Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

รายงานการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

Published by KroorachaneChanel, 2021-06-15 04:29:07

Description: การจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

บนั ทึกข้อความ สว่ นราชการ กลุ่มงานวชิ าการ โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ที่ ....../2563 วันท่ี 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖3 เรอื่ ง รายงานผลการจัดกจิ กรรมสร้างชมุ ชนการเรียนรวู้ ิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖3 เรียน ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ข้าพเจ้า นายชนายุทธ ตรงตามคำ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ขอส่งรายงาน การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ระหวา่ งเพื่อนครใู นชวั่ โมงชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 16 ครั้ง เท่ากับ 36 ชั่วโมง เพื่อเป็นการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยกันแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้และเรื่องอื่น ๆ ทำให้การปฏิบัติงานมี คณุ ภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงขึ้น บัดนี้ การปฏิบัติกิจกรรมดังกล่าวได้เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขออนุญาตส่ง รายงานผล การจดั กิจกรรมสรา้ งชุมชนการเรยี นรู้วิชาชพี กลมุ่ PLUANGPROM TEAM ดงั เอกสารแนบมา พร้อมหนงั สอื ฉบับนี้ จึงเรียนมาเพ่อื ทราบและโปรดพจิ ารณา (ลงชือ่ ).................................................... (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) (นายประทปี อรา่ มเรือง) รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) (นายศกั ด์ิชัย เลิศอรุณรัตน์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์

รายงานการจัดกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารชน้ั เรยี นลำดับที่ 027/2563

คำนำ รายงานฉบบั น้ี จัดทำข้ึนเพ่ือเกบ็ รวบรวมการจัดกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนทั้งระบบ ทั้งการร่วมกันพัฒนาวางมาตรการ ต่าง ๆ รวมทั้งการปรับปรงุ แกไ้ ขในประเดน็ ปัญหาต่าง ๆ เพือ่ ให้การจัดการเรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพอย่างสูงสุด สอดคล้องกบั ความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผ้เู รยี นมกี ารเรียนรู้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ เพื่อคุณภาพในการบริหารจัดการของสถานศึกษา มีแนวทางในการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ เอื้อต่อ การจัดการเรียนการสอนท่ีตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน และสนับสนุนให้ผู้เรียนมีการพัฒนาได้อย่าง เหมาะสม เตม็ ตามศักยภาพของแต่ละบุคคลจงึ ไดจ้ ัดกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพและทำรายงานการ จดั กจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ เพื่อเก็บรวบรวมเผยแพร่และสรา้ งเครือขา่ ยต่อไป ....................................... (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) ครูผู้สอน

ปฏิทนิ การดำเนินงานชมุ ชนการเรยี นรวู้ ิชาชีพ (PLC) กลมุ่ “PLUANGPROM TEAM” ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ท่ี ช่วงเวลา กิจกรรม ผ้รู ับผิดชอบ 1 ก่อนเปิดภาคเรยี น - แต่งตงั้ คณะกรรมการขบั เคล่ือนกระบวนการ ฝา่ ยบรหิ าร/คณะกรรมการฯ 12 พฤษภาคม 2563 ชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ระดับ 2 ชั่วโมง สถานศกึ ษา - ประชุมคณะกรรมการฯ 2 25 มถิ นุ ายน 2563 - รวมกลุม่ เพอ่ื จดั ต้ังกลมุ่ PLC - ครูตวั แทนกลุ่ม/คณะ 3 ชว่ั โมง - ขอจัดต้งั กลุ่ม และจดทะเบยี นจดั ตงั้ กลุ่ม PLC กรรมการฯ 3 26 มิถุนายน 2563 - จัดทำปฏิทนิ การดำเนนิ การงานชมุ ชนการเรยี นรู้ - ครตู วั แทนกล่มุ /คณะ 3 ชั่วโมง วิชาชพี (PLC) กรรมการฯ 4 29 มิถุนายน 2563 - ประชุมกลมุ่ PLC วิเคราะหป์ ญั หา - กลมุ่ PLC 3 ชว่ั โมง - จัดทำแผนปฏิบัติการ PLC รายกลุ่ม - Model Teacher รว่ มกับ - วางแผนจัดทำรูปแบบนวตั กรรม สมาชกิ ในกลมุ่ PLC 5 30 มิถุนายน 2563 - ดำเนนิ การจัดทำส่ือนวตั กรรมตามรปู แบบท่ี - กล่มุ PLC 3 ชัว่ โมง กำหนดไว้ - Model Teacher รว่ มกบั - นำเสนอตัวอยา่ งนวตั กรรมท่ีจะนำไปใชใ้ นการ สมาชิกในกลุ่มPLC แกป้ ญั หาผูเ้ รียน - วเิ คราะห์ สังเคราะหน์ วตั กรรม เพอื่ นำผลการ วิเคราะหไ์ ปปรับปรงุ นวัตกรรมให้เหมาะสม 1 กรกฎาคม 2563 - เริม่ นำนวตั กรรมที่ปรับปรงุ แลว้ ไปใชใ้ นชัน้ เรยี น - กลุ่ม PLC - Model Teacher ร่วมกับ สมาชิกในกล่มุ PLC 6 14 กรกฎาคม 2563 - สะทอ้ นผลการใชน้ วตั กรรม คร้งั ท่ี 1 - กลมุ่ PLC 2 ชว่ั โมง - Model Teacher ร่วมกบั สมาชิกในกลมุ่ PLC

ท่ี ชว่ งเวลา กิจกรรม ผรู้ ับผดิ ชอบ - กลุ่ม PLC 7 11 สงิ หาคม 2563 - สรา้ งเครื่องมอื วดั และประเมินผลการใช้ - Model Teacher ร่วมกบั สมาชกิ ในกลมุ่ PLC 2 ชว่ั โมง นวัตกรรม ครั้งท่ี 1 - กลุม่ PLC - Model Teacher รว่ มกับ 8 25 สงิ หาคม 2563 - ส่งเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผล ครง้ั ท่ี 1 สมาชิกในกลุ่มPLC 2 ชว่ั โมง - ตรวจสอบความถูกต้อง - กลุ่ม PLC - Model Teacher รว่ มกับ 29 สงิ หาคม 2563 - นำเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผลไปใช้ในการ สมาชกิ ในกลุ่มPLC ประเมินการใช้นวตั กรรม คร้งั ท่ี 1 - Model Teacher - สมาชกิ กลมุ่ PLC 9 1 กนั ยายน 2563 - สง่ ผลการวัดและประเมินผลการใช้นวตั กรรม คณะกรรมการกำกับ ติดตาม 2 ชั่วโมง คร้ังท่ี 1 นิเทศและประเมินผล - สรปุ ผลการวัดและประเมนิ ผล คร้ังที่ 1 - Model Teacher - สมาชกิ กลมุ่ PLC/ 10 15 กันยายน 2563 - สรา้ งเคร่อื งมอื วดั และประเมินผลการใช้ คณะกรรมการกำกับ ติดตาม 2 ชว่ั โมง นวตั กรรม ครั้งที่ 2 นเิ ทศและประเมินผล - Model Teacher 11 22 กันยายน 2563 - ส่งเคร่อื งมือวัดและประเมินผล ครั้งที่ 2 - สมาชิกกลมุ่ PLC/ 2 ช่วั โมง - ตรวจสอบความถูกต้อง คณะกรรมการกำกบั ตดิ ตาม นเิ ทศและประเมินผล 29 กันยายน 2563 - นำเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผลไปใช้ในการ - Model Teacher ประเมนิ การใชน้ วัตกรรม คร้ังท่ี 2 - สมาชกิ กลุ่ม PLC/ คณะกรรมการกำกบั ติดตาม 12 6 ตลุ าคม 2563 - สง่ ผลการวัดและประเมนิ ผลการใช้นวัตกรรม นเิ ทศและประเมินผล 2 ชั่วโมง ครั้งท่ี 2 - Model Teacher - สรุปผลการวัดและประเมนิ ผล คร้งั ที่ 2 - สมาชิกกล่มุ PLC/ คณะกรรมการกำกบั ติดตาม นิเทศและประเมินผล

ท่ี ชว่ งเวลา กจิ กรรม ผรู้ ับผิดชอบ - Model Teacher 13 20 ตลุ าคม 2563 - สรา้ งเคร่อื งมอื วัดและประเมินผลการใช้ - สมาชิกกลุม่ PLC/ 2 ชว่ั โมง นวตั กรรม ครง้ั ท่ี 3 คณะกรรมการกำกับ ตดิ ตาม นเิ ทศและประเมนิ ผล 14 27 ตุลาคม 2563 - สง่ เครื่องมือวดั และประเมินผล ครง้ั ท่ี 3 - Model Teacher 2 ชัว่ โมง - ตรวจสอบความถูกต้อง - สมาชิกกลุ่ม PLC/ คณะกรรมการกำกับ ตดิ ตาม 30 ตลุ าคม 2563 - นำเครือ่ งมอื วดั และประเมนิ ผลไปใช้ในการ นเิ ทศและประเมินผล ประเมินการใช้นวัตกรรม ครั้งท่ี 3 Model Teacher 15 3 พฤศจิกายน 2563 - สง่ ผลการวดั และประเมนิ ผลการใช้นวัตกรรม Model Teacher 2 ชว่ั โมง ครั้งที่ 3 - สรุปผลการวดั และประเมนิ ผล คร้ังที่ 3 16 10 พฤศจิกายน สรุปรายงานผล 2563 2 ชั่วโมง สิ้นภาคเรยี น เผยแพรก่ จิ กรรม/ชิน้ งาน/นวัตกรรม 36 ชว่ั โมง

รายงานการจัดกิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 _________________________________________________________________ การจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี2) พุทธศักราช 2545 มาตรา 10 ที่ระบุว่า การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขัน้ พื้นฐานไม่น้อย กวา่ สบิ สองปีทรี่ ัฐตอ้ งจัดให้อยา่ งทวั่ ถึงและมคี ุณภาพ โดยไม่เกบ็ ค่าใช้จา่ ยการจัดการศึกษาสำหรบั บคุ คลซ่ึงมีความ บกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรยี นรู้หรือมีร่างกายพกิ าร หรือ ทุพพล ภาพหรอื บคุ คลซง่ึ ไม่สามารถพ่งึ ตนเองได้หรอื ไม่มีผู้ดูแลหรอื ด้อยโอกาสตอ้ งจัดใหบ้ ุคคลดังกล่าวมีสิทธิ และโอกาส ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพเิ ศษ การศึกษาสำหรับคนพิการในวรรคสองให้จัดให้ตั้งแต่แรกเกดิ หรือพบความ พิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและใหบ้ ุคคลดงั กล่าวมีสิทธิไดร้ บั ความช่วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา นอกจากนี้แล้วใน มาตรา 22 ยังระบถุ งึ หลักการจัดการศึกษาว่า ผู้เรียนทกุ คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ได้ ต้องจดั การศึกษาท่ี พัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาตแิ ละเต็มศกั ยภาพ ครูทกุ คนมคี วามจำเป็นอย่างย่ิงทีจ่ ะต้อง แสวงหาวิธีการท่ีจะช่วยให้ นักเรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ตามเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญัติดังกล่าว ซึ่ง นวัตกรรมใหม่ที่ครูจะต้องทราบ คือ Professional Learning Community (PLC) โดยที่ PLC ย่อมาจาก Professional Learning Community ซึ่งหมายถึง Community of Practice (CoP) ในการทำหนา้ ที่ครูนั่นเอง หรอื กล่าวอีกนัยหนึ่ง เป็นการรวมตัวกนั ทำงานไปพัฒนาทักษะและการเรียนรู้เพื่อปฏิบัติหน้าที่ครูเพื่อศิษย์ไป โดยรวมตัวกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรง ทำให้การทำหน้าที่ครูเพื่อศิษย์เป็นการทำงานเป็นกลุ่มหรอื เป็นทีม ซึ่งอาจเป็นทีมในโรงเรียน เดยี วกันกไ็ ด้ ต่างโรงเรียนกนั ก็ได้ หรืออาจจะอยูห่ า่ งไกลกนั ก็ได้ โดยแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ผา่ น ICT ความสำคัญของ PLC จากผลการวิจัยโดยตรงของทีย่ ืนยันวา่ การดำเนินการในรปู แบบ PLC นำไปสู่ การ เปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนจากการสังเคราะห์รายงานการวิจัย เกี่ยวกับ โรงเรยี นที่มกี ารจดั ตัง้ PLC มผี ลสรปุ ดงั น้ีผลดีต่อครูผู้สอนพบว่า PLC สง่ ผลตอ่ ครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดีย่ วงานสอน ของ ครู เพิ่มความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพิ่มความกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติให้ บรรลุพันธกิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่าต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการ โดยรวมของ นกั เรยี นถอื เป็นพลังการเรียนรซู้ งึ่ สง่ ผลให้การปฏบิ ตั กิ ารสอนในช้ันเรยี นใหม้ ผี ลดียง่ิ ขึ้น กล่าวคอื มีการค้นพบความรู้ และความเชื่อที่เกี่ยวกับวิธีการสอนและตัวผู้เรียนซึ่งที่เกิดจากการคอยสังเกตอย่างสนใจ รวมถึงเข้าใจในด้าน

เนื้อหาสาระ ที่ต้องจัดการเรียนรู้ได้แตกฉานยิ่งขึ้นจนตระหนักถึงบทบาทและพฤติกรรม การสอนที่จะช่วยให้ นกั เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ได้ดีทีส่ ุด อกี ทงั้ การรับทราบข้อมลู สาระสนเทศตา่ ง ๆ ท่ีจำเป็นตอ่ วชิ าชีพได้อย่างกว้างขวาง และรวดเรว็ ข้ึน สง่ ผลดตี ่อการปรับปรุงพฒั นางานวิชาชีพไดต้ ลอดเวลา เป็นผลใหเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจท่ีจะพัฒนาและ อทุ ศิ ตนทางวิชาชีพเพือ่ ศิษย์ ซึ่งเปน็ ท้ังคุณคา่ และขวญั กำลังใจตอ่ การปฏิบตั ิงานให้ดียงิ่ ขนึ้ กล่าวโดยสรุป คือ PLC มีพัฒนาการมาจากกลยุทธ์ระดับองค์กรที่ มุ่งเน้นให้องค์กรมีการปรับตัวต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม ท่ี เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเริ่มพัฒนาจากแนวคิดองค์กรแห่งการเรียนรู้และปรับประยุกต์ให้มีความสอดคล้องกับ บริบทของโรงเรียน และการเรียนรู้ร่วมกันในทางวิชาชีพ ที่มีหน้างานสำคัญคือความ รับผิดชอบการเรียนรู้ของ ผู้เรยี นร่วมกนั เป็นสำคญั นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เรื่องการพัฒนาครู เพ่ือ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามศาสตร์พระราชาด้วย Active Learning และ Professional Learning Community (PLC) สู่คุณภาพ Thailand 4.0 ซึง่ เป็นกระบวนการพฒั นาครโู ดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานที่เกิด จากการรวมตัวรวมใจ รวมพลัง ร่วมมอื กันของครู ผบู้ รหิ าร และนักการศกึ ษาในโรงเรยี น เพ่อื พฒั นาการเรียนรขู้ องผู้เรยี นเป็นสำคญั และ เพื่อไม่ให้เป็นการเพิ่มภาระให้กับครูและไม่ให้เกิดการใช้เวลาในการอบรม PLC มาก กระทรวงศึกษาธิการ จึง กำหนดให้ครูสามารถนำชัว่ โมงการอบรม PLC ไปรวมกับจำนวนชัว่ โมงการ สอนหนังสือที่จะใช้เป็นเกณฑ์ในการ เลื่อนวิทยฐานะ ตามหลกั เกณฑ์ใหมท่ จ่ี ะประกาศใช้ต่อไปด้วยนั้น สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน จงึ ดำเนนิ การขบั เคลอ่ื นกระบวนการ PLC : Professional Learning Community) สสู่ ถานศกึ ษาท้งั ระดับสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขต พืน้ ทก่ี ารศกึ ษา และสถานศึกษา เป้าหมายเพ่ือให้ครูที่เข้าร่วม โครงการนำกระบวนการตามกรอบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยา่ ง แทจ้ รงิ ความสำเรจ็ ของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ประกอบด้วยหลายปัจจัย ที่จะตอ้ งชีช้ วนให้บุคลากร มีความ เขา้ ใจและยอมรับด้วยตนเองก่อน เช่น การยอมรบั ว่า หัวใจหลักของการเรยี นร้ขู องครู คือ การเรียนรู้ ของผู้เรียน และการสอน/การปฏิบัติงานของครูมีผลต่อการเรียนของผู้เรียน ความเข้าใจความแตกต่างของ ระดับการเรียนรู้ การสรา้ งบรรยากาศความรว่ มมือร่วมใจ การสรา้ งความสมั พนั ธ์แบบกลั ยาณมติ ร การรบั ฟัง และแสดงความคดิ เห็น ด้วยทัศนคติเชิงบวก และแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ประกอบด้วย ภมู สิ งั คม ระเบิดจากข้างใน การมีส่วนร่วม ประโยชนส์ ว่ นรวม องคร์ วม ทำตามลำดับขั้น ไม่ตดิ ตำราพงึ่ ตนเอง และ ประหยัดเรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด เนื่องจากชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( Professional Learning Community) เป็นกระบวนการสรา้ งการเปลยี่ นแปลงโดยเรียนรู้จากการปฏิบัตงิ านของกลุ่มบุคคลท่ีมารวมตัวกัน เพ่ือทำงานรว่ มกันและสนบั สนุนซึ่งกนั และกัน มวี ัตถุประสงค์เพ่อื พฒั นาการเรยี นร้ขู องผู้เรียน ร่วมกนั วางเป้าหมาย การเรียนรู้ของผู้เรียน และตรวจสอบ สะท้อนผลการ ปฏิบัติงานทั้งในส่วนบุคคลและผลที่เกิดขึ้นโดยรวมผ่าน กระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้

วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรู้ด้วยกระบวนการ (PLC : Professional Learning Community) ร่วมกันในสถานศึกษา 2. เพื่อจัดทำแผนและแนวทางการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ (PLC : Professional Learning Community) ภายในสถานศกึ ษา 3. เพอ่ื นเิ ทศ ติดตาม การดำเนินการ PLC ภายในสถานศึกษา 4. เพือ่ สะท้อนผลการดำเนนิ การ PLC ของสถานศึกษา 5. เพื่อเผยแพร่และสร้างเครือข่ายการสร้างชุมชนแห่งการเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการ (PLC : Professional Learning Community) ภายนอกสถานศกึ ษา เป้าหมาย 1. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) เข้าร่วมกิจกรรม PLC ในสถานศกึ ษา 2. โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) มีแผนและแนวทางการขับเคลื่อน PLC สู่การ ปฏิบัติจริงใน สถานศึกษาท่มี ีประสิทธิภาพ 3. มีการนิเทศ ติดตาม การขับเคล่ือน PLC ของ สถานศึกษาไดต้ ามแผนที่กำหนด 4. ครมู ีการพฒั นาตามกรอบ PLC ไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น 5. โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ มีรปู แบบการขับเคลอ่ื น PLC สู่การปฏิบตั จิ รงิ ของสถานศึกษา ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ ภาพความสำเรจ็ 1. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) เข้าร่วมกิจกรรม PLC ในสถานศึกษา 2. โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) มีแผนและแนวทางการขับเคลื่อน PLC สู่การ ปฏิบัติจริงใน สถานศึกษาทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 3. มีการนเิ ทศ ตดิ ตาม การขบั เคลอ่ื น PLC ของ สถานศกึ ษาได้ตามแผนท่ีกำหนด 4. ครูมีการพฒั นาตามกรอบ PLC ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น 5. โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) มีรปู แบบการขับเคลื่อน PLC สู่การปฏบิ ตั จิ ริง ของสถานศึกษา ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ

ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั 1. ผบู้ ริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เปน็ ผู้มศี ักยภาพตามมาตรฐานวิชาชพี 2. นักเรยี นได้รับการพฒั นาคุณภาพ เปน็ ผมู้ ีทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21

ภาคผนวก

แบบบนั ทกึ กจิ กรรม (Logbook) ชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community) ชอื่ กลมุ่ กิจกรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จำนวนสมาชกิ 21 คน กจิ กรรม การพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เลก็ เดก็ หรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครัง้ ที่ 1 ชอื่ กิจกรรม แตง่ ตงั้ คณะกรรมการขบั เคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ระดับ สถานศกึ ษา วนั ท่ีจดั กจิ กรรม 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เวลา 14.00-16.00 น. รวม 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายชอื่ สมาชกิ /สมาชิกท่เี ขา้ ร่วมกิจกรรมในครงั้ นี้ 18 คน ไมเ่ ข้าร่วมกจิ กรรมในครัง้ น้ี 3 คน ไมเ่ ข้ารว่ ม ท่ี สมาชิกที่เขา้ ร่วมกจิ กรรม บทบาท เขา้ รว่ ม  1 นายสมทรง นสิ สัยดี Expert  2 นายประทีป อร่ามเรือง Mentor   3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกติ ติยา กิมาวหา Administrator  5 นางสาวสุกญั ญา มัทธุรี Buddy  6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษ์สูง Buddy 8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเออ้ื งนภา คิดสม Buddy  10 นางปรียาพัฒน์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสุนทร Buddy  13 นายธีรพงษ์ ดังคนึก Buddy  14 นางลัดดา นสิ สัยดี Buddy  15 นายประเสรฐิ ใจกล้า Buddy  16 นางลลติ า ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แกว้ มุงคณุ Buddy  18 พลฯจารัตน์ ลวดเงนิ Buddy

ท่ี สมาชกิ ท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไมเ่ ขา้ ร่วม 19 นายสมพงษ์ เพยี รมี Buddy   20 นายสมอาจ คงวนั Buddy 21 นางปทุมชาติ จุดาบุตร Buddy  1. วัตถปุ ระสงค/์ ประเด็น/ของการจัดกิจกรรม 1.1 เพื่อพฒั นาทักษะการอ่าน เขียน เรยี นคดิ เลข ของนกั เรยี นระดับชน้ั อนบุ าลปที ี่ 2 ถงึ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่ม เล็กเดก็ หรรษา เปน็ ฐานในการเรียนรู้ 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวัตกรรมรปู แบบการพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา เป็นฐานในการเรียนรู้ 2. สาเหตขุ องการจัดกิจกรรม จากผลการวิเคราะห์การอ่าน เขียน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2562 ผลการวเิ คราะห์ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ O-NET ผลการประเมินทางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน NT การทดสอบความสามารถในการอ่าน (RT) และผลการวิเคราะห์การใช้ข้อสอบมาตรฐานปลายปี ปรากฏว่านักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการวิเคราะห์การอ่าน เขียน ลดลง ดังนั้นทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน การ คดิ วิเคราะห์ และเขียน โดยใช้นวัตกรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ด้วย นวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยให้แต่ละระดับชั้นกำหนดกิจกรรมให้สอดคล้องเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของผเู้ รียน 3. ความรู้หลักการทนี่ ำมาใช้ 3.1 บญั ชคี ำพื้นฐานภาษาไทยระดับชน้ั อนุบาลปีที่ 2 - ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 3.2 บญั ชคี ำพนื้ ฐานภาษาอังกฤษระดบั ช้ันอนบุ าลปที ่ี 2 – ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 3.3 แบบฝึกหัดคณิตคดิ เร็วระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 3.4 การสร้างนวตั กรรมเลม่ เลก็ 4. กจิ กรรมท่ที ำ 4.1 หัวหน้ากจิ กรรมกลุ่มชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) แจ้งคณะครูรว่ มประชุมเพื่อรว่ มกันสรรหา คณะกรรมการขับเคลือ่ นกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) ระดบั สถานศึกษา 4.2 คณะครเู ข้ารว่ มประชมุ และร่วมกันพจิ ารณาสรรหาคณะกรรมการดำเนินงานกิจกรรมกลมุ่ ชมุ ชน การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC)

5. ผลทไ่ี ดจ้ ากกิจกรรม 5.1 ไดด้ ำเนนิ การสรรหาคณะกรรมการขับเคล่อื นกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) โดย ไดข้ อ้ สรุปวา่ ใหแ้ ต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งานตามระดบั ช้นั ตง้ั แต่ระดับชนั้ อนุบาลปีท่ี 2 - ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยพจิ ารณาแตง่ ตงั้ ครูประจำชน้ั /ครทู ่ปี รกึ ษา 5.2 มคี ณะกรรมการดำเนนิ การแก้ไขปัญหาในทุกระดบั ชน้ั 6. การนำผลทีไ่ ด้ไปใช้ คณะกรรมการในแต่ละระดบั ชน้ั ได้ ดำเนินการศกึ ษาปญั หาการอา่ น การเขียน และการคิดคำนวณของ นกั เรยี นในระดบั ชนั้ ของตน 7. อน่ื ๆ/ปญั หา/อปุ สรรค ครใู นบางระดบั ชั้นไม่ได้เขา้ ร่วมประชมุ เพ่ือรับทราบแนวทาง 8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข แจ้งคุณครูที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุมเพื่อให้ทราบถึงแนวทางการดำเนินการของกลุ่ม และการจัดตั้ง คณะกรรมการขบั เคลอ่ื นกระบวนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ลงชอื่ ..............................................ผู้บนั ทึกกจิ กรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วันท่ี 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ความเหน็ ของหวั หน้างานวชิ าการ ความเหน็ ของรองผู้อำนวยการโรงเรียน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงช่อื ............................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อร่ามเรือง) หัวหนา้ งานวิชาการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ วนั ท่ี 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 วันที่ 12 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี น ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่อื .............................................. (นายสมทรง นิสสัยดี) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ วนั ท่ี 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563

แบบบนั ทกึ กิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community) ชื่อกลุม่ กจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จำนวนสมาชิก 21 คน กิจกรรม การพัฒนาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เลก็ เดก็ หรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครงั้ ที่ 2 ช่ือกิจกรรม ขอจัดตงั้ กล่มุ และจดทะเบียนจดั ตั้งกลุ่ม PLC วนั ท่ีจัดกจิ กรรม 25 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2563 เวลา 09.00-12.00 น. รวม 3 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 รายชอ่ื สมาชกิ /สมาชกิ ทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรมในครง้ั นี้ 17 คน ไมเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมในครงั้ น้ี 4 คน ไมเ่ ข้าร่วม ท่ี สมาชกิ ทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรม บทบาท เขา้ รว่ ม  1 นายสมทรง นสิ สยั ดี Expert  2 นายประทีป อรา่ มเรอื ง Mentor    3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกิตติยา กิมาวหา Administrator  5 นางสาวสุกัญญา มทั ธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษ์สงู Buddy 8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอื้องนภา คิดสม Buddy  10 นางปรยี าพฒั น์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร Buddy  13 นายธีรพงษ์ ดังคนกึ Buddy 14 นางลัดดา นิสสยั ดี Buddy  15 นายประเสริฐ ใจกลา้ Buddy  16 นางลลิตา ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แกว้ มงุ คุณ Buddy  18 พลฯจารตั น์ ลวดเงิน Buddy 19 นายสมพงษ์ เพยี รมี Buddy 

ท่ี สมาชกิ ทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรม บทบาท เขา้ รว่ ม ไม่เขา้ รว่ ม 20 นายสมอาจ คงวนั Buddy   21 นางปทุมชาติ จุดาบุตร Buddy 1. วัตถปุ ระสงค์/ประเดน็ /ของการจัดกจิ กรรม 1.1 เพือ่ พัฒนาทกั ษะการอ่าน เขยี น เรียนคดิ เลข ของนกั เรียนระดับช้ันอนบุ าลปีท่ี 2 ถึง ชนั้ มธั ยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่ม เลก็ เด็กหรรษา เป็นฐานในการเรียนรู้ 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวัตกรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคิดเลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา เปน็ ฐานในการเรยี นรู้ 2. สาเหตุของการจัดกิจกรรม จากผลการวิเคราะห์การอ่าน เขียน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2562 ผลการวิเคราะห์ การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ O-NET ผลการประเมนิ ทางการศึกษาขั้น พื้นฐาน NT การทดสอบความสามารถในการอ่าน (RT) และผลการวิเคราะห์การใช้ข้อสอบมาตรฐานปลายปี ปรากฏว่านักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการวิเคราะห์การอ่าน เขียน ลดลง ดังนั้นทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษา เพื่อพัฒนาทกั ษะการอ่าน การ คดิ วเิ คราะห์ และเขียน โดยใช้นวตั กรรมรูปแบบการพัฒนาทกั ษะความสามารถในการอา่ นเขียนเรยี นคิดเลข ด้วย นวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยให้แต่ละระดับชั้นกำหนดกิจกรรมให้สอดคล้องเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของผเู้ รียน 3. ความรหู้ ลักการท่นี ำมาใช้ 3.1 บัญชีคำพนื้ ฐานภาษาไทยระดับชัน้ อนุบาลปีที่ 2 - ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 3.2 บญั ชีคำพ้ืนฐานภาษาองั กฤษระดับช้ันอนุบาลปที ี่ 2 – ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 3.3 แบบฝึกหัดคณิตคิดเร็วระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 - ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 3.4 การสรา้ งนวตั กรรมเล่มเลก็ 4. กิจกรรมที่ทำ 4.1 หวั หน้ากจิ กรรมกลมุ่ ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) แจ้งคณะครรู ่วมประชุมเพ่อื จัดตั้ง ต้ังกลุ่มขบั เคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ระดบั สถานศึกษา 4.2 คณะครูเข้าร่วมประชมุ 4.3 หวั หนา้ กจิ กรรมกลมุ่ ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC) จัดทำบนั ทกึ ขอ้ ความขออนุญาตจัดตง้ั กลุม่ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC) ระดับสถานศึกษา และบนั ทึกขอ้ ความแตง่ ตั้งคณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการ ชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ (PLC)

5. ผลท่ีไดจ้ ากกิจกรรม ได้ดำเนนิ การจัดต้ังกลุม่ ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ระดบั สถานศึกษา 6. การนำผลที่ได้ไปใช้ มีคณะกรรมการในแต่ละระดับชั้น เพือ่ ดำเนินการศกึ ษาปัญหาการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ ของนกั เรียนในระดับช้นั ของตน 7. อนื่ ๆ/ปญั หา/อปุ สรรค ครใู นบางระดับช้ันไม่ไดเ้ ขา้ ร่วมประชุมเพ่ือรับทราบแนวทาง 8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข แจง้ คณุ ครูทไ่ี ม่ได้เข้าร่วมประชุมเพอื่ ให้ทราบถึงแนวทางการดำเนนิ การของกลุ่ม และการจดั ตง้ั คณะกรรมการขับเคลอ่ื นกระบวนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ลงช่ือ..............................................ผู้บันทึกกิจกรรม (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) วันท่ี 25 เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 ความเหน็ ของหัวหนา้ งานวชิ าการ ความเห็นของรองผู้อำนวยการโรงเรียน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงช่ือ............................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทีป อรา่ มเรือง) หวั หน้างานวิชาการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ วันที่ 25 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2563 วันที่ 25 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2563 ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .............................................. (นายสมทรง นิสสยั ดี) ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ วนั ท่ี 25 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2563

แบบบนั ทกึ กิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) ชือ่ กลมุ่ กิจกรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ จำนวนสมาชกิ 19 คน กจิ กรรม การพัฒนาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model คร้ังที่ 3 ช่ือกจิ กรรม จัดทำปฏิทินการดำเนินการงานชมุ ชนการ เรียนรู้วิชาชีพ (PLC) วนั ที่จดั กิจกรรม 8 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 รายช่อื สมาชกิ /สมาชกิ ที่เขา้ ร่วมกิจกรรมในคร้ังน้ี 17 คน ไมเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมในคร้งั น้ี 4 คน ไมเ่ ข้ารว่ ม ท่ี สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม บทบาท เขา้ ร่วม  1 นายศักดช์ิ ยั เลิศอรณุ รัตน์ Expert  2 นายประทปี อรา่ มเรือง Mentor  3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกติ ตยิ า กิมาวหา Administrator  5 นางสาวสกุ ัญญา มัทธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรุดา ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษ์สงู Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเออ้ื งนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรยี าพฒั น์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร Buddy  13 นายธีรพงษ์ ดังคนึก Buddy  14 นางลัดดา นิสสัยดี Buddy  15 นายประเสรฐิ ใจกล้า Buddy  16 นางลลิตา ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนษิ ฐา แก้วมุงคุณ Buddy  18 พลฯจารตั น์ ลวดเงนิ Buddy 19 นางปทมุ ชาติ จดุ าบุตร Buddy 

1. วัตถุประสงค/์ ประเด็น/ของการจดั กิจกรรม 1.1 เพ่ือพฒั นาทกั ษะการอา่ น เขียน เรยี นคิดเลข ของนกั เรียนระดบั ชน้ั อนุบาลปีที่ 2 ถงึ ชนั้ มธั ยมศกึ ษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวัตกรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคดิ เลข ด้วยนวตั กรรมเลม่ เลก็ เด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตุของการจดั กิจกรรม 1. ไม่มีตัวช่วยในการจัดตารางเวลาให้กับคณะกรรมการดำเนินงานได้อย่างสะดวกสบาย สามารถ กำหนดกิจกรรมทจ่ี ะทำลงไปได้ ทำใหผ้ ใู้ ชไ้ ด้เห็นอย่างชัดเจน สามารถเปล่ียนแปลงข้อมูล ไดต้ ามความเหมาะสม ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 2. เหตุการณ์ในตาราง ผใู้ ช้สามารถกำหนดใหแ้ จ้งเตอื นได้ ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 3. สามารถใชป้ ฏิบัติรว่ มกันไดร้ ะหว่างผู้บริหารและครูผู้ปฏบิ ัตงิ าน ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 4. สามารถแจ้งเตือนกิจกรรม ที่กำลังมาถึงได้ทางกลุ่มไลนโ์ รงเรียน ทำให้เราได้รู้ล่วงหน้าอย่างรวดเร็ว และไม่พลาดกจิ กรรมหรอื นัดหมาย ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 5. ขาดประสิทธภิ าพในการนดั ประชุมของคณะกรรมการดำเนนิ การต่าง ๆ ในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 6. คณะกรรมการไม่ทราบปฏบิ ตั ิการได้พัฒนาตนเองและเปน็ ประโยชน์ตอ่ การทำงาน ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 3. ความรู้หลักการท่นี ำมาใช้ การสร้างปฏิทนิ เพื่อใช้ในการบันทึกขอ้ มลู และกจิ กรรมเหตกุ ารณ์รวมถงึ การจดั การตารางนัดหมาย โดย สามารถส่งข้อความเชิญ และสามารถใช้ปฏิบัติร่วมกับบุคคลอื่นได้สามารถทำการสืบค้นกิจกรรมต่าง ๆ นอกจากนย้ี ังมีระบบแจ้งเตอื นทางช่องทางไลน์กลมุ่ โรงเรียน และสามารถใชร้ ว่ มกบั การใช้งาน ในการนดั ประชุม กรรมการดำเนนิ งาน ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 4. กิจกรรมทท่ี ำ 1. ประชมุ คณะกรรมการดำเนนิ งาน การกำหนดปฏิทิน นอกจากจะช่วยในการปฏิบตั ิงานไดเ้ ร็วขนึ้ ยงั สามารถกาํ หนดกจกิ รรมอืน่ ไว้ล่วงหนาได้ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 2. จัดทำปฏิทิน เพื่อเป็นตัวช่วยในการจัดตารางเวลาให้กับคณะกรรมการดำเนินงานได้อย่าง สะดวกสบาย สามารถกำหนดกิจกรรมท่ีจะทำลงไปได้ ทำให้ผูใ้ ช้ไดเ้ หน็ อย่างชดั เจน สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูล ได้ตามความเหมาะสม ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 3. ตรวจสอบความถูกต้องของแบบฟอรม และ ฟอนตใหเหมือนกัน เพื่อง่ายในการตรวจและเป็นแนว เดยี วกนั ในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 4. คณะกรรมการดำเนินงานลงความเห็นชอบ ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

5. ผลทีไ่ ดจ้ ากกิจกรรม ปฏทิ นิ การดำเนินงานชมุ ชนการเรยี นร้วู ชิ าชีพ (PLC) กลมุ่ “PLUANGPROM TEAM” ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2563 6. การนำผลท่ไี ด้ไปใช้ ปฏิทนิ การดำเนนิ งานชมุ ชนการเรียนรู้วิชาชพี (PLC) กลุม่ “PLUANGPROM TEAM” ภาคเรยี นที่ 2 ปี การศึกษา 2563 เพื่อเป็นตัวช่วยในการจัดตารางเวลาให้กับคณะกรรมการดำเนินงานได้อย่างสะดวกสบาย สามารถกำหนดกิจกรรมท่ีจะทำลงไปได้ ทำให้ผู้ใชไ้ ดเ้ ห็นอย่างชัดเจน สามารถเปล่ียนแปลงข้อมูล ได้ตามความ เหมาะสม 7. อน่ื ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค 1. สมาชิกในกลมุ่ บางคนไมใ่ ห้ความร่วมมือ 2. ขาดการ นิเทศ ติดตามจากทีมบรหิ าร แบบตอ่ เนอื ง 8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 1. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมต่อผู้บงั คับบญั ชา ลงชอ่ื ..............................................ผู้บันทกึ กจิ กรรม (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) วันที่ 8 เดือนธันวาคม พ.ศ.2563 ความเห็นของหวั หนา้ งานวชิ าการ ความเห็นของรองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงช่อื ............................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อร่ามเรือง) หัวหน้างานวิชาการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วันท่ี 8 เดอื นธนั วาคม พ.ศ.2563 วนั ที่ 8 เดอื นธนั วาคม พ.ศ.2563 ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่ือ.............................................. (นายศักดชิ์ ัย เลิศอรณุ รตั น์) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วนั ที่ 8 เดอื นธนั วาคม พ.ศ.2563

แบบบันทกึ กิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community) ชื่อกลมุ่ กิจกรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ จำนวนสมาชกิ 21 คน กจิ กรรม การพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวัตกรรมเลม่ เล็กเดก็ หรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model คร้งั ที่ 4 ชือ่ กจิ กรรม ประชุมกลมุ่ PLC วเิ คราะห์ปญั หา จดั ทำแผนปฏิบัตกิ าร PLC รายกลมุ่ /วางแผนจัดทำ รูปแบบนวัตกรรม วนั ทจ่ี ดั กจิ กรรม 29 เดือน มถิ ุนายน พ.ศ. 2563 เวลา 09.00-12.00 น. รวม 3 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายชื่อสมาชิก /สมาชิกทีเ่ ข้าร่วมกจิ กรรมในคร้งั นี้ 17 คน ไม่เขา้ ร่วมกจิ กรรมในครงั้ น้ี 4 คน ไมเ่ ขา้ ร่วม ท่ี สมาชกิ ท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรม บทบาท เขา้ ร่วม  1 นายสมทรง นสิ สัยดี Expert  2 นายประทปี อรา่ มเรอื ง Mentor    3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกติ ตยิ า กมิ าวหา Administrator  5 นางสาวสกุ ญั ญา มทั ธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรุดา ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษส์ งู Buddy 8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอือ้ งนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรยี าพฒั น์ แสนกลา้ Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสุนทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดังคนกึ Buddy 14 นางลัดดา นสิ สัยดี Buddy  15 นายประเสริฐ ใจกล้า Buddy  16 นางลลิตา ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนษิ ฐา แกว้ มุงคุณ Buddy  18 พลฯจารตั น์ ลวดเงิน Buddy

ท่ี สมาชิกที่เข้ารว่ มกิจกรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไม่เขา้ ร่วม 19 นายสมพงษ์ เพยี รมี Buddy   20 นายสมอาจ คงวัน Buddy 21 นางปทมุ ชาติ จุดาบุตร Buddy  1. วตั ถุประสงค/์ ประเดน็ /ของการจัดกิจกรรม 1.1 เพ่อื พฒั นาทกั ษะการอ่าน เขยี น เรยี นคิดเลข ของนักเรียนระดบั ชนั้ อนบุ าลปที ่ี 2 ถึง ชนั้ มธั ยมศกึ ษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่ม เลก็ เดก็ หรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวตั กรรมรูปแบบการพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคิดเลข ดว้ ยนวัตกรรมเล่มเลก็ เด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตขุ องการจดั กิจกรรม องค์กรของเรายังขาดขัน้ ตอนและแนวทางการจดั กจิ กรรม plc ท่มี ีขั้นตอนท่ชี ัดเจนและมีประสิทธิภาพ 3. ความรู้หลักการที่นำมาใช้ องค์การจำเป็นต้องพิจารณาและมีการเตรียมการรองรับความเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ผู้บริหารควรให้ ความสำคัญของการวางแผนและเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงต่าง เพื่อให้การดำเนินงานต่าง ๆ บรรลุ วตั ถปุ ระสงค์อนั เป็นเปา้ หมายหลกั ขององค์การร่วมกนั การวางแผน ( Planning ) เป็นกระบวนการกำหนดวตั ถุประสงค์สงิ่ ท่ีจะต้องกระทำเพอ่ื ที่จะทำให้บรรลุ ถึงวัตถุประสงค์ที่กำหนด การวางแผนผังเป็นกาตัดสินใจล่วงหน้าเกี่ยวกับงานที่จะทำในอนาคตเป็นกาคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจก่อนลงมือกระทำ เป็นการมุ่งป้องกัน ปัญหามากกว่าการคอยแกป้ ัญหาที่จะเกิดขึ้น จะ เห็นได้ว่าการวางแผนเป็นการเชื่อมโยงจากปัจจุบันที่เป็นอยู่ไปสู่จุดมุ่งหมายที่ต้องการวางแผน จึงเป็น กระบวนการในการคิด วิเคราะห์ เพือ่ ใหท้ ราบถงึ สถานการณ์ท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบนั พิจารณาถึงวัตถุประสงค์ท่ีต้อง กาให้เกิดขึ้นทั้งนี้จะต้องมีการคิดพิจารณาถึงรายละเอียดของสิ่งที่ต้องทำพร้อมกับการระบุผลสำเร็จต่าง ๆ ที่ ต้องการ ซึ่งจะนำไปสวู่ ตั ถุประสงค์ตามที่ไดต้ ้งั ไว้

ข้นั ตอนการดำเนินการจดั การเรยี นร้อู ย่างเป็นระบบ

รปู แบบการพัฒนาความสามารถการอา่ นเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรม เล่มเลก็ เดก็ หรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANGS MODEL 1. P = Planning คือ การวางแผน กระบวนการวิเคราะหป์ ัญหาของผู้เรยี น กำหนดวตั ถุประสงคใ์ นการแก้ปัญหา วเิ คราะหแ์ ละ กำหนดแนวทางการผลติ นวัตกรรมเพอ่ื ใชใ้ นการแกป้ ัญหาของผูเ้ รยี นเพ่อื ใหบ้ รรลุตามวตั ถุประสงค์ 2. L = Literacy คือ ความสามารถในการอา่ นและเขยี น ความสามารถในการอ่าน ที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ให้นักเรยี นมีการเก็บรวบรวมความคิดที่ ปรากฏในสิ่งที่อ่าน มีพฤติกรรมในการรับรู้ การแปลความ ทักษะการฝึกฝนและการเรียนรู้ในการอา่ น เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดและประสบการณ์ สามารถนำความรู้ความคิดและประสบการณ์เหล่านั้นไป ใช้ในการพัฒนาและเพม่ิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียน ความสามารถในการเขยี น ที่เกดิ จากการจัดการเรียนรใู้ ห้นักเรียนมที กั ษะการใช้ภาษา สามารถ ถ่ายทอดความรู้ ความคดิ จินตนาการ ประสบการณ์ต่าง ๆ เพอื่ ใหผ้ ู้อา่ นเข้าใจตามความมุ่งหมายของ ผู้เขียน ซึ่งการเขียนที่ดีขึ้นอยู่กับคุณภาพของเนื้อหาและกลวิธีการเขียนของผู้เขียน จึงจำเป็นต้องมี ทักษะในการเขียนคำทเ่ี ปน็ คำพ้ืนฐานในระดับชน้ั ของนกั เรียนเพ่ือนำมาเปน็ เครอ่ื งมือในการพัฒนาการ เขียนเรอื่ งของนกั เรียน

3. U = Understanding คือ ความเขา้ ใจ ความเข้าใจในหลักภาษา ประกอบด้วย 4 ทักษะ ไดแ้ ก่ - ทักษะในการอ่านคำพน้ื ฐานภาษาไทยและบทความภาษาไทยในแต่ละระดับชัน้ - ทักษะในการเขียนคำพนื้ ฐานภาษาไทยในแต่ละระดับชัน้ - ทกั ษะในการอ่านคำพ้ืนฐานภาษาอังกฤษในแตล่ ะระดับช้ัน - ทักษะในการเขียนคำพืน้ ฐานภาษาองั กฤษในแต่ละระดับชั้น ความเขา้ ใจในหลกั การคำนวณ - ทกั ษะการคิดคำนวณในแต่ละระดบั ชนั้ 4. A = Attitude คอื เจตคติ นักเรียนมเี จตคติท่ดี ีตอ่ การอา่ น การเขียน และการคำนวณ สง่ ผลให้นกั เรียนมีความสุขในการ พฒั นาทักษะทางภาษาและทักษะการคำนวณของตนเอง 5. N = Numeracy คือ ความสามารถดา้ นการคำนวณ ความสามารถด้านการคำนวณ ที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และการใช้ทักษะ การคิดคํานวณ ความคิดรวบยอด และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน นักเรียนมีความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่วและนำไปใช้ในการพัฒนานักเรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนได้ 6. G = Growth คือ พฒั นาการ พัฒนาการทางด้านสติปัญญา นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจคำศัพท์พื้นฐานภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ อย่างถูกต้องเหมาะสม และเกิดความมั่นใจในการเลือกใช้ภาษา นักเรียนสามารถคิดคำนวณได้อย่าง ถูกตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ ตามลำดบั ผลงานที่เกิดข้นึ จากการดาํ เนินงานตาม PLUANG MODEL 1. P = Planning คือ การวางแผน - ประชมุ คณะครใู นแตล่ ะระดบั ชั้นเพ่อื วิเคราะหป์ ัญหาของผเู้ รียนเก่ยี วกับการอ่าน การเขยี น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ปญั หาเก่ียวกับทกั ษะการคดิ คำนวณ - กำหนดวัตถปุ ระสงค์ในการแกป้ ญั หาจากการวเิ คราะหป์ ัญหารว่ มกัน - รว่ มกนั หาแนวทางการผลติ นวตั กรรมเพอื่ ใช้ในการแก้ปัญหาของผเู้ รยี น 2. L = Literacy คือ ความสามารถในการอา่ นและเขียน - ชดุ แบบฝึกโครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการศึกษาพฒั นาทกั ษะการอา่ นวิชาภาษาไทย ระดบั ชน้ั อนบุ าล ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 6 และระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3 - ชดุ แบบฝกึ โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษาพฒั นาทักษะการเขียนวชิ าภาษาไทย

ระดบั ชน้ั อนบุ าล ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 – 6 และระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 - 3 - ชดุ แบบฝึกโครงการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการศกึ ษาวิชาภาษาองั กฤษ ระดับชน้ั อนุบาล ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 – 6 และระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3 3. U = Understanding คอื ความเขา้ ใจ - เครอื่ งมือการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรยี นคิดเลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เล็กเดก็ หรรษา - รายงานผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ดว้ ยนวัตกรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา คร้งั ท่ี 1 – 7 4. A = Attitude คอื เจตคติ - แบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการใช้นวัตกรรมเล่มเล็กเดก็ หรรษาของนักเรยี น 5. N = Numeracy คือ ความสามารถด้านการคำนวณ - ชุดแบบฝึกโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาพัฒนาทักษะการคิดคำนวณวิชา คณิตศาสตร์ ระดับช้นั อนบุ าล ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 – 6 และระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 - 3 6. G = Growth คือ พฒั นาการ - รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ งานการประเมนิ ความสามารถในการอา่ นเขียนเรยี นคดิ เลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา 4. กิจกรรมทที่ ำ 1. ประชมุ ครูประจำชั้นทุกระดับชั้น เพื่อมอบนโยบายและสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการพัฒนา ทักษะความสามารถในการอา่ นเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเลก็ เดก็ หรรษา 2. ศึกษาข้อมูลพืน้ ฐาน ปัญหา อุปสรรคในการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ดว้ ยนวตั กรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา จากปกี ารศึกษาที่ผา่ นมา 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำ “เครื่องมือการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียน เรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา” 4. จัดทำ Workshop ให้กับครูประจำชั้นทุกระดับชั้น เพื่อรวบรวมองค์ความรู้การพัฒนาทักษะ ความสามารถในการอา่ นเขยี นเรยี นคดิ เลข ดว้ ยนวตั กรรมเล่มเลก็ เด็กหรรษา 5. นำเสนอวธิ ีการดำเนินงานของแตล่ ะระดับช้ัน 6. จัดทำเครื่องมือการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเล็ก เด็กหรรษา 7. ดำเนนิ การจดั กิจกรรมตามเคร่อื งมอื ของแตล่ ะระดบั ชัน้

8. ประเมินผลการใช้“เครื่องมือการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วย นวัตกรรมเล่มเลก็ เดก็ หรรษา” 9. จัดทำรายงานการพัฒนาทกั ษะความสามารถในการอา่ นเขยี นเรยี นคิดเลข ดว้ ยนวัตกรรมเล่มเลก็ เดก็ หรรษา แผนการจดั กิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) ทำ ให้ไดข้ อ้ สรปุ เปน็ ขัน้ ตอนการจัดกิจกรรม ดังนี้ ขนั้ ตอนการจดั กิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบาํ รงุ ราษฎร์) การวิเคราะหป์ หา/ความต้องการในการพัฒนา/ วางมาตรการ/ปรับปรงุ แกไ้ ข กาํ หนดประเด็นป หา แลกเปล่ียนเรยี นรู้ PLC กล่มุ ย่อย นาํ องคค์ วามรูส้ ู่การป บิ ัติ สะทอ้ นผลหลงั การป บิ ตั ิ(กล่มุ ยอ่ ย) พบประเดน็ ป หา สะทอ้ นผลหลังการป ิบตั ิ(กลุ่มให )่ ที่ต้องปรับปรุงพัฒนา สรุปแนวทางการดาํ เนนิ การทีป่ ระสบผลสาํ เร็จ ตามจดุ ม่งุ หมาย สรปุ ผลท่ีจัดเป็น Best Practice เผยแพร่และสร้างเครอื ข่าย

5. ผลท่ีได้จากกิจกรรม 1. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) มีแนวทางการจัด กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ทเ่ี ป็นข้นั ตอนท่ีชัดเจน และสามารถนำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ 2. มีบรรยากาศที่ดีในการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) 6. การนำผลทไ่ี ด้ไปใช้ สามารถนำวธิ ีการจัดกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) ไปใช้ไดก้ บั การร่วมกนั แก้ปัญหา พัฒนา วางมาตรการ ปรับปรุงแกไ้ ขในเร่ืองต่าง ๆ ในสถานศึกษาได้ 7. อ่นื ๆ /ป หา/อปุ สรรค 1. สมาชิกในกลมุ่ บางคนไมใ่ หค้ วามรว่ มมือ 2. ไมม่ ีการติดตามจากทมี บรหิ าร 8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข 1. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตอ่ ผ้บู ังคับบญั ชา ลงชื่อ..............................................ผู้บนั ทกึ กจิ กรรม (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) วันท่ี 29 เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ.2563 ความเหน็ ของหวั หน้างานวชิ าการ ความเหน็ ของรองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชือ่ ............................................. ลงชอื่ .............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อรา่ มเรือง) หัวหน้างานวิชาการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วนั ท่ี 29 เดือนมถิ ุนายน พ.ศ.2563 วนั ที่ 29 เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ.2563 ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี น ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่ือ.............................................. (นายสมทรง นสิ สยั ดี) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ วนั ที่ 26 เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ.2563

แบบบันทกึ กิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community) ชื่อกลุ่มกจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) จำนวนสมาชกิ 20 คน กิจกรรม การพัฒนาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรยี นคิดเลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เลก็ เดก็ หรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model คร้งั ที่ 5 ชอ่ื กจิ กรรม ดำเนนิ การจดั ทำสอื่ นวัตกรรม วันที่จัดกิจกรรม 30 เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 เวลา 09.00-12.00 น. รวม 3 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 รายช่ือสมาชกิ /สมาชิกทเี่ ข้าร่วมกจิ กรรมในคร้ังนี้ 17 คน ไม่เข้ารว่ มกิจกรรมในคร้ังน้ี 4 คน ไม่เขา้ ร่วม ท่ี สมาชิกทเี่ ข้ารว่ มกิจกรรม บทบาท เข้ารว่ ม  1 นายสมทรง นสิ สัยดี Expert  2 นายประทีป อร่ามเรือง Mentor    3 นายชนายุทธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกิตติยา กิมาวหา Administrator  5 นางสาวสุกัญญา มัทธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษส์ ูง Buddy 8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอือ้ งนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรียาพัฒน์ แสนกลา้ Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสุนทร Buddy  13 นายธีรพงษ์ ดังคนกึ Buddy 14 นางลดั ดา นิสสัยดี Buddy  15 นายประเสริฐ ใจกลา้ Buddy  16 นางลลิตา ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนษิ ฐา แกว้ มงุ คณุ Buddy  18 พลฯจารัตน์ ลวดเงิน Buddy 19 นายสมพงษ์ เพียรมี Buddy 

ท่ี สมาชิกท่ีเข้าร่วมกจิ กรรม บทบาท เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม 20 นายสมอาจ คงวัน Buddy   21 นางปทุมชาติ จุดาบุตร Buddy 1. วัตถุประสงค/์ ประเดน็ /ของการจัดกจิ กรรม 1.1 เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียนระดับช้ันอนุบาลปีท่ี 2 ถึง ช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วย นวตั กรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพ่ือให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวตั กรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ดว้ ยนวัตกรรมเล่มเลก็ เด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตขุ องการจดั กิจกรรม นวตั กรรมทจ่ี ะนำมาใชจ้ ัดกิจกรรมเพ่อื แก้ปญั หาผ้เู รียนมีหลากหลาย จงึ ตอ้ งจัดทำนวตั กรรมตามรูปแบบ ทีก่ ำหนดไว้ 3. ความรู้หลกั การท่ีนำมาใช้ ดำเนนิ การจดั ทำส่อื นวัตกรรมตามรูปแบบที่กำหนดไว้ และกำหนดวธิ ีการสร้างเครื่องมือให้สอดคล้องกับ มาตรฐานและตัวชว้ี ดั ของแตล่ ะระดบั ชั้น 4. กจิ กรรมท่ที ำ - นำเสนอตวั อย่างนวตั กรรมทจ่ี ะนำไปใช้ในการแก้ปัญหาผเู้ รียนของแตล่ ะชนั้ เรยี น - วเิ คราะห์ สงั เคราะห์นวัตกรรม เพอ่ื นำผลการวเิ คราะห์ไปปรบั ปรุงนวัตกรรมให้เหมาะสม - เริม่ นำนวตั กรรมที่ปรบั ปรุงแล้วไปใช้ในชนั้ เรียน 5. ผลท่ีได้จากกิจกรรม ครูแต่ละระดบั ชั้นได้สร้างเครื่องมอื ตามรูปแบบท่กี ำหนดไว้ และสรา้ งเครอื่ งมอื ใหส้ อดคลอ้ งกับ มาตรฐานและตวั ชว้ี ัดของแตล่ ะระดับช้ัน 6. การนำผลทไี่ ด้ไปใช้ เมอื่ ได้รับคำแนะนำและทำการปรับปรุงนวตั กรรมแลว้ ครูประจำช้ันแต่ละระดบั ช้นั จงึ ไดส้ ร้างเครื่องมือ และจดั ทำเป็นรูปเล่ม ครปู ระจำชั้นในแตล่ ะระดับชั้นนำเครอื่ งมือไปใช้วัดผลความสามารถในการอ่านเขยี นเรยี น คดิ เลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา จำนวน 11 ระดับชน้ั ตง้ั แตร่ ะดับช้นั อนุบาลปที ี่ 2 ถงึ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

7. อน่ื ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค ครูบางระดับช้ันไมเ่ ข้าใจวธิ ีการสร้างเคร่อื งมอื ทำให้การนำเครือ่ งมอื มาใช้ในการวัดผลความสามารถใน การอ่านเขยี นเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เล็กเดก็ หรรษาช้าลงไปดว้ ย 8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข นำปัญหาอปุ สรรคทพี่ บมาปรึกษาและชว่ ยกันดำเนินการใหเ้ รียบรอ้ ย ลงช่อื ..............................................ผบู้ ันทึกกิจกรรม (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) วันท่ี 30 เดอื นมิถุนายน พ.ศ.2563 ความเหน็ ของหวั หนา้ งานวิชาการ ความเห็นของรองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชือ่ ............................................. ลงชือ่ .............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อร่ามเรือง) หัวหน้างานวชิ าการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ วนั ที่ 30 เดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ.2563 วนั ท่ี 30 เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ.2563 ความเหน็ ของผูอ้ ำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่อื .............................................. (นายสมทรง นสิ สัยดี) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วันที่ 30 เดือนมถิ ุนายน พ.ศ.2563

แบบบันทกึ กจิ กรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community) ช่อื กลมุ่ กิจกรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) จำนวนสมาชกิ 20 คน กิจกรรม การพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคดิ เลข ด้วยนวตั กรรมเล่มเลก็ เด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครงั้ ที่ 6 ชอ่ื กิจกรรม สะทอ้ นผลการใช้นวตั กรรม คร้ังที่ 1 วันทจี่ ัดกิจกรรม 14 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563 รายชือ่ สมาชิก /สมาชิกท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรมในครง้ั นี้ 17 คน ไม่เข้ารว่ มกิจกรรมในครง้ั นี้ 4 คน ไม่เขา้ ร่วม ท่ี สมาชกิ ที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม บทบาท เข้ารว่ ม  1 นายสมทรง นสิ สัยดี Expert   2 นายประทีป อรา่ มเรือง Mentor   3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher   4 นางสาวกติ ตยิ า กมิ าวหา Administrator  5 นางสาวสุกญั ญา มทั ธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษส์ ูง Buddy 8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอ้อื งนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรยี าพฒั น์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสุนทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดงั คนึก Buddy 14 นางลดั ดา นิสสยั ดี Buddy  15 นายประเสรฐิ ใจกล้า Buddy  16 นางลลติ า ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แกว้ มงุ คุณ Buddy  18 พลฯจารตั น์ ลวดเงนิ Buddy 19 นายสมพงษ์ เพียรมี Buddy  20 นายสมอาจ คงวนั Buddy

ท่ี สมาชกิ ท่เี ขา้ รว่ มกิจกรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไมเ่ ข้ารว่ ม 21 นางปทุมชาติ จุดาบุตร Buddy  1. วัตถปุ ระสงค์/ประเด็น/ของการจดั กิจกรรม 1.1 เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ถึง ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วย นวัตกรรมเลม่ เล็กเดก็ หรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวัตกรรมรูปแบบการพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเล็กเดก็ หรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตขุ องการจดั กิจกรรม เมือ่ ครแู ต่ละระดับช้ันจดั ทำนวตั กรรมเรียบร้อยแลว้ นำผลการใชน้ วัตกรรมมาสะทอ้ นผล 3. ความรู้หลกั การทีน่ ำมาใช้ ในการสร้างเครอื่ งมอื การจดั กิจกรรมพฒั นาทักษะการอา่ น เขยี น เรียนคิดเลข จะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตวั ชีว้ ัดของแตล่ ะระดบั ช้ัน 4. กิจกรรมทท่ี ำ ครูแต่ละระดับชนั้ สะท้อนผลของการสร้างนวตั กรรมท่ีจะนำมาพัฒนาทกั ษะการอา่ น เขยี น เรียนคิดเลข นักเรยี นต้องได้รับการพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางการอา่ น และการเขียนวิชาภาษาไทย วิชาภาษาองั กฤษ และ นกั เรยี นได้รบั การพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ คำนวณคณิตคิดเรว็ วิชาคณติ ศาสตร์ ซ่งึ จะต้องสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตัวชีว้ ัดของแต่ละระดบั ช้นั 5. ผลที่ได้จากกิจกรรม จากการสะท้อนผลการใชน้ วัตกรรมของแตล่ ะระดบั ช้ัน ทำให้ครูผู้สอนมคี วามรู้ ความเข้าใจในการใช้ นวัตกรรมรปู แบบการพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ด้วยนวตั กรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา ได้เกดิ การเรยี นรใู้ นการสรา้ งและนำนวตั กรรมไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายให้แกผ่ ูเ้ รยี น 6. การนำผลที่ไดไ้ ปใช้ ครผู สู้ อนนำนวตั กรรมไปปรับปรุงและพฒั นา ทำใหน้ วัตกรรมที่ใช้มีคุณภาพ นักเรียนสามารถอ่าน เขยี น คดิ คำนวณ อยา่ งมีข้นั ตอนและแก้ปัญหาได้ ส่งผลให้ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นร้อู ยา่ งมีความสขุ และบรรลุผลตาม นวตั กรรมท่สี ร้างขึ้นของแตล่ ะระดับชัน้ 7. อืน่ ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค ครผู ้สู อนบางระดบั ช้ันสร้างนวัตกรรมยงั ไม่สมบูรณท์ ำให้สะท้อนผลไม่ได้

8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข จดั ประชุมครปู ระจำชนั้ ทกุ ระดับชน้ั เพอื่ ตดิ ตามการดำเนนิ กจิ กรรมในการสร้างนวัตกรรมของแตล่ ะ ระดบั ชน้ั กอ่ นท่ีจะนำมาใชก้ บั ผเู้ รยี น ลงชือ่ ..............................................ผบู้ นั ทกึ กิจกรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วนั ท่ี 14 เดอื นกรกฎาคม พ.ศ.2563 ความเห็นของหัวหนา้ งานวิชาการ ความเหน็ ของรองผ้อู ำนวยการโรงเรียน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชอ่ื ............................................. ลงช่อื .............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อรา่ มเรือง) หัวหนา้ งานวชิ าการ รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วนั ที่ 14 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2563 วนั ที่ 14 เดอื นกรกฎาคม พ.ศ.2563 ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่ือ.............................................. (นายสมทรง นิสสยั ดี) ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ วนั ท่ี 14 เดอื นกรกฎาคม พ.ศ.2563

แบบบนั ทึกกิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community) ช่อื กลมุ่ กจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จำนวนสมาชิก 21 คน กิจกรรม การพฒั นาทักษะความสามารถในการอา่ นเขยี นเรยี นคิดเลข ด้วยนวตั กรรมเลม่ เลก็ เด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครง้ั ท่ี 7 ช่อื กิจกรรม สรา้ งเครอื่ งมือวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วัตกรรม ครงั้ ที่ 1 วนั ทีจ่ ดั กิจกรรม 11 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16.00 - 18.00 น. รวม 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 รายชอื่ สมาชกิ /สมาชิกท่ีเข้าร่วมกจิ กรรมในครั้งนี้ 17 คน ไม่เขา้ ร่วมกิจกรรมในคร้ังน้ี 4 คน ท่ี สมาชิกที่เขา้ ร่วมกิจกรรม บทบาท เขา้ รว่ ม ไม่เขา้ ร่วม 1 นายสมทรง นสิ สยั ดี Expert  2 นายประทปี อรา่ มเรือง Mentor  3 นายชนายุทธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกิตตยิ า กิมาวหา Administrator  5 นางสุกญั ญา มัทธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรุดา ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษ์สูง Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอื้องนภา คิดสม Buddy  10 นางปรียาพฒั น์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สชุ าติสุนทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดังคนึก Buddy  14 นางลดั ดา นสิ สยั ดี Buddy  15 นายประเสริฐ ใจกลา้ Buddy  16 นางลลิตา ฉมิ ถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แก้วมุงคณุ Buddy  18 พลฯจารตั น์ ลวดเงิน Buddy  19 นายสมพงษ์ เพยี รมี Buddy 

ท่ี สมาชิกท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไม่เขา้ ร่วม 20 นายสมอาจ คงวัน Buddy   21 นางปทุมชาติ จดุ าบุตร Buddy 1. วตั ถุประสงค์/ประเดน็ /ของการจดั กิจกรรม 1.1 เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการอา่ น เขียน เรยี นคิดเลข ของนกั เรยี นระดบั ช้นั อนบุ าลปีท่ี 2 ถึง ชนั้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่ม เล็กเด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวตั กรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตุของการจัดกิจกรรม 2.1 เพ่ือนำไปใชใ้ นการพัฒนาทักษะการอา่ น เขียน เรยี นคิดเลข ของนกั เรียนระดับชั้นอนบุ าลปีที่ 2 ถึง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ครงั้ ท่ี 1 2.2 เพื่อนำเครื่องมือไปใช้ในการวัดและประเมินผลการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียนระดับช้ัน อนบุ าลปที ี่ 2 ถึง ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ครั้งที่ 1 2.3 เพื่อให้มีนวัตกรรมเครื่องมือการวัดและประเมินผลการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียน ระดบั ชั้นอนุบาลปที ี่ 2 ถึง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ครั้งท่ี 1 3. ความรู้หลกั การทีน่ ำมาใช้ 3.1 นำบัญชคี ำพ้นื ฐานวิชาภาษาไทยของนกั เรียนระดับชนั้ อนบุ าลปที ี่ 2 ถงึ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มาใช้ ในการสรา้ งเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผลการใชน้ วัตกรรม ครง้ั ท่ี 1 3.2 นำบทรอ้ ยแก้วทป่ี ระกอบไปด้วยบัญชีคำพ้ืนฐานของนกั เรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ถึง ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 มาใชใ้ นการสรา้ งเครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม ครัง้ ที่ 1 3.3 นำบัญชคี ำพน้ื ฐานวิชาภาษาองั กฤษของนักเรยี นระดับชน้ั อนบุ าลปีที่ 2 ถึง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 มา ใชใ้ นการสรา้ งเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม ครั้งที่ 1 3.4 นำทักษะการเตรียมความพรอ้ มทางดา้ นคณิตศาสตร์ของนกั เรียนชั้นอนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ชัน้ อนุบาลปีที่ 3 และนำทักษะการคิดคำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร คณิตคิดเร็วของ นกั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 มาใชใ้ นการสร้างเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการ ใช้นวัตกรรม คร้งั ท่ี 1 4. กจิ กรรมทท่ี ำ 4.1 สร้างเครือ่ งมือการอา่ นออกเสยี งและการเขยี นตามคำบอก เพือ่ วดั ความสามารถในการอ่านออกเสยี ง และเขียนตามคำบอกโดยใชช้ ดุ คำในบัญชีคำพน้ื ฐานวชิ าภาษาไทย ของนกั เรียนระดับชน้ั อนุบาลปที ี่ 2 ถึง ชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 มาใช้ในการวัดและประเมินผลการใชน้ วัตกรรม คร้ังที่ 1

4.2 สร้างเครอื่ งมือการอ่านออกเสยี ง เพอื่ วัดความสามารถในการอา่ นออกเสียงจากบทร้อยแกว้ ที่ กำหนดให้ ของนักเรยี นระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มาใช้ในการวดั และประเมนิ ผลการ ใชน้ วตั กรรม คร้งั ที่ 1 4.3 สร้างเคร่อื งมอื การอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ เพอ่ื วดั ความสามารถในการท่อง คำศัพท์พรอ้ มบอกความหมายตามชุดคำในบัญชคี ำพน้ื ฐานวิชาภาษาองั กฤษของนักเรียนระดับชน้ั อนุบาลปที ี่ 2 ถึง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 มาใช้ในการวดั และประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม คร้งั ท่ี 1 4.4 สรา้ งเครอื่ งมอื การประเมนิ ความสามารถพื้นฐานทีจ่ ำเป็นของนกั เรียน ทกั ษะการคิดคำนวณโดยใช้ ความสามารถในการบวก การลบ การคณู และการหาร ได้อย่างรวดเรว็ และถูกตอ้ งของนกั เรยี นระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครงั้ ที่ 1 5. ผลทีไ่ ดจ้ ากกิจกรรม 5.1 ไดเ้ ครอื่ งมือการอา่ นออกเสยี งและการเขยี นตามคำบอก เพอ่ื วัดความสามารถในการอา่ นออกเสียง และเขยี นตามคำบอกโดยใชช้ ดุ คำในบัญชีคำพ้นื ฐานวชิ าภาษาไทย ของนกั เรียนระดบั ช้ันอนุบาลปีท่ี 2 ถึง ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 มาใช้ในการวัดและประเมนิ ผลการใช้นวัตกรรม คร้ังที่ 1 5.2 ได้เครอื่ งมือการอ่านออกเสียง เพอ่ื วดั ความสามารถในการอา่ นออกเสียงจากบทรอ้ ยแกว้ ที่ กำหนดให้ ของนกั เรียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 มาใช้ในการวัดและประเมนิ ผลการ ใช้นวตั กรรม ครง้ั ที่ 1 5.3 ได้เคร่ืองมือการอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศพั ท์ เพ่ือวัดความสามารถในการท่อง คำศพั ท์พร้อมบอกความหมายตามชุดคำในบญั ชคี ำพืน้ ฐานวิชาภาษาองั กฤษของนกั เรียนระดบั ชน้ั อนบุ าลปที ี่ 2 ถึง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มาใช้ในการวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วัตกรรม ครั้งที่ 1 5.4 ได้เครอื่ งมือการประเมินความสามารถพื้นฐานทีจ่ ำเปน็ ของนักเรยี น ทกั ษะการคดิ คำนวณโดยใช้ ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ไดอ้ ย่างรวดเรว็ และถูกต้องของนกั เรียนระดบั ชั้นอนบุ าลปที ่ี 2 ถึง ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 มาใช้ในการวัดและประเมินผลการใช้นวัตกรรม ครัง้ ท่ี 1 6. การนำผลทไี่ ดไ้ ปใช้ 6.1 นักเรยี นระดับช้ันอนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้นำเคร่อื งมือไปใช้ในการอา่ นออกเสยี ง และการเขยี นตามคำบอก เพอ่ื วดั ความสามารถในการอา่ นออกเสียงและเขียนตามคำบอกโดยใชช้ ุดคำในบญั ชี คำพ้ืนฐานวิชาภาษาไทย ครั้งท่ี 1 6.2 นกั เรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ถึง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ได้นำเคร่ืองมอื ไปใชใ้ นการอา่ นออก เสยี ง เพ่ือวัดความสามารถในการอา่ นออกเสยี งจากบทร้อยแก้วทีก่ ำหนดให้ ครงั้ ที่ 1 6.3 นกั เรียนระดบั ชนั้ อนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ได้นำเครอื่ งมอื ไปใชใ้ นการอา่ นออกเสียง บอกความหมาย และคดั คำศพั ท์ เพือ่ วดั ความสามารถในการท่องคำศพั ทพ์ รอ้ มบอกความหมายตามชดุ คำใน บญั ชีคำพน้ื ฐานวิชาภาษาอังกฤษ ครงั้ ที่ 1 6.4 นักเรยี นระดับชั้นอนบุ าลปีท่ี 2 ถงึ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้นำเครื่องมือไปใชใ้ นการประเมิน ความสามารถพื้นฐานท่ีจำเปน็ ของนักเรยี น ทกั ษะการคดิ คำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การ คณู และการหาร ไดอ้ ย่างรวดเรว็ และถูกต้อง ครงั้ ที่ 1

7. อื่น ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค 7.1 นกั เรียนขาดแรงจงู ใจในการใชเ้ ครือ่ งมือ 7.2 นกั เรียนขาดทักษะการอา่ นออกเสียงและการเขยี นตามคำบอกวิชาภาษาไทย 7.3 นักเรยี นขาดทักษะการอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ วิชาภาษาอังกฤษ 7.4 นกั เรยี นขาดทกั ษะการคดิ คำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคณู และการหาร ได้ อยา่ งรวดเร็วและถูกตอ้ ง 7.5 ขาดความร่วมมอื จากคุณครูบางทา่ น 8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 8.1 คณุ ครูควรหาแนวทางในการแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขนึ้ โดยการกระตุน้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ แรงจูงใจและ เพิม่ ทักษะกระบวนการตา่ งๆให้ครบถ้วน 8.2 ผบู้ รหิ ารควรให้การตดิ ตามผลการดำเนินงานในกระบวนการ PLC ตามปฏิทินการปฏิบตั งิ านของ PLC ทกุ ครัง้ ลงชื่อ..............................................ผู้บันทึกกิจกรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วันที่ 11 เดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2563 ความเหน็ ของหัวหน้างานวชิ าการ ความเหน็ ของรองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงช่อื ............................................. ลงช่ือ.............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อรา่ มเรอื ง) หัวหน้างานวชิ าการ รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วันท่ี 11 เดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2563 วันที่ 11 เดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2563 ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่อื .............................................. (นายสมทรง นิสสัยดี) ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ วนั ที่ 11 เดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2563

แบบบนั ทกึ กิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community) ชอ่ื กลุ่มกจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) จำนวนสมาชกิ 21 คน กิจกรรม การพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรยี นคิดเลข ด้วยนวตั กรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model คร้ังที่ 8 ชอื่ กจิ กรรม - สง่ เคร่อื งมือการวัดและประเมินผลการใชน้ วัตกรรม ครงั้ ท่ี 1 - ตรวจสอบความถูกต้องของเคร่ืองมอื ก่อนนำไปใช้วดั การใชน้ วัตกรรมคร้งั ท่ี 1 วนั ทีจ่ ัดกิจกรรม 25 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายชอ่ื สมาชกิ /สมาชิกทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรมในครงั้ น้ี 18 คน ไม่เขา้ ร่วมกจิ กรรมในคร้งั นี้ 3 คน ท่ี สมาชิกที่เขา้ ร่วมกจิ กรรม บทบาท เข้าร่วม ไม่เขา้ ร่วม 1 นายสมทรง นสิ สัยดี Expert / 2 นายประทปี อร่ามเรือง Mentor / 3 นายชนายุทธ ตรงตามคำ Model Teacher / 4 นางสาวกิตติยา กิมาวหา Administrator / 5 นางสกุ ญั ญา มัทธรุ ี Buddy / 6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy / 7 นางสาวกมลพร หงษ์สงู Buddy / 8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy / 9 นางสาวเอือ้ งนภา คิดสม Buddy / 10 นางปรียาพัฒน์ แสนกล้า Buddy / 11 นายราชนพ ลำภู Buddy / 12 นางสาวกนกนาถ สชุ าติสนุ ทร Buddy / 13 นายธีรพงษ์ ดงั คนกึ Buddy / 14 นางลัดดา นิสสยั ดี Buddy / 15 นายประเสริฐ ใจกล้า Buddy / 16 นางลลติ า ฉิมถาวร Buddy / 17 นางสาวขนิษฐา แก้วมงุ คุณ Buddy / 18 นางปทุมชาติ จดุ าบุตร Buddy /

ท่ี สมาชกิ ที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไมเ่ ขา้ ร่วม 19 พลฯจารัตน์ ลวดเงนิ Buddy / 20 นายสมพงษ์ เพียรมี Buddy / 21 นายสมอาจ คงวัน Buddy / 1. วตั ถปุ ระสงค/์ ประเดน็ /ของการจัดกิจกรรม 1.1 เพ่ือพัฒนาทกั ษะการอ่าน เขยี น เรยี นคิดเลข ของนักเรียนระดับชนั้ อนบุ าลปีที่ 2 ถึง ชัน้ มธั ยมศกึ ษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เล็กเดก็ หรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวตั กรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวตั กรรมเล่มเลก็ เด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตขุ องการจดั กิจกรรม 2.1 ส่งเครื่องมอื การวดั และประเมินผลการใช้นวัตกรรม ครั้งท่ี 1 2.2 ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของเครื่องมือก่อนนำไปใชว้ ัดการใชน้ วตั กรรมคร้ังท่ี 1 ในวนั ท่ี 25 สิงหาคม 2563 3. ความร้หู ลักการทีน่ ำมาใช้ 3.1 หลักการวัดประเมินผลเกี่ยวกับการตรวจสอบความเหมาะสมของเครื่องมือวัดและประเมินผล โดยเคร่ืองมือวัดผลท่ีดีจะตอ้ งเป็นเครื่องมือท่ีมีคุณภาพจงึ จะช่วยใหก้ ารวดั ผลท่มี ีความถกู ต้องเชื่อถือได้ และผล การประเมินทีไ่ ด้ย่อมน่าเช่ือถอื ด้วย 4. กจิ กรรมทีท่ ำ การดำเนนิ การตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมือวัดและประเมนิ ผลมีดังนี้ 4.1 เครอื่ งมือที่สามารถวัดไดต้ ามวัตถุประสงค์ทตี่ อ้ งการวดั คณุ สมบตั ขิ องข้อคำถามท่ีสามารถ วัดได้ตรงตามเนื้อหาและพฤติกรรมที่ตอ้ งการวดั และเมื่อรวบรวมข้อคำถามทุกขอ้ เป็นเครือ่ งมอื ท้ังฉบับจะต้อง วัดได้ครอบคลมุ เนอ้ื หาและพฤตกิ รรมท้งั หมดทตี่ ้องการวดั 4.2 คุณสมบัติของเครื่องมือวัดที่แสดงให้ทราบว่าเครื่องมือน้ัน ให้ผลการวดั ที่คงท่ีไม่ว่าจะใช้วัดกีค่ ร้งั ก็ ตามกบั กลุม่ เดมิ โดยแบบทดสอบฉบบั น้ันจะต้องวดั ลกั ษณะเดยี วกันหรือวัดองคป์ ระกอบร่วมกัน มคี วามยาก เทา่ กนั และมรี ะบบให้คะแนนเป็นไปในแนวทางเดียวกับกบั วัตถปุ ระสงคข์ องกจิ กรรม 4.3 ความยากของข้อสอบ จะต้องเหมาะสมกับระดับช้ันที่ตอ้ งการวัดและสอดคล้องกับนวัตกรรมที่ใช้ ในการวัดในคร้ังที่ 1 กล่าวคือ จำนวนรอ้ ยละหรือสัดสว่ นของคนที่ตอบถูกในข้อนั้น เมื่อเปรียบเทยี บกับจำนวน คนทั้งหมดทีท่ ำขอ้ สอบนน้ั จะตอ้ งอยรู่ ะหว่างรอ้ ยละ 40-60 4.4 ประสิทธภิ าพของเคร่อื งมอื วัดและประเมินผลในการแบง่ ผู้สอบออกเป็นกลุ่ม คือกลมุ่ ทไี่ ดค้ ะแนนสูง กล่มุ ท่ีไดค้ ะแนนต่ำ จะตอ้ งสามารถแบ่งกล่มุ นักเรยี นไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสมตามศกั ยภาพทแ่ี ท้จริงของนกั เรยี น

5. ผลท่ไี ดจ้ ากกิจกรรม ได้เคร่ืองมือวดั และประเมินผลทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ถูกต้อง และเหมาะสม พรอ้ มท่ีจะนำไปใช้ในการวดั และ ประเมนิ ผลนกั เรียนในการทดสอบครัง้ ที่ 1 ซง่ึ เป็นเครือ่ งมอื ทม่ี คี ณุ ภาพ ช่วยใหก้ ารวัดผลมีความถูกต้องเช่ือถือได้ และส่งผลให้ผลการประเมินที่ได้เชื่อถือได้ด้วย ดังนั้นเครื่องมือที่ครูสร้างขึ้นเองก่อนจะนำไปใช้จริงจึงควร ตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมือก่อนทกุ ครั้ง 6. การนำผลที่ไดไ้ ปใช้ นำเครื่องมือวดั และประเมินผลท่ีนำมาตรวจสอบไปปรบั ปรงุ แก้ไขใหถ้ ูกต้องและมปี ระสิทธภิ าพตาม หลกั การวดั และประเมนิ ผล และเตรยี มพร้อมนำไปใชใ้ นการวดั และประเมนิ ผลการใช้นวัตกรรม ครั้งท่ี 1 ตอ่ ไป 7. อ่นื ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค 7.1 คุณครูประจำชัน้ บางหอ้ งทำเครอ่ื งมอื วัดและประเมินผลการใช้นวตั กรรมยังไม่เรียบรอ้ ย ทำใหไ้ ม่ สามารถตรวจสอบเครอื่ งมอื ได้ในการจัดกิจกรรม plc คร้ังนี้ 8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข 8.1 ช้ีแจงให้คณุ ครูส่งเคร่อื งมอื ให้ทันในรอบของการตรวจสอบเครอื่ งมอื วัดและประเมินผลการใช้ นวตั กรรมในแตล่ ะรอบ เพอ่ื ใหผ้ ลการนำเครือ่ งมอื ไปใช้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ลงช่อื ..............................................ผบู้ ันทึกกจิ กรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วนั ท่ี 25 เดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2563 ความเห็นของหัวหน้างานวชิ าการ ความเห็นของรองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชอื่ ............................................. ลงชื่อ.............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทีป อร่ามเรือง) หัวหน้างานวชิ าการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ วันท่ี 25 เดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2563 วนั ที่ 25 เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2563 ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่ือ.............................................. (นายสมทรง นิสสยั ดี) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วันท่ี 25 เดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2563

แบบบนั ทึกกิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community) ชื่อกล่มุ กจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จำนวนสมาชิก 21 คน กิจกรรม การพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอา่ นเขยี นเรยี นคดิ เลข ด้วยนวตั กรรมเล่มเลก็ เด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครงั้ ที่ 9 ชอื่ กจิ กรรม การพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ดว้ ยนวตั กรรมเล่มเล็กเด็ก หรรษา วนั ทจ่ี ัดกิจกรรม 1 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2563 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายชอ่ื สมาชิก /สมาชิกที่เข้าร่วมกจิ กรรมในคร้ังนี้ 18 คน ไม่เข้ารว่ มกิจกรรมในครั้งนี้ 3 คน ท่ี สมาชิกทเ่ี ข้าร่วมกิจกรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไม่เขา้ รว่ ม 1 นายสมทรง นสิ สัยดี Expert  2 นายประทปี อรา่ มเรอื ง Mentor  3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกติ ติยา กิมาวหา Administrator  5 นางสกุ ัญญา มทั ธุรี Buddy  6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษ์สงู Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเออื้ งนภา คิดสม Buddy  10 นางปรียาพฒั น์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดงั คนกึ Buddy  14 นางลัดดา นสิ สัยดี Buddy  15 นายประเสรฐิ ใจกล้า Buddy  16 นางลลิตา ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แกว้ มุงคณุ Buddy  18 พลฯจารัตน์ ลวดเงนิ Buddy 

ท่ี สมาชิกที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไม่เข้ารว่ ม 19 นายสมพงษ์ เพียรมี Buddy   20 นายสมอาจ คงวนั Buddy 21 นางปทุมชาติ จุดาบตุ ร Buddy  1. วัตถุประสงค/์ ประเด็น/ของการจดั กจิ กรรม 1.1 เพื่อพัฒนาทักษะการอา่ น เขียน เรียนคิดเลข ของนกั เรียนระดับชน้ั อนบุ าลปที ่ี 2 ถึง ช้นั มธั ยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เลก็ เดก็ หรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Modal 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอา่ น เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวตั กรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ดว้ ยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Modal 2. สาเหตขุ องการจัดกจิ กรรม 2.1 เพอ่ื ทราบผลการดำเนินกจิ กรรมเมื่อนำนวตั กรรมไปจัดกิจกรรมในชั้นเรยี น 2.2 เพอื่ สรุปรายงานการวดั และประเมนิ ผลครั้งท่ี 1 3. ความรู้หลกั การทน่ี ำมาใช้ โดยดาํ เนนิ งานตาม PLUANG MODEL 1. P = Planning คือ การวางแผน 2. L = Literacy คอื ความสามารถในการอ่านและเขียน 3. U = Understanding คอื ความเข้าใจ 4. A = Attitude คอื เจตคติ 5. N = Numeracy คือ ความสามารถด้านการคำนวณ 6. G = Growth คือ พัฒนาการ 4. กิจกรรมท่ที ำ 4.1 ประชุมคณะครใู นแต่ละระดับชนั้ นำเสนอและสะท้อนปัญหา 4.2 สรปุ ผลการวัดและประเมินผลการใชเ้ คร่ืองมอื พัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิด เลข ดว้ ยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา การวัดและประเมนิ ผลการใชเ้ ครื่องมอื ของนักเรยี นทุกระดบั ชนั้ เพอ่ื นำไป ปรับปรุงพัฒนาเครือ่ งมือในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป ผลการประเมินเป็นคะแนนเฉลีย่ ร้อยละของแต่ละทักษะ ปัญหาที่พบ สาเหตุของปัญหา และแนวทางการแก้ไข ของทุกระดับชั้นเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการใช้ นวัตกรรม 4.3 หลงั จากรายงานผลการประเมนิ ครบทกุ ชั้นแล้ว คณะครรู ว่ มกนั อภปิ รายผลการประเมิน หาแนวทาง การแก้ปัญหาร่วมกัน พร้อมทั้งบันทึกผลการอภิปรายเพื่อนำไปพัฒนาการใช้นวัตกรรมและประเมินผลการใช้ นวัตกรรม รวมทงั้ การจัดการเรียนรขู้ องตนเองในครงั้ ตอ่ ไป

4.4 ผบู้ รหิ ารสรปุ ผลการอภปิ รายโดยรวมและมอบหมายให้คณะครูดำเนินการนำผลการประเมนิ ในครั้ง น้ีไปจัดทำเปน็ รปู เลม่ รายงานการประเมินเพือ่ นำสง่ ตอ่ ไป 5. ผลทีไ่ ดจ้ ากกิจกรรม 5.1 ทำใหท้ ราบผลการดำเนินกิจกรรมเมอื่ นำนวตั กรรมไปจดั กิจกรรมในช้นั เรียน 5.2 สรปุ รายงานการวัดและประเมินผลคร้งั ที่ 1 6. การนำผลที่ได้ไปใช้ นำผลสรุปและแนวทางการแก้ปัญหาในการวัดและประเมินผลการใช้เครื่องมือพัฒนาทักษะ ความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวตั กรรมเลม่ เลก็ เดก็ หรรษา คร้ังท่ี 1 ที่ไดจ้ ากการเข้าร่วม PLC ในครั้งนี้ ไปจัดทำรายงานผลการใช้เครื่องมือพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วย นวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา สอบถามความพึงพอใจในการใช้เครื่องมือของครู สอบถามความพึงพอใจของ นักเรยี น และนำไปปรับปรงุ พัฒนาเครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการวดั ประเมินผลครัง้ ตอ่ ไป 7. อนื่ ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค การส่งผลการประเมินผเู้ รียนของครูประจำชนั้ บางห้องลา่ ช้า 8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ชแี้ จงให้คุณครูส่งเครื่องมือให้ทนั ในรอบของการตรวจสอบเครื่องมือวดั และประเมนิ ผลการใช้นวัตกรรม ในแตล่ ะรอบ เพ่อื ใหผ้ ลการนำเคร่อื งมอื ไปใช้มีประสิทธภิ าพมากย่ิงขนึ้ ลงช่อื ..............................................ผบู้ ันทกึ กิจกรรม (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) วันที่ 1 เดือนกนั ยายน พ.ศ.2563 ความเหน็ ของหัวหน้างานวิชาการ ความเห็นของรองผู้อำนวยการโรงเรยี น .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชื่อ............................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) (นายประทีป อรา่ มเรอื ง) หัวหนา้ งานวชิ าการ รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ วนั ท่.ี ..1....เดือนกันยายน พ.ศ.2563 วนั ท.ี่ ..1....เดอื นกันยายน พ.ศ.2563 ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .............................................. (นายสมทรง นิสสัยดี) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วนั ท่ี...1....เดอื นกันยายน พ.ศ.2563

แบบบนั ทกึ กจิ กรรม (Logbook) ชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community) ช่อื กล่มุ กิจกรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) จำนวนสมาชกิ 21 คน กจิ กรรม การพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอา่ นเขียนเรียนคดิ เลข ด้วยนวตั กรรมเลม่ เลก็ เด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model คร้งั ท่ี 10 ชอ่ื กจิ กรรม - สรา้ งเครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผลการใชน้ วัตกรรม คร้งั ที่ 2 วนั ทจี่ ดั กิจกรรม 15 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2563 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายชือ่ สมาชกิ /สมาชิกท่ีเข้าร่วมกิจกรรมในครัง้ น้ี 19 คน ไมเ่ ข้าร่วมกิจกรรมในคร้ังนี้ 2 คน ท่ี สมาชิกที่เข้าร่วมกจิ กรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไม่เขา้ รว่ ม 1 นายสมทรง นสิ สยั ดี Expert  2 นายประทีป อรา่ มเรอื ง Mentor  3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกิตตยิ า กิมาวหา Administrator  5 นางสุกญั ญา มทั ธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษ์สงู Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอือ้ งนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรียาพฒั น์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดงั คนึก Buddy  14 นางลัดดา นิสสัยดี Buddy  15 นายประเสรฐิ ใจกลา้ Buddy  16 นางลลติ า ฉมิ ถาวร Buddy  17 นางสาวขนษิ ฐา แกว้ มงุ คณุ Buddy  18 พลฯจารตั น์ ลวดเงิน Buddy  19 นายสมพงษ์ เพยี รมี Buddy 

ท่ี สมาชิกทีเ่ ข้าร่วมกจิ กรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไม่เขา้ ร่วม 20 นายสมอาจ คงวัน Buddy   21 นางปทุมชาติ จุดาบุตร Buddy 1. วตั ถุประสงค์/ประเดน็ /ของการจัดกิจกรรม 1.1 เพ่ือพฒั นาทกั ษะการอ่าน เขยี น เรยี นคดิ เลข ของนกั เรยี นระดับช้นั อนบุ าลปีที่ 2 ถึง ชนั้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่ม เล็กเด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Modal 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวตั กรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Modal 2. สาเหตุของการจัดกิจกรรม 2.1 เพื่อนำไปใชใ้ นการพฒั นาทักษะการอา่ น เขียน เรยี นคดิ เลข ของนกั เรียนระดับชัน้ อนบุ าลปีที่ 2 ถึง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ครง้ั ท่ี 1 2.2 เพื่อนำเครื่องมือไปใช้ในการวัดและประเมนิ ผลการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียนระดบั ช้ัน อนบุ าลปที ี่ 2 ถึง ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ครง้ั ที่ 1 2.3 เพื่อให้มีนวัตกรรมเครื่องมือการวัดและประเมินผลการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียน ระดบั ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถงึ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ครงั้ ท่ี 1 3. ความรู้หลกั การทีน่ ำมาใช้ 3.1 นำบัญชคี ำพ้นื ฐานวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดับชนั้ อนบุ าลปีท่ี 2 ถงึ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 มาใช้ ในการสรา้ งเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม ครง้ั ท่ี 1 3.2 นำบทรอ้ ยแก้วทีป่ ระกอบไปดว้ ยบัญชีคำพนื้ ฐานของนกั เรียนระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 ถึง ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 มาใชใ้ นการสรา้ งเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม ครัง้ ที่ 1 3.3 นำบัญชคี ำพน้ื ฐานวิชาภาษาองั กฤษของนกั เรยี นระดบั ช้นั อนบุ าลปีที่ 2 ถึง ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มา ใชใ้ นการสรา้ งเคร่ืองมอื วดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครั้งที่ 1 3.4 นำทักษะการเตรียมความพร้อมทางดา้ นคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนบุ าลปที ี่ 2 ถงึ ชัน้ อนุบาลปีที่ 3 และนำทักษะการคิดคำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร คณิตคิดเร็วของ นกั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 มาใชใ้ นการสร้างเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการ ใช้นวัตกรรม คร้งั ที่ 1 4. กิจกรรมทท่ี ำ 4.1 สร้างเครือ่ งมือการอ่านออกเสียงและการเขียนตามคำบอก เพือ่ วัดความสามารถในการอ่านออกเสยี ง และเขียนตามคำบอกโดยใชช้ ุดคำในบัญชีคำพ้ืนฐานวิชาภาษาไทย ของนกั เรียนระดับชน้ั อนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้น มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 มาใช้ในการวัดและประเมินผลการใชน้ วัตกรรม คร้ังที่ 1

4.2 สรา้ งเครอื่ งมือการอ่านออกเสยี ง เพอื่ วัดความสามารถในการอา่ นออกเสียงจากบทร้อยแก้วที่ กำหนดให้ ของนักเรยี นระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ถงึ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มาใช้ในการวดั และประเมนิ ผลการ ใชน้ วตั กรรม คร้งั ที่ 1 4.3 สร้างเคร่อื งมอื การอ่านออกเสยี ง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ เพอ่ื วดั ความสามารถในการท่อง คำศัพท์พรอ้ มบอกความหมายตามชุดคำในบัญชคี ำพน้ื ฐานวิชาภาษาองั กฤษของนักเรียนระดับชน้ั อนบุ าลปที ี่ 2 ถึง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 มาใช้ในการวดั และประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม ครั้งท่ี 1 4.4 สร้างเครอื่ งมือการประเมนิ ความสามารถพื้นฐานทีจ่ ำเป็นของนกั เรยี น ทกั ษะการคิดคำนวณโดยใช้ ความสามารถในการบวก การลบ การคณู และการหาร ได้อยา่ งรวดเรว็ และถูกตอ้ งของนักเรยี นระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมินผลการใช้นวัตกรรม คร้งั ที่ 1 5. ผลทีไ่ ด้จากกิจกรรม 5.1 ไดเ้ คร่ืองมือการอา่ นออกเสยี งและการเขยี นตามคำบอก เพอ่ื วัดความสามารถในการอา่ นออกเสยี ง และเขยี นตามคำบอกโดยใชช้ ดุ คำในบัญชีคำพ้นื ฐานวชิ าภาษาไทย ของนกั เรียนระดบั ช้ันอนุบาลปีท่ี 2 ถงึ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 มาใช้ในการวัดและประเมนิ ผลการใช้นวัตกรรม ครั้งที่ 1 5.2 ได้เครื่องมือการอ่านออกเสียง เพอ่ื วดั ความสามารถในการอา่ นออกเสียงจากบทรอ้ ยแก้วท่ี กำหนดให้ ของนกั เรยี นระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มาใช้ในการวัดและประเมินผลการ ใช้นวตั กรรม ครง้ั ที่ 1 5.3 ได้เครื่องมือการอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศพั ท์ เพ่ือวัดความสามารถในการท่อง คำศพั ท์พร้อมบอกความหมายตามชุดคำในบญั ชคี ำพืน้ ฐานวชิ าภาษาองั กฤษของนกั เรียนระดบั ชน้ั อนบุ าลปีที่ 2 ถึง ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มาใช้ในการวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วัตกรรม ครัง้ ท่ี 1 5.4 ได้เครื่องมือการประเมินความสามารถพื้นฐานทีจ่ ำเป็นของนักเรยี น ทกั ษะการคดิ คำนวณโดยใช้ ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ไดอ้ ย่างรวดเร็วและถูกตอ้ งของนกั เรียนระดบั ชั้นอนุบาลปที ่ี 2 ถึง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 มาใช้ในการวดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรม คร้ังท่ี 1 6. การนำผลทไี่ ดไ้ ปใช้ 6.1 นักเรยี นระดับช้ันอนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้นำเคร่อื งมือไปใช้ในการอา่ นออกเสยี ง และการเขียนตามคำบอก เพอ่ื วดั ความสามารถในการอา่ นออกเสียงและเขียนตามคำบอกโดยใชช้ ุดคำในบัญชี คำพ้ืนฐานวชิ าภาษาไทย ครั้งท่ี 1 6.2 นกั เรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ถึง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ได้นำเครอ่ื งมอื ไปใช้ในการอ่านออก เสยี ง เพ่อื วัดความสามารถในการอา่ นออกเสยี งจากบทร้อยแก้วทีก่ ำหนดให้ ครงั้ ที่ 1 6.3 นกั เรียนระดบั ชนั้ อนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้นำเครือ่ งมอื ไปใชใ้ นการอา่ นออกเสยี ง บอกความหมาย และคดั คำศพั ท์ เพือ่ วัดความสามารถในการท่องคำศพั ทพ์ ร้อมบอกความหมายตามชุดคำใน บญั ชีคำพ้ืนฐานวชิ าภาษาอังกฤษ ครงั้ ท่ี 1 6.4 นักเรยี นระดับชั้นอนบุ าลปีท่ี 2 ถงึ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ได้นำเครอื่ งมือไปใชใ้ นการประเมิน ความสามารถพื้นฐานท่ีจำเปน็ ของนักเรียน ทกั ษะการคดิ คำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การ คณู และการหาร ไดอ้ ย่างรวดเรว็ และถูกต้อง ครงั้ ที่ 1

7. อน่ื ๆ /ปัญหา/อปุ สรรค 7.1 นักเรยี นขาดแรงจูงใจในการใชเ้ คร่อื งมือ 7.2 นักเรียนขาดทักษะการอา่ นออกเสยี งและการเขียนตามคำบอกวชิ าภาษาไทย 7.3 นักเรียนขาดทักษะการอา่ นออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ วชิ าภาษาอังกฤษ 7.4 นักเรยี นขาดทักษะการคดิ คำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคณู และการหาร ได้ อยา่ งรวดเร็วและถกู ต้อง 7.5 ขาดความรว่ มมอื จากคณุ ครบู างท่าน 8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 8.1 คุณครูควรหาแนวทางในการแก้ปัญหาตา่ งๆท่ีเกดิ ขึ้น โดยการกระตุ้นให้นักเรยี นเกดิ แรงจูงใจและ เพมิ่ ทักษะกระบวนการตา่ งๆใหค้ รบถ้วน 8.2 ผบู้ รหิ ารควรใหก้ ารติดตามผลการดำเนินงานในกระบวนการ PLC ตามปฏทิ นิ การปฏิบัตงิ านของ PLC ทกุ ครั้ง ลงชอ่ื ..............................................ผบู้ นั ทกึ กจิ กรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วนั ท่ี 15 เดอื นกันยายน พ.ศ.2563 ความเห็นของหัวหน้างานวชิ าการ ความเหน็ ของรองผู้อำนวยการโรงเรยี น .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชอ่ื ............................................. ลงชือ่ .............................................. (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) (นายประทีป อร่ามเรือง) หัวหนา้ งานวิชาการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ วันที่ 15 เดือนกนั ยายน พ.ศ.2563 วนั ที่ 15 เดอื นกนั ยายน พ.ศ.2563 ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .............................................. (นายสมทรง นิสสัยดี) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ วันที่ 15 เดือนกนั ยายน พ.ศ.2563

แบบบนั ทกึ กิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรียนรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community) ชอ่ื กลมุ่ กจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) จำนวนสมาชกิ 18 คน กิจกรรม การพัฒนาทักษะความสามารถในการอา่ นเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เลก็ เดก็ หรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model คร้งั ที่ 12 ช่ือกจิ กรรม - ส่งผลการวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วัตกรรม ครัง้ ที่ 2 - สรุปผลการวัดและประเมนิ ผล คร้งั ที่ 2 วนั ทีจ่ ัดกจิ กรรม 6 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2563 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 รายช่อื สมาชกิ /สมาชิกท่เี ข้าร่วมกิจกรรมในครั้งน้ี 17 คน ไมเ่ ข้าร่วมกิจกรรมในครง้ั น้ี 1 คน ท่ี สมาชกิ ทเี่ ข้าร่วมกิจกรรม บทบาท เข้าร่วม ไมเ่ ขา้ ร่วม 1 นายประทปี อรา่ มเรอื ง Expert &Mentor / 2 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher / 3 นางสาวกติ ตยิ า กมิ าวหา Administrator / 4 นางสุกญั ญา มทั ธรุ ี Buddy / 5 นางสาวศรุดา ประไวย์ Buddy / 6 นางสาวกมลพร หงษ์สงู Buddy / 7 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy / 8 นางสาวเอ้ืองนภา คดิ สม Buddy / 9 นางปรียาพัฒน์ แสนกลา้ Buddy / 10 นายราชนพ ลำภู Buddy / 11 นางสาวกนกนาถ สุชาติสุนทร Buddy / 12 นายธีรพงษ์ ดังคนกึ Buddy / 13 นางลดั ดา นสิ สัยดี Buddy / 14 นายประเสรฐิ ใจกลา้ Buddy / 15 นางลลติ า ฉมิ ถาวร Buddy / 16 นางสาวขนิษฐา แกว้ มุงคณุ Buddy / 17 นางปทุมชาติ จดุ าบุตร Buddy / 18 พลฯจารตั น์ ลวดเงนิ Buddy /