนุรักษ์ซ่อมแซมส่วนที่ชำรุดแล้วจะมีสุขภาพที่แข็งแรงขึ้น สามารถยืดระยะเวลาการใช้งานได้อีกระยะหนึ่งอย่างไรก็ตาม อย่างขึ้นอยู่กับวิธีการเก็บรักษาในสถานที่เหมาะสม

ดิจิตอลเอกสารโบราณ ขั้นตอนการอนุรักษ์และทำสำเนาดิจิตอล เอกสารโบราณแบบย่อ 1. คัดเลือก 2. ทำความสะอาด 3. ทำทะเบียน 4. ทำสำเนาดิจิตอล 5. จัดเก็บและทำป้ายทะเบียน

ดิจิตอลเอกสารโบราณ ในการสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบดิจิทัล จึงประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ 1.การแปลงข้อมูล (Digitization) 2.การจัดเก็บและการจัดการข้อมูล (Information Management) 3.การเข้าถึงข้อมูล (Information Access)

ดิจิตอลเอกสารโบราณ กากราอรสนแุรกันกเอษ์กเสอารกเพสื่อานรำเมก า่จัาดดท้ำ วเยอกเสทารคเผนิยคแพสรแ่ออกนนไลน์ หรือเก็บ เป็น Archives โดยมีข้อกำหนดใดบ้าง ก็คงจะตอบได้ยาก เพราะต้องแยก กรณีให้เหมาะสม อย่างไรก็ตามหากเอกสารที่นำมาสแกนมีสภาพไม่ค่อย สมบูรณ์ และต้องการอนุรักษ์เอกสารนั้นไว้นานๆ ก็ควรสแกนโดยใช้ค่า กำหนดที่เหมาะสมที่สุด เพื่อไม่ต้องนำเอกสารดังกล่าวมาสแกนหลายครั้ง อันจะส่งผลให้เอกสารชำรุดเพิ่มขึ้น การสแกนเอกสารที่ต้องการอนุรักษ์ และไม่ ต้องเสี่ยงกับการทำงานกับเอกสารนั้นหลายๆ ครั้ง ควรเริ่มจากการสแกนที่ความละเอียดสูง เช่น 300 dpi ที่ค่าสี True Color หรือ 64bit แล้วแต่ว่า สแกนเนอร์นั้นจะรองรับได้ จากนั้นบันทึกแฟ้มภาพ ที่ได้ในฟอร์แมต TIF เพื่อเก็บค่าสีและความคมชัด สูงสุด

ดิจิตอลเอกสารโบราณ การสแกนเอกสารด้วย Scanner

ดิจิตอลเอกสารโบราณ ทั้งนี้จะต้องเตรียมอุปกรณ์เก็บที่มีความจุสูงประกอบด้วย หลายๆ ครั้้งที่พบว่า “ฮาร์ดดิสก์ไม่พอ” เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้งานอนุรักษ์ เป็น งานที่ต้องทำซ้ำซ้อนหลายครั้ง และทำให้เอกสารต้นฉบับยิ่งชำรุดเสียหาย ดังนั้นหากจะมีโครงการหรือกิจกรรมใดที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ควรจะ ต้องหาแนวทางขจัดคำว่า “พื้นที่ฮาร์ดดิสก์ไม่พอ” ออกไปก่อน ปัจจุบัน ราคาฮาร์ดดิสก์ถูกมาก

ดิจิตอลเอกสารโบราณ ภาพต้นฉบับที่ได้ในฟอร์แมต TIF ที่มีความละเอียด 300 dpi ค่าสี True Color / 64 bit เมื่อต้องการนำไปใช้งานจึงจะนำมาลด ความละเอียด ลดขนาดและปรับแต่ง ก่อนบันทึกเป็นชื่อแฟ้ มเอกสาร ใหม่ โดยเก็บไฟล์ภาพดิจิทัลนี้ให้ดีที่สุด

กระบวนการสแกน เอกสารของ STKS กระบวนการสแกนเอกสารของ STKS สำหรับเครื่องที่ใช้สแกนเอกสาร ก็คงต้องเลือกหาเครื่องที่มีขนาด เหมาะสมกับกระดาษ เช่น Scanner ที่รองรับกระดาษ A3 หรือใหญ่กว่า เพื่อให้ได้ขนาดที่เหมาะสมตั้งแต่ต้น ไม่ควรใช้เทคนิคมาต่อภาพ นอกจาก นี้กล้องถ่ายภาพดิจิทัล (Digital Camera) รุ่นใหม่ๆ ก็สามารถนำมาใช้ แทนเครื่องสแกนเนอร์ได้ โดยกำหนดค่าการถ่ายภาพที่ความละเอียด สูงสุด หรือ Raw format โดยจะต้องกำหนดให้กล้องอยู่ในสภาพที่นิ่งที่สุด หรือสร้างอุปกรณ์ยึดตัวกล้อง ดังเช่น

กระบวนการสแกน เอกสารของ STKS Digital Camera based scanner สำหรับเอกสารที่มีความชำรุด หรือเอกสาร เก่า ควรเลือกใช้เครื่องสแกนที่มีลักษณะ V-Shape โดยไม่ต้องตัดสันหนังสือ หรือ ทำให้เอกสารเสียหาย แต่ก็มีราคาสูง มากกว่าปกติ โดยสามารถศึกษาราย ละเอียดได้ที่ http://www.atiz.com/

อ้างอิง อ้างอิง กองสารนิเทศและประชาสัมพันธ์สำนักงานศาลยุติธรรม. ม.ป.ป. การอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ เบื้องต้น. (ออนไลน์). ค้นจาก : HTTPS://DRIVE.GOOGLE.COM/FILE/D/1PZ0T4AT0YWIMJDESRPG2LMTVPUNMB0D_/VIEW ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2564 กองสารนิเทศและประชาสัมพันธ์สำนักงานศาลยุติธรรม. ม.ป.ป. การอนุรักษ์และทำสำเนาดิจอทัล เอกสารโบราณฉบับง่าย. (ออนไลน์). ค้นจาก : HTTPS://DRIVE.GOOGLE.COM/FILE/D/1GEVPGZUR4QDPH7BXZPIC1JG4XH9YGV5N/VIEW ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2564 การอนุรักษ์/สงวนรักษา และการออกให้บริการจดหมายเหตุ. (ออนไลน์). ม.ป.ป. (ออนไลน์). ค้นจาก HTTPS://DRIVE.GOOGLE.COM/FILE/D/1Y0KFVNFDBFZFD0DO- G9ZKWHKGZNN69WF/VIEW ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2564 SUPAPORN'S. 2561. การสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบดิจิทัล (DIGITAL PRESERVATION) : ตัวช่วยในการอนุรักษ์. (ออนไลน์). ค้นจาก : HTTPS://SUPAPORNHUANG.WORDPRESS.COM/2016/09/18/DIGITAL-PRESERVATION-2/ ค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2564 ทีมงานฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ม.ป.ป. การอนุรักษ์เอกสารเก่าด้วยเทคนิค สแกน. (ออนไลน์). ค้นจาก : HTTP://WWW.THAILIBRARY.IN.TH/2010/09/30/PRESERVATION- SCAN/#RESPOND ค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2564

จัดทำโดย นางสาว ฮาดีบะห์ รือเสาะ 6120210011 จัดทำโดย นางสาว สุไรดา ดาโอ๊ะ 6120210461 นางสาว ฮาซูรา ตาตา 6120210010