หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๙๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 5. การตัดสินผลการเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๘ กลุ่ม การตัดสินผลการเรียนให้นำผลการประเมินระหว่างเรียนรวมกับผลการประเมินปลาย ปี โดยใช้เกณฑ์ดังน้ี ช่วงคะแนนเปน็ ร้อยละ ความหมาย ระดบั ผลการเรยี น ๘๐ - ๑๐๐ ผลการเรยี นดีเยี่ยม ๔ ๗๕ - ๗๙ ผลการเรยี นดมี าก ๓.๕ ๗๐ - ๗๔ ผลการเรียนดี ๓ ๖๕ - ๖๙ ผลการเรียนคอ่ นขา้ งดี ๒.๕ ๖๐ - ๖๔ ผลการเรียนปานกลาง ๒ ๕๕ - ๕๙ ผลการเรียนพอใช้ ๑.๕ ๕๐ - ๕๔ ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ข้นั ตำ่ ท่ีกำหนด ๑ ๐ - ๔๙ ผลการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่กี ำหนด ๐ เม่อื ครผู ู้สอนตัดสินผลการเรยี นแลว้ ให้ดำเนินการดังน้ี ส่งผลการตัดสินให้อนุกรรมการกลุ่มสาระพิจารณาให้การเห็นชอบ / แก้ไข แล้วส่งให้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพิจารณาเห็นชอบ เพ่ือนำเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผล การเรียน ส่งผลการเรียนให้ ครูท่ีปรึกษากรอกผลการเรียนลงในแบบ ปพ.๖ และนายทะเบียน วัดผลกรอกในแบบ ปพ.๑ การใหผ้ ลการเรียน “ร” 1. การใหผ้ ลการเรยี น “ร” หมายถงึ ผเู้ รยี นทม่ี ลี ักษณะดงั น้ี ๑) ผ้เู รยี นไม่ไดร้ บั การประเมนิ หรอื ประเมนิ แลว้ ไม่ผ่านเกณฑร์ ะหวา่ งเรยี น ๒) ผเู้ รียนไม่ได้รบั การประเมนิ ปลายภาค 2. วิธีการให้ผลการเรียน “ร” เม่ือผู้สอนพบว่าผู้เรียนไม่ได้เข้ารับการประเมินผล ระหว่างเรียนหรือปลายภาค ให้ผู้สอนรายงานพร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณาเสนอผู้บริหารเพ่ือ อนุมตั ผิ ลการเรยี น “ร” แลว้ ประกาศผลให้นักเรียนทราบ การให้ผลการเรียน “มส” 1. การให้ผลการเรียน “มส” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงรอ้ ยละ ๘๐ ของเวลา ทั้งหมด 2. วิธีการให้ผลการเรียน “มส” ให้ผู้สอนรายงานพร้อมแนบเวลาเรียนของผู้เรียน เสนอผ้บู ริหารเพอ่ื อนุมตั ผิ ลการเรียน “มส” กอ่ นประเมนิ ผลปลายภาค ๒ สปั ดาห์ ระดับประถมศกึ ษา
หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๙๘ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ การแกไ้ ข “๐” 1. ผู้เรียนนำใบแจง้ ความจำนงการแกไ้ ข “๐” พบครูผู้สอนประจำวิชา 2. ผู้สอนดำเนินการพัฒนาผู้เรียนในผลการเรียนรู้ท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ จนผู้เรียนสามารถ บรรลุผลตามเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ โดยใหผ้ ลการเรียนไมเ่ กนิ “๑” 3. ผสู้ อนรวบรวมและสรปุ ผลการแกไ้ ข “๐” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนเพ่ือเสนอต่อ ผู้บรหิ ารอนุมัติ และแจง้ ผ้เู กยี่ วข้อง การแก้ไข “ร” 1. ผเู้ รียนนำใบแจง้ ความจำนงการแกไ้ ข “ร” พบครผู ู้สอนประจำวชิ า 2. ผู้สอนดำเนินการตามสาเหตุของผลการเรียน “ร” น้ันๆ โดยให้ผลการเรียนตาม เกณฑ์ขอ้ ๔ 3. ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “ร” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ กรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการเห็นชอบ เพื่อเสนอต่อผูบ้ รหิ ารอนุมตั ิ แลว้ แจ้งผู้เกี่ยวข้อง การแกไ้ ข “มส” 1. ผู้เรียนนำใบแจง้ ความจำนงไปพบครูผ้สู อนประจำวิชา 2. ผู้สอนพิจารณาว่าผู้เรียนมีข้อบกพร่องอะไร ให้ดำเนินการพัฒนาแก้ไขในส่ิงนั้นจน บรรลุเกณฑข์ ั้นต่ำท่กี ำหนดไว้ โดยใหผ้ ลการเรียนไมเ่ กนิ “๑” 3.ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “มส” ส่งงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ กรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวชิ าการเห็นชอบ เพอื่ เสนอผ้บู รหิ ารอนุมัติ แล้วแจง้ ผู้เกยี่ วข้อง การแก้ไข “๐” “ร” และ “มส” ให้ดำเนินการตามประกาศโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุง ราษฎร์) เรื่อง แนวทางการปฏบิ ัตกิ ารดำเนินการสอบแก้ตัว 6. การประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน จำนวน ๓ ขอ้ คือ ๑. อ่านและเข้าใจ สามารถคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ได้อย่างมเี หตผุ ลเป็นระบบ และ เขียนเสนอความคิดได้ ตัวบ่งช้ีท่ี ๑ เขียนรายงานเรอื่ งที่ศึกษาคน้ ควา้ ได้ ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๒ ตอบคำถามจากเรอื่ งท่ศี กึ ษาคน้ ควา้ ได้ ตัวบง่ ช้ีที่ ๓ เขยี นแสดงความคดิ เห็นจากเรื่องทอี่ า่ นได้ ตัวบ่งชี้ที่ ๔ เขียนสรปุ จากเรื่องท่ีอา่ นได้ ๒. นำความรูค้ วามเขา้ ใจท่ีได้จากการอ่านไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา ตดั สนิ ใจ คาดคะเน เรอื่ งราวหรอื เหตุการณ์ และสรปุ เปน็ แนวปฏบิ ัตไิ ด้ ตวั บ่งชี้ที่ ๑ ทำโครงงาน / รายงานในเร่อื งที่สนใจไดต้ ามศกั ยภาพ ตัวบง่ ชี้ที่ ๒ นำเสนอโครงงาน / รายงานไดต้ ามศกั ยภาพ ตวั บ่งชที้ ี่ ๓ เนื้อหาในการทำโครงงาน / รายงานสอดคลอ้ งกบั เรือ่ งทเ่ี รยี น ตวั บง่ ชี้ท่ี ๔ เขียนข้ันตอนในการปฏบิ ัติงานได้ ระดบั ประถมศึกษา
หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๙๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ๓. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถเขียนถา่ ยทอดความคดิ เพื่อการสื่อสารได้ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑ เขยี นเรื่องราวเชิงสรา้ งสรรคไ์ ดต้ ามศกั ยภาพ ตัวบง่ ช้ที ่ี ๒ เขยี น / วาดภาพจากจินตนาการในเรื่องทีต่ นสนใจได้ แนวทางและวธิ ีการประเมิน การประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน โรงเรียนจะใช้แนวทางการวัด และการประเมินจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement) จึงกำหนดแนวทาง และวิธกี ารประเมนิ ให้ครผู ูส้ อนทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้นำไปใช้ในการประเมนิ ดังน้ี ๑. วิธกี ารประเมนิ ๑.๑ ความสามารถจริงของผเู้ รยี นในการปฏบิ ัติกิจกรรมทางการเรียนรายวิชาต่างๆ ใน ส่วนทเี่ กี่ยวกับการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขียน โดยการสงั เกตของครู ๑.๒ มอบหมายใหผ้ ้เู รียนไปศึกษาคน้ ควา้ แลว้ เขยี นเป็นรายงาน ๑.๓ ผลงานเชงิ ประจักษต์ า่ งๆ เกย่ี วกับการอ่าน การคิด การวเิ คราะห์ และเขียนที่ รวบรวมและนำเสนอในรปู ของแฟม้ สะสมงาน ๑.๔ การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบแบบเขียนตอบ หรือเขยี นเรยี งความ ๑.๕ การเขียนรายงานจากการปฏิบัตโิ ครงงาน ๒. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงาน : การเขียนจากการอา่ น คิด วเิ คราะห์ ๒.๑ การใชก้ ระบวนการอา่ นอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๒.๒ การแสดงความคิดเหน็ อย่างมวี ิจารณญาณ ๒.๓ ใช้กระบวนการเขยี นสอื่ ความอย่างมีประสิทธิภาพ ๓. เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ : การอา่ น ระดบั ดเี ยยี่ ม ระบุสาระของเรื่องท่ีอ่านไดถ้ ูกต้องครบถว้ น ลำดับเรื่องที่อา่ นได้ถูกต้อง ระบปุ ระเดน็ สำคญั ของเรื่องที่อา่ นได้ถูกต้อง ระบุจุดมุ่งหมาย และเจตคติ ของผเู้ ขยี น ดี ระบสุ าระของเรื่องที่อา่ นได้ถูกต้องครบถ้วน ลำดบั เรอื่ งที่อา่ นได้ถกู ต้อง ระบปุ ระเดน็ สำคัญของเรื่องที่อา่ นได้ถูกต้อง ระบจุ ุดมงุ่ หมาย และเจตคติ ของผู้เขียนไม่ครบถว้ น ผ่าน ระบสุ าระของเร่ืองที่อา่ นไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น ลำดบั เรอื่ งท่ีอ่านค่อนขา้ งถกู ต้อง ระบปุ ระเด็นสำคัญของเรื่องท่ีอา่ นได้ไม่สมบูรณ์ ระบุจุดมุ่งหมาย และเจตคติ ของผเู้ ขียนเพยี งเล็กน้อย ไม่ผา่ น ระบุสาระของเร่ืองที่อา่ นไดไ้ ม่ครบถว้ น ลำดบั เร่ืองท่ีอ่านผิดพลาดเลก็ น้อย ระบุประเด็นสำคญั ของเรื่องท่ีอ่านไม่ถกู ต้อง ไมร่ ะบจุ ดุ มงุ่ หมาย และเจตคติ ของผูเ้ ขียน ระดับประถมศกึ ษา
หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ : การคิด วิเคราะห์ ระดับ ดีเยยี่ ม แสดงความคดิ เหน็ ชดั เจน มเี หตผุ ลระบขุ ้อมลู สนับสนุนทน่ี า่ เชื่อถือมีความคดิ ทแ่ี ปลกใหม่ เปน็ ประโยชน์ต่อสงั คมโดยสว่ นรวม ดี แสดงความคดิ เหน็ ค่อนขา้ งชัดเจน มีเหตุผลระบขุ อ้ มูลสนับสนุนมีความคดิ ที่เปน็ ประโยชน์ต่อสังคมโดยสังคมรอบขา้ งตนเอง ผา่ น แสดงความคิดเห็นทม่ี ีเหตผุ ลระบุข้อมลู สนับสนนุ ทีพ่ อรับได้มคี วามคดิ ท่เี ป็น ประโยชน์ต่อตนเอง ไม่ผา่ น แสดงความคิดเหน็ มเี หตผุ ลไม่ชัดเจน ขาดขอ้ มลู สนบั สนุน มีความคิดที่ยัง มองไมเ่ ห็นประโยชน์ทีช่ ดั เจน เกณฑร์ ะดับคุณภาพ : การเขยี น ระดับ ดเี ยย่ี ม มีจดุ ประสงค์ในการเขียนชัดเจนไดเ้ นอื้ หาสาระ รูปแบบการเขียนถกู ต้องมี ขั้นตอนการเขยี นชดั เจนงา่ ยต่อการติดตาม ใชไ้ วยากรณ์และสะกดคำถูกต้อง พฒั นาสำนวนภาษาทส่ี ื่อความหมายไดช้ ดั เจนกะทดั รัด ดี มีจุดประสงค์ในการเขียนชดั เจนไดเ้ นอ้ื หาสาระ รปู แบบการเขียนถูกต้องมี ข้ันตอนการเขียนชัดเจนง่ายต่อการติดตาม ใชไ้ วยากรณ์และสะกดคำผดิ พลาด ไมเ่ กนิ ๓ แห่ง พฒั นาสำนวนภาษาทีส่ อ่ื ความหมายไดช้ ดั เจน ผ่าน มีจุดประสงค์ในการเขียนชัดเจนและค่อนขา้ งไดเ้ นื้อหาสาระ รูปแบบการเขียน ถูกต้องมีขัน้ ตอนการเขียนชดั เจนง่ายต่อการตดิ ตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำ ผิดพลาดมากกวา่ ๓ แหง่ ขาดการพัฒนาสำนวนภาษาทีส่ ่ือความหมายได้ ชัดเจน ไม่ผ่าน ขาดจดุ ประสงคใ์ นการเขยี นและเนื้อหาสาระนอ้ ย ใชไ้ วยากรณแ์ ละสะกดคำ ผิดพลาดมาก ขาดการพัฒนาสำนวนภาษาท่สี ่ือความหมาย การสรปุ ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี น 1. ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ เขียน มาเป็นระดบั คุณภาพของแตล่ ะรายวิชา 2. ให้คิดคา่ ฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมนิ การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ของ แตล่ ะรายวชิ า สรปุ เป็นผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ของผ้เู รียนรายบคุ คล เกณฑก์ ารตดั สินความสามารถในการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น 1. ระดับปีการศึกษา ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน อยู่ ในระดบั คุณภาพ ผ่าน ขนึ้ ไปถอื วา่ ผา่ น 2. การเลื่อนช้ัน / จบหลักสูตร ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ เขียน ผา่ นทกุ รายภาค ระดับประถมศึกษา
หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ อภธิ านศพั ท์ การเดาความหมายจากบรบิ ท (context clue) การเดาความหมายของคำศัพทห์ รอื ข้อความทไี่ ม่ทราบความหมายโดยไมต่ ้องเปิดพจนานุกรม เปน็ การเดาความหมายน้นั โดยอาศยั การชแ้ี นะจากคำศัพท์หรอื ข้อความทแี่ วดลอ้ มคำศพั ท์หรอื ข้อความท่ีอ่าน เพอื่ ช่วยในการทำความเขา้ ใจหรือตคี วามหมายของคำศัพท์หรอื ข้อความที่ไม่เขา้ ใจความหมาย การถา่ ยโอนข้อมลู การแปลงข้อมูลที่ผู้ส่งสารต้องการจะสื่อสารให้ผู้รบั สารเข้าใจความหมายในรปู แบบทตี่ ้องการ เช่น การถ่ายโอนข้อมูลที่เป็นคำ ประโยค หรือข้อความไปเป็นข้อมูลท่ีเป็นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ หรือการถ่ายโอนข้อมูลที่เป็นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ ไปเปน็ ข้อมลู ท่เี ป็นคำ ประโยค หรอื ข้อความ ทกั ษะการส่ือสาร ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ซงึ่ เป็นเครื่องมือในการรับสารและส่งสารด้วยภาษา นน้ั ๆ ไดอ้ ยา่ งสอ่ื ความหมาย คลอ่ งแคลว่ ถูกตอ้ ง เข้าถงึ สารได้อยา่ งชัดเจน บทกลอน (nursery rhyme) บทรอ้ ยกรองสำหรับเด็ก ทมี่ คี ำคล้องจองและมีความไพเราะ เพื่อช่วยให้จดจำได้ง่าย บทละครส้ัน (skit) งานเขียนหรือบทละครส้ันที่มีการแสดงออกด้วยท่าทางและคำพูด ทำให้เกิดความสนุกสนาน อาจ เปน็ เรื่องท่มี าจากนิทาน นิยาย ชีวติ ของคน สัตว์ สง่ิ ของ หรือตดั ตอนมาจากงานเขียน ภาษาท่าทาง การสอื่ สารโดยการแสดงท่าทางแทนคำพูดหรือการแสดงท่าทางประกอบคำพดู เพื่อให้ความหมาย มีความชัดเจนยง่ิ ข้ึน การแสดงทา่ ทางตา่ งๆ อาจแสดงได้ลักษณะ เช่น การแสดงออกทางสีหน้า การสบตา การเคลือ่ นไหวศรี ษะ มือ การยกมอื การพยักหน้า การเลกิ คิว้ เปน็ ตน้ วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา วิถีการดำเนินชีวิตของคนในสังคมท่ีใช้ภาษาน้ัน นับต้ังแต่วิธีการกินอยู่ การแต่งกาย การทำงาน การพักผ่อน การแสดงอารมณ์ การสื่อความ ค่านิยม ความคิด ความเช่ือ ทัศนคติ ขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาล งานฉลอง และมารยาท เปน็ ต้น สอื่ ท่ไี ม่ใชค่ วามเรียง (non-text information) สิง่ ทใ่ี ชส้ อ่ื สารแทนคำ วลี ประโยค และข้อความ เช่น กราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ สง่ิ ของ แผนผงั แผนภมู ิ ตาราง เปน็ ต้น ระดบั ประถมศกึ ษา
หลกั สตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๒ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ บรรณานกุ รม สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. กรอบแนวทางการปรบั ปรงุ หลักสตู รการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๐. . ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. . แนวทางการบริหารจดั การหลกั สตู ร. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์ การเกษตร, ๒๕๕๑. . แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชมุ นุม สหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๕๑. . หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. ระดับประถมศกึ ษา
หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภาคผนวก คณะผูจ้ ัดทำ คณะทป่ี รึกษา 1. นายอดุ ม ภาสดา ศึกษานเิ ทศกส์ ำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทรเ์ ขต ๓ 2. นางสมพร พรหนองแสน ศึกษานิเทศกส์ ำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์เขต ๓ คณะกรรมการสถานศึกษา ๑. นายมติ ร พะงาตุนดั ประธานกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ๒. นางสมบัติ กมิ เลง กรรมการผแู้ ทนผปู้ กครอง ๓. นายประเสรฐิ ใจกลา้ กรรมการผู้แทนครู ๔. นายสวุ รรณ ไกยฝ้าย กรรมการผู้แทนองคก์ รชมุ ชน ๕. นายเกยี ว พนั ธ์เสน กรรมการผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ๖. พระวสิ ทุ ธ์ วสิ ุทโธ กรรมการผู้แทนพระภิกษุสงฆ์ ๗. นายทวี ปิยไพร กรรมการผู้แทนองคก์ รศาสนา ๘. นายคอย สำราญสขุ กรรมการผแู้ ทนศษิ ยเ์ ก่า ๙. นายธนพล คูณสวา่ ง กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ ๑๐. นายถาวร ผกู ดวง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๑. นายแถม อดิ ประโคน กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ๑๒. นายหอม กายดี กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ ๑๓. นางสุภาพ หม่นั เท่ียง กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ ๑๔. นายบัญญตั ิ โสพิน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๕. นายศกั ดิ์ชัย เลิศอรณุ รัตน์ กรรมการและเลขานกุ าร คณะทำงาน ๑. นายศักดชิ์ ยั เลิศอรณุ รตั น์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ๒. นายประทีป อร่ามเรือง รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน กรรมการ กรรมการ ๓. นางลัดดา นสิ สยั ดี ครชู ำนาญการพิเศษ กรรมการ กรรมการ ๔. นางสาวเอื้องนภา คิดสม ครชู ำนาญการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ๕. นางสาวกนกนาถ สชุ าตสิ ุนทร ครู กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ ๖. นายราชนพ ลำภู ครูชำนาญการ ๗. นางสาวขนิษฐา แกว้ มงุ คุณ ครอู ัตราจ้าง ๗. นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ ครชู ำนาญการ 8. นางสาวกติ ติยา กิมาวหา ครู ระดบั ประถมศกึ ษา
หลกั สตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ผเู้ สนอโครงการ ……………………………………………... (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) ครู/หัวหนา้ กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ผู้เหน็ ชอบโครงการ ……………………………………………. (นายศกั ดชิ์ ัย เลิศอรณุ รตั น์) ผ้อู านวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ผ้อู นุมัตโิ ครงการ ……………………………………………. (นายมิตร พะงาตุนดั ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ระดบั ประถมศกึ ษา
หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ระดับประถมศึกษา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109