Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่มสาระคณิตศาสตร์.รร.บ้านพลวง.2564

กลุ่มสาระคณิตศาสตร์.รร.บ้านพลวง.2564

Published by KroorachaneChanel, 2021-07-08 07:40:41

Description: หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปรับปรุง พ.ศ.2560
กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พุทธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา กลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๓ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารวชิ าการลำดบั ท่ี ๐๑3/๒๕๖4  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ คำนำ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้จัดทำหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ฉบับนี้ ซึ่ง เป็นเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน ให้ตรงตาม มาตรฐานตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยพิจารณาตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ฉบับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง (พรหมบำรุงราษฎร)์ พุทธศกั ราช 2564 ซึ่งมอี งคป์ ระกอบดงั น้ี - วิสัยทัศน์ หลกั การ จุดหมาย - สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน - คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - คุณภาพผเู้ รียน - ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง - รายวิชาทีเ่ ปดิ - คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน - โครงสร้างรายวชิ าพ้นื ฐาน - ส่อื /แหล่งเรียนรู้ - การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ขอขอบคุณคณะครูและคณะผู้ที่เกี่ยวข้องและมีส่วนร่วมในการจัดทำทุกฝ่าย คณะกรรมการ สถานศึกษา นักเรยี น และผปู้ กครองนักเรียน ทท่ี ำใหก้ ารจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านพลวง (พรหมบำรุงราษฎร์) กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำเร็จไดด้ ว้ ยดี คณะผู้จดั ทำ กลุม่ งานบริหารวชิ าการ  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ 1 1 สารบญั 2 2 คำนำ 3 สารบัญ 5 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 5 บทนำ 6 ทำไมตอ้ งเรียนคณิตศาสตร์ 7 สาระสำคญั ของกล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ 8 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 8 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 8 หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 22 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ 24 ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 26 คุณภาพผเู้ รียน 32 โครงสร้างเวลาเรยี น 75 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 76 91 สาระท่ี 1 จำนวนและพชี คณติ 99 สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณิต 100 สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเปน็ 100 คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน โครงสรา้ งรายวชิ า สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ อภิธานศพั ท์ บรรณานุกรม ภาคผนวก คณะผจู้ ัดทำ  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ บทนำ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และกรอบหลักสูตร ท้องถิ่นของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ มาใช้เป็นกรอบและทิศทางในการ จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนของโรงเรียนบ้านพลวง(พรหม บำรุงราษฎร์) ให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ เปลีย่ นแปลง และแสวงหาความรู้เพอ่ื พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต ทำไมตอ้ งเรียนคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจาก คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถ วเิ คราะหป์ ญหาหรือสถานการณไ์ ด้อยา่ งรอบคอบและถี่ถว้ น ชว่ ยให้คาดการณว์ างแผนตดั สนิ ใจแกป้ ญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยัง เป็นเครื่องมือในการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและศาสตร์อื่น ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนา ทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหท้ ัดเทียมกับนานาชาตกิ ารศึกษา คณิตศาสตร์จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สงั คม และความรทู้ างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทีเ่ จรญิ กา้ วหนา้ อยา่ งรวดเรว็ ในยคุ โลกาภิวัตน์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยคำนึงถึงการ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 เป็นสำคัญ นั่นคือ การเตรียมผู้เรียน ให้มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้ เทคโนโลยีการ สื่อสารและการร่วมมือ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถแข่งขนั และอยรู่ ว่ มกับประชาคมโลกได้ทัง้ น้ีการจดั การเรียนรู้ คณิตศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จนั้นจะต้องเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะ ประกอบอาชีพเมอื่ จบการศึกษา หรือสามารถศกึ ษาต่อในระดบั ทีส่ งู ข้นึ ดงั น้นั สถานศกึ ษาควรจัดการเรียนรู้ ให้เหมาะสมตามศกั ยภาพของผู้เรียน  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ สาระสำคญั ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์จัดเป็น 3 สาระ ได้แก่ จำนวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณติ และสถิติและความน่าจะเป็น • จำนวนและพีชคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับระบบจำนวนจริง สมบัติเกี่ยวกับจำนวนจริง อัตราส่วนร้อยละการประมาณค่า การแก้ปญหาเกี่ยวกับจำนวน การใช้จำนวนในชีวิตจริง แบบรูป ความสัมพันธ์ฟงก์ชัน เซต ตรรกศาสตร์นิพจน์เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน ลำดับและอนุกรมและการนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนและพีชคณิตไปใช้ใน สถานการณต์ า่ ง ๆ • การวดั และเรขาคณิต เรียนรู้เกีย่ วกบั ความยาว ระยะทาง นำ้ หนัก พนื้ ที่ ปริมาตรและ ความจเุ งนิ และเวลา หน่วยวัดระบบตา่ ง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราสว่ นตรโี กณมติ ริ ปู เรขาคณิต และสมบัตขิ องรปู เรขาคณติ การนึกภาพ แบบจำลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณติ การแปลงทาง เรขาคณิตในเรื่องการเล่ือนขนาน การสะท้อน การหมนุ และการนำความรู้เกีย่ วกับการวัดและเรขาคณติ ไป ใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ • สถิติและความน่าจะเป็น เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งคำถามทางสถิติการเก็บรวบรวมข้อมูล การคำนวณค่าสถติ ิการน าเสนอและแปลผลสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชงิ ปริมาณ หลกั การนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ และช่วยใน การตดั สนิ ใจ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซึ่งการ พัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดนั้นจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดงั นี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความรูค้ วามเข้าใจ ความรู้สกึ และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัด และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้วธิ ีการส่ือสารทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทีม่ ตี ่อตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความร้หู รอื สารสนเทศเพอ่ื การตดั สินใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆ ที่ เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพนั ธ์และการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรมู้ าใช้ใน การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา และมีการตดั สินใจที่มปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบทเ่ี กิดข้ึนต่อตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ นการ ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธอ์ ันดรี ะหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤตกิ รรมไม่พึงประสงคท์ ่สี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทำงาน การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมีคณุ ธรรม . คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ม่งุ พัฒนาผเู้ รยี นให้มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่ือให้สามารถ อยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในฐานเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๑.๑ ร่วมกิจกรรมแสดงความรักชาติ เช่น เชิญธง ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ รักษาชอื่ เสียง และหวงแหนสมบตั ิของชาติ ๑.๒ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนา และปฏบิ ัติตามหลักธรรมของศาสนา เช่น รักษาศีลปฏิบัติ ธรรม ๑.๓ ร่วมกจิ กรรมเพือ่ แสดงความจงรกั ภกั ดตี อ่ พระมหากษตั ริย์ ๒. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต ๒.๑ ใหข้ ้อมลู ทถี่ กู ตอ้ งและเปน็ จริง ไม่โกหก ๒.๒ ไม่ถอื เอาส่ิงของหรือผลงานของผอู้ ื่นมาเป็นของตนเอง ไม่ลกั ขโมย ๒.๓ ไมห่ าผลประโยชนใ์ นทางที่ไม่ถูกต้อง ไมค่ ดโกง ๓. มีวินัย ๓.๑ ปฏบิ ัตติ นตามขอ้ ตกลง กฎระเบยี บของครอบครวั โรงเรียนและสังคม ๓.๒ ตรงต่อเวลาและรบั ผิดชอบในการเรียน การปฏบิ ตั งิ าน  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนร้ตู ่าง ๆ ๔.๒ แสวงหา ศกึ ษา ค้นควา้ ความรจู้ ากแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ๔.๓ บันทกึ ความรวู้ เิ คราะห์ตรวจสอบ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ ๕. อยู่อยา่ งพอเพียง ๕.๑ ใช้ทรัพย์สินของตนเองและของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า รวมทั้งใช้เวลาอย่าง เหมาะสม ๕.๒ ปฏบิ ัตติ นและตดั สนิ ใจดว้ ยความรอบคอบมเี หตุผล ๕.๓ วางแผนการเรียนการทำงานบนพืน้ ฐานของความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสาร มีภูมิคุ้มกันใน ตวั ทีด่ ี ๖. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน ๖.๑ ต้งั ใจและรบั ผิดชอบในการทำงานให้สำเรจ็ ๖.๒ ทมุ่ เททำงาน อดทนไม่ยอ่ ท้อตอ่ ปัญหาและอุปสรรค ๖.๓ ปรบั ปรุงพฒั นาการทำงานและผลงานด้วยตนเอง ๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ ปฏบิ ตั ิตามขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย ๗.๒ ใชภ้ าษาไทย เลขไทยในการสือ่ สารได้อย่างถกู ต้อง ๗.๓ รว่ มกจิ กรรมทีเ่ ก่ียวข้องกับภมู ปิ ัญญาไทย นำมาใช้ใหเ้ หมาะสมในวิถีชวี ติ ๘. มจี ิตสาธารณะ ๘.๑ ช่วยเหลอื ผอู้ ืน่ แบง่ ปนั สิง่ ของ อาสาทำงานใหด้ ว้ ยความเตม็ ใจ ไม่หวงั ผลตอบแทน ๘.๒ เข้ารว่ มกจิ กรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อโรงเรยี น ชุมชนและสงั คม ๘.๓ ดแู ลรกั ษาสาธารณสมบัตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มดว้ ย ความเตม็ ใจ  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยนอ้ มนำหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ➢ ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือว่า น้อยจนเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง หรือ ผอู้ ืน่ ใหเ้ ดือดรอ้ น ➢ ห่วงท่ี 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง การ ตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเปน็ ไปอยา่ งมีเหตผุ ลโดยพจิ ารณาจากเหตุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่า จะเกิดขึ้นจากการกระทานน้ั ๆ อย่างรอบคอบ ➢ ห่วงท่ี 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านการต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ต่างๆ ทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขึ้นในอนาคตทั้งใกลแ้ ละไกล สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวนผลทเี่ กดิ ขนึ้ จากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และ นำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่ กำหนดให้  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ สาระที่ 3 สถิตแิ ละความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามร้ทู างสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบ้อื งตน้ ความนา่ จะเปน็ และนำไปใช้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถที่จะนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในที่นี้เน้นที่ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็นและ ต้องการ พัฒนาให้เกดิ ขึน้ กับผ้เู รยี น ไดแ้ ก่ความสามารถตอ่ ไปน้ี 1. การแก้ปญหา เป็นความสามารถในการทำความเข้าใจปญหา คิดวิเคราะห์วางแผนแก้ปัญหา และเลอื กใชว้ ิธีการท่เี หมาะสม โดยคำนงึ ถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ พร้อมทัง้ ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 2. การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถในการใช้รูปภาษาและ สญั ลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์ในการสื่อสาร สอ่ื ความหมาย สรปุ ผล และนำเสนอได้อย่างถูกตอ้ ง ชดั เจน 3. การเชื่อมโยง เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ คณติ ศาสตรเ์ นื้อหาต่าง ๆ หรือศาสตรอ์ ื่น ๆ และนำไปใช้ในชวี ติ จรงิ 4. การให้เหตุผล เป็นความสามารถในการให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผลสนับสนุน หรือโต้แย้ง เพ่ือนำไปสู่การสรปุ โดยมขี ้อเทจ็ จรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรบั 5. การคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถในการขยายแนวคิดที่มีอยู่เดิม หรือสร้างแนวคิดใหม่เพื่อ ปรับปรุง พฒั นาองคค์ วามรู้  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๗ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ คณุ ภาพผู้เรยี น จบชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 • อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 มีความรู้สึกเชิง จำนวน มีทักษะการบวก การลบ การคณู การหาร และนำไปใช้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ • มคี วามร้สู ึกเชิงจำนวนเก่ียวกับเศษส่วนที่ไมเ่ กิน 1 มที ักษะการบวก การลบ เศษสว่ นที่ตัว เทา่ กันและนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ • คาดคะเนและวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร ความจุ เลือกใช้เครื่องมือและหน่วยท่ี เหมาะสม บอกเวลา บอกจำนวนเงิน และนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ • จำแนกและบอกลักษณะของรูปสามเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย เขียนรปู หลายเหลี่ยม วงกลม และวงรีโดยใชแ้ บบของรปู ระบรุ ูป เรขาคณติ ท่มี ีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร และนำไปใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ • อ่านและเขยี นแผนภูมริ ปู ภาพ ตารางทางเดียวและนำไปใช้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ จบชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 • อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง อัตราส่วน และร้อยละ มีความรูส้ ึกเชิงจำนวน มีทักษะการบวก การลบ การคูณ การหาร ประมานผลลพั ธ์และนำไปใช้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ • อธิบายลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิต หาความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูป เรขาคณิต สร้างรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม และวงกลม หาปริมาตรและความจุของทรง สี่เหล่ียมมมุ ฉากและนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ • นำเสนอข้อมูลในรูปแผนภมู ิแทง่ ใชข้ ้อมูลจากแผนภูมิแทง่ แผนภูมิวงกลม ตารางสองทาง และกราฟเส้น ในการการอธิบายเหตุการณ์ตา่ งๆ และตดั สินใจ  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๘ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โครงสรา้ งเวลาเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับชนั้ รหสั วิชา ชอ่ื รายวิชา จำนวนชว่ั โมง/ป/ี ภาค ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวนผลทเ่ี กดิ ขึ้นจากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.1 1. บอกจำนวนของสง่ิ ต่าง ๆ แสดงสงิ่ ตา่ ง จำนวนนับ 1 ถงึ 100 และ 0 ๆ ตามจำนวนท่กี ำหนด อ่านและเขียน • การนับทลี ะ 1 และทีละ 10 ตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย แสดง • การอา่ นและเขยี นตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข จำนวนนับไมเ่ กนิ 100และ 0 ไทยแสดงจำนวน 2. เปรียบเทียบจำนวนนบั ไม่เกนิ 100 • การแสดงจำนวนนับไมเ่ กิน 20 ในรปู และ 0 โดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย = ≠ > < ความสมั พนั ธ์ของจำนวนสว่ นย่อย ส่วนรวม 3. เรยี งลำดับจำนวนนับไมเ่ กิน 100 (part – whole relationship) และ 0 ตั้งแต่ 3 ถงึ 5 จำนวน • การบอกอันดับที่ • หลัก ของคา่ เลขโดดในแตล่ ะหลกั และการ เขียนตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย • การเปรียบเทียบจำนวนและการใช้ เครอ่ื งหมาย = ≠ > < • การเรียงลำดบั จำนวน  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 4. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยค การบวก การลบ จำนวนนบั 1 ถงึ 100 และ สัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยค 0 สัญลักษณแ์ สดงการลบของจำนวนนบั • ความหมายของการบวก ความหมายของการ ไม่เกนิ 100 และ 0 ลบ การหาผลบวก การหาผลลบ และ 5. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ความสมั พนั ธข์ องการบวกและการลบ การบวกและโจทยป์ ัญหาการลบของ • การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการแกโ้ จทย์ จำนวนนบั ไมเ่ กิน 100 และ 0 ปัญหาการลบ และการสรา้ งโจทย์ปญั หา พรอ้ ม ท้งั หาคำตอบ ป.2 1. บอกจำนวนของสิ่งตา่ ง ๆ แสดงสิง่ จำนวนนับไมเ่ กิน 1,000 และ 0 ต่าง ๆ ตามจำนวนท่ีกำหนด อา่ นและ • การนบั ทีละ 2 ทีละ 5 ทลี ะ 10 และทีละ เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย 100 ตวั หนังสือแสดงจำนวนนบั ไม่เกนิ • การอา่ นและเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ 1,000 และ 0 ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจำนวน 2. เปรียบเทยี บจำนวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 • จำนวนค่จู ำนวนคี่ และ 0 ใชเ้ ครือ่ งหมาย = ≠ > < • หลัก ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลักและการ 3. เรียงลำดับจำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย และ 0 ตั้งแต่ 3 ถงึ 5 จำนวนจาก • การเปรียบเทยี บและเรยี งลำดับจำนวน สถานการณต์ ่าง ๆ 4. หาคา่ ตัวไม่ทราบค่าในประโยค การบวก การลบ การคณู การหาร จำนวนนบั สัญลักษณแ์ สดงการบวกและประโยค ไม่เกนิ 1,000 และ 0 สญั ลกั ษณ์แสดงการลบของจำนวนนบั • การบวกและการลบ ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 • ความหมายของการคูณ ความหมายของ 5. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยค • การหาร การหาผลคณู การหาผลหาร และ สัญลักษณ์แสดงการคูณของจำนวน 1 เศษ และความสัมพนั ธ์ของการคณู และการ หลักกับจำนวนไมเ่ กนิ 2 หลกั หาร 6. การหาค่าของตวั ไม่ทราบค่าใน • การบวก ลบ คณู หารระคน ประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการหารทตี่ ัว • การแกโ้ จทยป์ ญั หาและการสรา้ งโจทย์ปัญหา ตงั้ ไม่เกิน 2 หลกั ตวั หาร 1 หลกั โดย พรอ้ มทัง้ หาคำตอบ  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ทม่ี ีผลหารมี 1 หลกั ทงั้ หารลงตัวและ หารไม่ลงตัว 7. การหาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คณู หาร ระคนของจำนวนนับ ไมเ่ กิน 1,000 และ 0 8. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา 2 ข้นั ตอนของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 ป.3 1. อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบกิ จำนวนนบั ไม่เกนิ 100,000 และ 0 ตวั เลขไทยและตวั หนงั สอื แสดงจำนวน • การอ่าน การเขยี นตัวเลขฮินดูอารบกิ นบั ไม่เกนิ 100,000 และ 0 ตัวเลขไทย และตัวหนงั สือแสดงจำนวน 2. เปรียบเทียบและเรยี งลำดับจำนวนนบั • หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการ ไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ตา่ ง เขียน ๆ ตัวเลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย • การเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับจำนวน 3. บอก อ่าน และเขยี นเศษส่วนแสดง เศษส่วน ปรมิ าณสงิ่ ตา่ ง ๆ และแสดงสิ่งตา่ ง ๆ • เศษสว่ นที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากบั ตัวสว่ น ตามเศษส่วนที่กำหนด • การเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับเศษส่วน 4. เปรียบเทียบเศษสว่ นท่ีตัวเศษเทา่ กัน โดยทต่ี วั เศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตวั สว่ น 5. หาค่าตัวไม่ทราบค่าในประโยค การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ สญั ลกั ษณ์แสดงการบวกและประโยค ไม่ สญั ลักษณ์แสดงการลบของจำนวนนับไม่ เกนิ 100,000 และ 0 เกนิ 100,000 และ 0 • การบวกและการลบ 6. หาค่าตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค • การคูณ การหารยาวและการหารสั้น สญั ลักษณ์แสดการคูณของจำนวน 1 • การบวก ลบ คูณ หารระคน หลักกบั จำนวนไม่เกนิ 4 หลัก และ • การแกโ้ จทยป์ ัญหาและการสรา้ งโจทยป์ ญั หา จำนวน 2 หลักกับจำนวน 2 หลัก พร้อมทง้ั หาคำตอบ  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ๑๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 7. หาค่าตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค สญั ลักษณ์แสดงการหารท่ีตวั ตั้งไมเ่ กนิ 4 หลัก ตัวหาร 1 หลกั 8. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หาร ระคนของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 9. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหา 2 ข้ันตอนของจำนวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 10. หาผลบวกของเศษสว่ นที่มีตวั ส่วน การบวก การลบเศษส่วน เทา่ กนั และผลบวกไม่เกิน 1 และหาผล • การบวกและการลบเศษส่วน ลบของเศษส่วนทม่ี ีตัวส่วนเท่ากนั • การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หา 11. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา การลบเศษสว่ น การบวกเศษสว่ นท่ีมตี วั สว่ นเทา่ กนั และ ผลบวกไมเ่ กิน 1 และโจทย์ปัญหาการลบ เศษส่วนทมี่ ีตัวส่วนเทา่ กนั ป.4 1. อา่ นและเขียนเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลข จำนวนนบั ทม่ี ากกวา่ 100,000 และ 1 ไทยและตัวหนงั สือแสดงจำนวนนบั ที่ • การอา่ น การเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลข มากกว่า 100,000 ไทย และตวั หนงั สือแสดงจำนวน 2. เปรยี บเทียบและเรยี งจำนวนนับท่ี • หลัก ค่าประจำหลักและคา่ ของเลขโดดในแต่ มากกว่า 100,000 จากสถานการณ์ ละ ต่าง ๆ หลกั และการเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรูป กระจาย • การเปรียบเทยี บและเรยี งลำดับจำนวน • คา่ ประมาณของจำนวนนบั และการใช้ เคร่อื งหมาย ≈ 3. บอก อา่ น และเขียนเศษส่วน จำนวน เศษส่วน คละแสดงปริมาณสิ่งตา่ ง ๆ และแสดง • เศษส่วนแทเ้ ศษเกนิ สง่ิ ต่าง ๆ ตามเศษสว่ น จำนวนคละที่ • จำนวนคละ กำหนด • ความสัมพนั ธร์ ะหว่างจำนวนคละและ  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๑๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 4. เปรยี บเทียบ เรียงลำดับเศษสว่ นและ เศษเกนิ จำนวนคละทีต่ วั ส่วนตวั หนงึ่ เป็น • เศษสว่ นทเี่ ทา่ กนั เศษสว่ นอย่างต่ำ และ พหคุ ณู ของอีกตัวหน่ึง เศษสว่ นที่เท่ากบั จำนวนนับ • การเปรียบเทยี บ เรยี งลำดับเศษส่วนและ จำนวนคละ 5. อ่านและเขยี นทศนยิ มไมเ่ กิน 3 ทศนิยม ตำแหนง่ แสดงปรมิ าณของสงิ่ ต่าง ๆ • การอ่านและการเขียนทศนยิ มไม่เกนิ 3 และแสดงสงิ่ ตา่ ง ๆ ตามท่ีทศนยิ ม ตำแหนง่ ตามปรมิ าณท่ีกำหนด กำหนด • หลกั ค่าประจำหลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะ 6. เปรียบเทียบและเรยี งลำดับทศนยิ มไม่ หลกั ของทศนิยม และการเขยี นตัวเลขแสดง เกนิ 3 ตำแหน่งจากสถานการณ์ ทศนยิ มในรปู กระจาย ตา่ ง ๆ • ทศนยิ มท่ีเท่ากนั • การเปรียบเทียบและเรยี งลำดับทศนิยม 7. ประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การบวก การลบ การคณู การหารจำนวนนบั ท่ี การคูณการหาร จากสถานการณต์ า่ ง ๆ มากกว่า 100,000 และ 0 อยา่ งสมเหตุสมผล • - การประมาณผลลพั ธข์ องการบวก การลบ 8. หาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยค • การคูณ การหาร สัญลกั ษณแ์ สดงการบวกและประโยค • - การบวกและการลบ สัญลกั ษณ์แสดงการลบของจำนวนนับท่ี • - การคูณและการหาร มากกว่า 100,000 และ 0 • - การบวก ลบ คูณ หารระคน • - การแก้โจทย์ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ 9. หาคา่ ตัวไมท่ ราบค่าในประโยค การบวก การลบ การคณู การหารจำนวนนับที่ สญั ลักษณแ์ สดงการคูณของจำนวนหลาย มากกวา่ 100,000 และ 0 หลกั 2 จำนวน ทีม่ ีผลคูณไมเ่ กิน 6 หลัก • การประมาณผลลัพธข์ องการบวก การลบ และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตวั การคณู การหาร ตง้ั ไมเ่ กิน 6 หลัก ตวั หารไม่เกิน 2 หลกั • การบวกและการลบ 10. หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คณู หาร • การคณู และการหาร ระคนของจำนวนนบั และ 0 • การบวก ลบ คณู หารระคน • การแก้โจทย์ปญั หาและการสร้างโจทย์ ปัญหา พรอ้ มท้ังหาคำตอบ  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ๑๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 11. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา 2 ขนั้ ตอนของจำนวนนับที่มากกวา่ 100,000 และ 0 12. สร้างโจทย์ปญั หา 2 ข้ันตอนของ จำนวนนบั และ 0 พร้อมท้ังหาคำตอบ 13. หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและ การบวก การลบเศษส่วน จำนวนคละทีต่ วั ส่วนตัวหนึ่งเปน็ พหคุ ูณ • การบวก การลบเศษส่วนและจำนวนคละ ของอกี ตวั หน่ึง • การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก และโจทย์ 14. แสดงวิธกี ารหาคำตอบของโจทย์ ปัญหาการลบเศษส่วนและจำนวนคละ ปัญหาการบวกและโจทย์ปญั หาการลบ เศษสว่ นและจำนวนคละทตี่ วั ส่วนตัวหนง่ึ เป็นพหุคณู ของอีกตวั หนึ่ง 15. หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไมเ่ กิน การบวก การลบทศนิยม 3 ตำแหนง่ • การบวก การลบทศนยิ ม 16. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา • การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก การลบ การบวก การลบ 2 ข้ันตอน ของทศนิยม ทศนยิ มไม่เกนิ 2 ขน้ั ตอน ไม่เกนิ 3 ตำแหน่ง ป.5 1. เขียนเศษส่วนทต่ี ัวส่วนเปน็ ตวั ทศนยิ ม ประกอบของ 10 หรอื 100 หรอื • ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม 1,000 ในรูปทศนิยม • คา่ ประมาณของทศนิยมไมเ่ กิน 3 ตำแหน่งที่ เปน็ จำนวนเต็ม ทศนยิ ม 1 ตำแหนง่ และ 2 ตำแหนง่ การใช้เครื่องหมาย ≈ 2. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา จำนวนนบั และ 0 การบวก การลบ การคูณ โดยใชบ้ ญั ญตั ิไตรยางศ์ และการหาร • การแกโ้ จทยป์ ญั หาโดยใชบ้ ญั ญตั ไิ ตรยางศ์ 3. หาผลบวก ผลลบของเศษสว่ นและ เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การ จำนวนคละ หารเศษสว่ น 4. หาผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและ • การเปรียบเทยี บเศษสว่ นและจำนวนคละ จำนวนคละ • การบวก การลบของเศษส่วนและจำนวนคละ  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 5. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ญั หา • การคณู การหารของเศษส่วนและจำนวนคละ การบวก การลบ การคณู การหาร • การแก้โจทยป์ ัญหาเศษสว่ นและจำนวนคละ เศษส่วน 2 ข้ันตอน 6. หาผลคณู ของทศนยิ มทผี่ ลคณู เปน็ การคูณ การหารทศนยิ ม ทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ตำแหน่ง • การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ 7. หาผลหารทีต่ วั ตัง้ เป็นจำนวนนับหรอื การคณู ทศนยิ มไมเ่ กิน 3 ตำแหนง่ และตัวหาร • การหารทศนิยม เป็นจำนวนนับผลหารเป็นทศนยิ มไมเ่ กนิ • การคณู ทศนยิ ม 3 ตำแหนง่ • การแก้โจทยป์ ญั หาเก่ียวกบั ทศนิยม 8. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา การบวกการลบ การคณู การหารทศนยิ ม 2 ข้ันตอน 9. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ญั หา รอ้ ยละหรือเปอร์เซน็ ต์ รอ้ ยละไม่เกิน 2 ขั้นตอน • การอา่ นและการเขยี นร้อยละหรือเปอรเ์ ซ็นต์ • การแกโ้ จทยป์ ัญหาร้อยละ ป.6 1. เปรียบเทยี บ เรียงลำดับเศษส่วนและ เศษส่วน จำนวนคละ จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ • การเปรยี บเทียบและเรียงลำดับเศษสว่ นและ จำนวนคละโดยใชค้ วามรเู้ รอื่ ง ค.ร.น 2. เขยี นอัตราสว่ นแสดงการเปรียบเทียบ อตั ราสว่ น ปริมาณ 2 ปริมาณ จากข้อความหรอื • อตั ราสว่ น อตั ราสว่ นทเี่ ท่ากัน และมาตรา สถานการณโ์ ดยทีป่ ริมาณแตล่ ะปรมิ าณ สว่ น เปน็ จำนวนนับ 3. หาอตั ราสว่ นที่เทา่ กับอตั ราส่วนที่ กำหนดให้ 4. หา ห.ร.ม ของจำนวนนบั ไม่เกิน 3 จำนวนนบั และ 0 จำนวน • ตัวประกอบ จำนวนเฉพาะ ตัวประกอบ 5. หา ค.ร.น ของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ 3 เฉพาะ จำนวน และการแยกตวั ประกอบ 6. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา • ห.ร.ม และ ค.ร.น โดยใชค้ วามรเู้ ก่ียวกบั ห.ร.ม และ ค.ร.น • การแก้โจทย์ปญั หาเก่ยี วกับ ห.ร.ม และ ค.ร.น  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 7. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คณู หาร การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ระคนของเศษสว่ นและจำนวนคละ • การบวก การลบเศษส่วนและจำนวนคละโดย 8. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา ใช้ เศษส่วนและจำนวนคละ 2-3 ขนั้ ตอน ความรเู้ ร่ือง ค.ร.น • การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและ จำนวนคละ • การแกโ้ จทย์ปัญหาเศษส่วนและจำนวนคละ 9. หาผลหารของทศนิยมทต่ี ัวหารและ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคูณ การ ผลหารเปน็ ทศนยิ มไม่เกนิ 3 ตำแหน่ง หาร 10. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา • ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเศษสว่ นและทศนิยม การบวก การลบ การคณู การหาร • การหารทศนิยม ทศนิยม 3 ขน้ั ตอน • การแกโ้ จทย์ปญั หาเกย่ี วกบั ทศนิยม (รวมการแลกเงนิ ตา่ งประเทศ) 11. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ญั หา อัตราส่วนและร้อยละ อตั ราส่วน • การแกโ้ จทยป์ ญั หาอัตราสว่ นและมาตราส่วน 12. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยร์ ้อยละ • การแกโ้ จทย์ปญั หารอ้ ยละ 2-3 ขั้นตอน สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสมั พันธฟ์ ังก์ชนั ลำดบั ละอนกุ รม และนำไปใช้ ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 1. ระบจุ ำนวนที่หายไปในแบบรปู แบบรปู ของจำนวนทเี่ พิ่มขึ้นหรอื ลดลงทีละ 1 • แบบรปู ของจำนวนทเ่ี พ่ิมขน้ึ หรอื ลดลงทีละ 1 และทลี ะ 10 และระบุท่หี ายไปในแบบ และทีละ 10 รปู ซ้ำของรูปเรขาคณิตและรปู อื่น ๆ ที่ • แบบรูปซ้ำของจำนวน รปู เรขาคณติ และรูป สมาชิกในแตล่ ะชดุ ทีซ่ ำ้ ม2ี รูปแบบ อ่ืน ๆ  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ๑๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.2 (มกี ารจดั การเรยี นการสอนเพ่ือเป็น แบบรปู พ้ืนฐานแตไ่ มว่ ดั ผล) • แบบรูปของจำนวนทีเ่ พิ่มขึ้นหรอื ลดลงทีละ 2 ทลี ะ 5 และทลี ะ 100 • แบบรปู ซำ้ ป.3 1. ระบุจำนวนทหี่ ายไปในแบบรปู ของ แบบรูป จำนวนทเี่ พิม่ ขน้ึ หรือลดลงทลี ะเทา่ ๆ • แบบรปู ของจำนวนที่เพ่ิมขน้ึ หรือลดลงทลี ะ กัน เทา่ ๆ กัน ป.4 (มีการจดั การเรยี นการสอนเพ่ือเป็น แบบรูป พนื้ ฐานแตไ่ มว่ ัดผล) • แบบรปู ของจำนวนที่เกิดจากการคณู การหาร ดว้ ยจำนวนเดยี วกัน ป.5 - - ป.6 1. แสดงวธิ ีคิดและหาคำตอบของ แบบรปู ปัญหาเก่ียวกับแบบรปู • การแกป้ ัญหาเก่ียวกบั แบบรปู สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวดั วัดและคาดเนขนาดของสงิ่ ท่ตี ้องการวัด ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.1 1. วัดและเปรียบเทียบความยาวเปน็ ความยาว เซนตเิ มตรเปน็ เมตร • การวัดความยาวโดยใช้หน่วยท่ไี ม่ใชห่ น่วย มาตรฐาน • ความยาวเปน็ เซนติเมตร เป็นเมตร • การเปรียบเทยี บความยาวเป็นเซนตเิ มตร เป็นเมตร • การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ เกีย่ วกับความยาวที่มหี นว่ ยเป็นเซนตเิ มตร เปน็ เมตร 2. วัดและเปรียบเทียบนำ้ หนกั เป็นกิโลกรัม นำ้ หนกั เป็นขดี • การวัดนำ้ หนกั โดยใชห้ นว่ ยทีไ่ ม่ใช่หนว่ ย มาตรฐาน  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๗ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชัน้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง • การวัดน้ำหนักเป็นกโิ ลกรมั เปน็ ขีด • การเปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เปน็ ขีด • การแกป้ ัญหาการบวก การลบเกี่ยวกบั นำ้ หนักทม่ี หี นว่ ยเป็นกโิ ลกรัม เป็นขดี ป.2 1. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ญั หา เวลา เกี่ยวกับเวลาที่มีหน่วยเด่ยี วและเปน็ หน่วย • การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที เดียวกัน (ชว่ ง 5 นาท)ี • การบอกระยะเวลาเปน็ ช่วั โมง เปน็ นาที • การเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชว่ั โมง เปน็ นาที • การอ่านปฏทิ นิ • การแก้โจทย์ปัญหาเกย่ี วกับเวลา 2. วดั และเปรยี บเทยี บความยาวเปน็ เมตร ความยาว และเซนตเิ มตร • การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร 3. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาการ • การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร บวก การลบเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็น • การเปรียบเทยี บความยาวโดยใช้ เมตรและเซนติเมตร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเมตรกบั เซนตเิ มตร • การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกับความยาวท่ีมี หน่วยเป็นเมตรและเซนตเิ มตร 4. วดั และเปรยี บเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัม น้ำหนัก และกรมั กิโลกรมั และขีด • การวัดนำ้ หนักเป็นกิโลกรมั และกรัม 5. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปญั หา การ กโิ ลกรมั และขีด บวก การลบเกี่ยวกับน้ำหนักท่มี ี หนว่ ยเป็น • การคาดคะเนนำ้ หนักเปน็ กิโลกรมั กิโลกรัมและกรมั กิโลกรัม และขดี • การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ ความสมั พนั ธ์ ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม กิโลกรัมกับขีด • การแก้โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักทีม่ ี หน่วยเป็นกโิ ลกรมั และกรมั กิโลกรมั และ ขดี  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 6. วดั และเปรียบเทยี บปรมิ าตรและความจุ ปรมิ าตรและความจุ เป็นลิตร • การวัดปริมาตรและความจุโดยใช้หนว่ ย ท่ี ไม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน • การวดั ปริมาตรและความจุเป็นชอ้ นซา ชอ้ นโตะ๊ ถ้วยตวง ลิตร • การเปรยี บเทยี บปริมาตรและความจเุ ป็น ช้อนชา ชอ้ นโต๊ะ ถว้ ยตวง ลติ ร • การแกโ้ จทยป์ ญั หาเกี่ยวกับปริมาตรและ ความจุ ทีม่ ีหน่วยเปน็ ชอ้ นซา ชอ้ นโต๊ะ ถว้ ยตวง ลติ ร ป.3 1. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา เงิน เกย่ี วกับเงนิ • การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดงจำนวน 2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา เงนิ แบบใช้จดุ เก่ียวกับเวลา และระยะเวลา • การเปรียบเทยี บจำนวนเงนิ และการแลก เงิน • การอ่านและเขียนบันทกึ รายรับ รายจา่ ย • การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ียวกับเงิน เวลา • การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที • การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) และการอา่ น • การบอกระยะเวลาเป็นช่วั โมงและนาที • การเปรยี บเทยี บระยะเวลาโดยใช้ ความสัมพันธร์ ะหว่างช่ัวโมงกับนาที • การอา่ นและการเขียนบนั ทึกกิจกรรม ท่ี ระบเุ วลา • การแกโ้ จทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและ ระยะเวลา 3. เลือกใช้เครือ่ งวัดความยาวที่เหมาะสม ความยาว วดั และบอกความยาวของสง่ิ ต่าง ๆ เป็น  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ๑๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง เซนตเิ มตรและมิลลเิ มตร เมตร และ • การวดั ความยาวเป็นเซนติเมตรและ เซนตเิ มตร มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตร 4. คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเปน็ และเมตร เซนติเมตร • การเลือกเครอ่ื งวดั ความยาวท่ีเหมาะสม 5. เปรียบเทยี บความยาวระหวา่ งเซนติเมตร • การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็น กบั มิลลเิ มตร เมตรกบั เซนตเิ มตร กิโลเมตร เซนตเิ มตร กับเมตร จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ • การเปรยี บเทียบความยาวโดยใช้ 6. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปญั หา ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งหน่วยความยาว เกยี่ วกับความยาว ที่มิหนว่ ยเป็นเซนติเมตร • การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ยี วกับความยาว และมิลลเิ มตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร 7. เลอื กใช้เครือ่ งชั่งทเ่ี หมาะสม วดั และบอก นำ้ หนกั นำ้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั และขีด กิโลกรมั และ • การเลอื กเครอ่ื งชั่งท่ีเหมาะสม กรัม • การคาดคะเนนำ้ หนักเป็นกิโลกรมั และเปน็ 8. คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเปน็ ขีด ขีด • การเปรยี บเทยี บนำ้ หนักโดยใช้ 9. เปรยี บเทยี บนำ้ หนักระหว่างกโิ ลกรัมกับ ความสัมพนั ธ์ กรัม เมตรกิ ตันกบั กโิ ลกรัม จากสถานการณ์ • ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตนั กบั ต่าง ๆ กโิ ลกรัม 10. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหา • การแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกับน้ำหนัก เกย่ี วกบั นำ้ หนกั ทม่ี หิ น่วยเป็นกิโลกรมั กับ กรมั เมตริกตันกบั กิโลกรมั 11. เลอื กใชเ้ ครือ่ งตวงทีเ่ หมาะสม วดั และ ปรมิ าตรและความจุ เปรยี บเทยี บปริมาตร ความจเุ ปน็ ลิตร และ • การวัดปรมิ าตรและความจเุ ป็นลติ ร และ มิลลิลติ ร มิลลิลิตร 12. คาดคะเนปรมิ าตรและความจเุ ปน็ ลิตร • การเลอื กเครือ่ งตวงทีเ่ หมาะสม ๑๓. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหา • การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลติ ร เก่ียวกับปริมาตรและความจทุ ่ีมหิ นว่ ย เป็น • การเปรยี บเทยี บปริมาตรและความจุ ลติ รและมิลลลิ ติ ร  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ชัน้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง โดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับ มิลลิลติ ร ช้อนชา ช้อนโตะ๊ ถว้ ยตวงกับ มลิ ลิลิตร • การแกโ้ จทย์ปัญหาเกี่ยวกบั ปรมิ าตรและ ความจทุ ่ีมหิ นว่ ยเป็นลิตรและมิลลลิ ติ ร ป.4 1. แสดงวธิ ีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เวลา เกีย่ วกับเวลา • การบอกระยะเวลาเปน็ วนิ าทีนาทีชว่ั โมง วัน สัปดาหเ์ ดือน ปี • การเปรยี บเทยี บระยะเวลาโดยใช้ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหนว่ ยเวลา • การอ่านตารางเวลา • การแก้โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับเวลา 2. วัดและสรา้ งมุม โดยใช้โพรแทรกเตอร์ การวดั และสรา้ งมุม • การวดั ขนาดของมมุ โดยใชโ้ พรแทรกเตอร์ • การสร้างมมุ เม่อื กำหนดขนาดของมุม 3. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหา รูปส่เี หลีย่ มมุมฉาก เกี่ยวกบั ความยาวรอบรูปและพนื้ ท่ขี องรปู • ความยาวรอบรูปของรปู ส่ีเหล่ียมมุมฉาก สเี่ หลี่ยมมุมฉาก • พ้นื ที่ของรูปส่เี หล่ยี มมุมฉาก • การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ียวกับความยาวรอบ รปู และพ้ืนทขี่ องรูปสเ่ี หล่ยี มมุมฉาก ป.5 1. แสดงวธิ กี ารหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา ความยาว เกี่ยวกบั ความยาวท่ีมกี ารเปล่ียนหนว่ ยและ • ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งหนว่ ยความยาว เขียนในรูปทศนิยม เซนตเิ มตรกบั มิลลิเมตร เมตรกับ เซนติเมตร กโิ ลเมตรกบั เมตร โดยใชค้ วามรู้ เรอื่ งทศนิยม • การแก้โจทย์ปัญหาเกีย่ วกบั ความยาวโดย ใชค้ วามร้เู รอ่ื งการเปล่ียนหน่วยและ ทศนิยม  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๒๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 2. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหา นำ้ หนกั เกย่ี วกบั นำ้ หนกั ท่มี ีการเปลยี่ นหน่วยและ • ความสมั พันธร์ ะหว่างหนว่ ยน้ำหนัก เขียนในรูปทศนิยม กโิ ลกรัมกับกรัม โดยใช้ความรู้เร่ืองทศนยิ ม • การแกโ้ จทย์ปัญหาเกีย่ วกับน้ำหนกั โดยใช้ ความรเู้ รอื่ งการเปลีย่ นหน่วยและทศนยิ ม 3. แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ญั หา ปริมาตรและความจุ เกี่ยวกบั ปรมิ าตรของทรงสเ่ี หลีย่ มมุมฉาก • ปริมาตรของทรงสเี่ หล่ยี มมุมฉากและความ และความจุของภาชนะทรงสเี่ หล่ยี มมุมฉาก จุของภาชนะทรงสี่เหลย่ี มมุมฉาก • ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง มลิ ลิลติ ร ลติ ร ลูกบาศก์เซนติเมตร และลูกบาศกเ์ มตร • การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกย่ี วกับปริมาตรของ ทรงสเ่ี หลีย่ มมุมฉากและความจขุ องภาชนะ สีเ่ หล่ียมมุมฉาก 4. แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหา รปู เรขาคณติ สองมิติ เก่ียวกบั ความยาวรอบรูปของรูปส่เี หล่ยี ม • ความยาวรอบรปู ของรูปสีเ่ หล่ียม และพื้นท่ีของรูปสี่เหล่ยี มด้านขนานและรปู • พ้ืนทขี่ องรูปสีเ่ หลย่ี มดา้ นขนานและรปู สี่เหลย่ี มขนมเปียกปูน สีเ่ หล่ยี มขนมเปียกปูน • การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกย่ี วกับความยาวรอบ รปู ของรูปสี่เหลย่ี มและพื้นท่ขี องรูป ส่เี หลี่ยมด้านขนานและรูปส่เี หล่ียมขนม เปียกปนู ป.6 1. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา ปริมาตรและความจุ เกีย่ วกบั ปรมิ าตรของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ี • ปรมิ าตรของรูปเรขาคณิตท่ปี ระกอบดว้ ย ประกอบดว้ ยทรงส่ีเหลีย่ มมุมฉาก ทรงสี่เหลย่ี มมมุ ฉาก • การแก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับปริมาตรของรูป • เรขาคณติ สามมติ ิท่ีประกอบด้วยทรง สเ่ี หล่ียมมมุ ฉาก  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 2. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา รปู เรขาคณติ สองมิติ เกย่ี วกบั ความยาวรอบรูปและพืน้ ทีข่ องรูป • ความยาวรอบรูปและพน้ื ที่ของรูป หลายเหล่ียม สามเหลยี่ ม 3. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา • มมุ ภายในของรูปหลายเหลี่ยม เกีย่ วกับความยาวรอบรปู และพื้นทีข่ อง • ความยาวรอบรปู และพ้ืนทีข่ องรปู หลาย วงกลม เหลีย่ ม • การแก้โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกับความยาวรอบรู้ และพน้ื ทข่ี องรูปหลายเหลย่ี ม • ความยาวรอบรูปและพืน้ ท่ขี องวงกลม • การแก้โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกบั ความยาวรอบ รปู และพน้ื ทีข่ องวงกลม สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสัมพนั ธ์ระหว่าง รูปเรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และการนำไปใช้ ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.1 1. จำแนกรปู สามเหลีย่ ม รปู สเี่ หลีย่ ม วงกลม รปู เรขาคณติ สองมติ แิ ละรูปเรขาคณติ สาม วงรีทรงสี่เหลย่ี มมฉุ าก ทรงกลม ทรงกระบอก มติ ิ และกรวย • ลักษณะของทรงส่เี หลี่ยมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย • ลกั ษณะของรูปสามเหล่ียม รูปส่ีเหลี่ยม วงกลมและวงรี ป.2 1. จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลาย รปู เรขาคณิตสองมติ ิ เหลยี่ มและวงกลม • ลักษณะของรูปหลายเหลีย่ ม วงกลมและ วงรีและการเขยี นรูปเรขาคณิตสองมติ ิโดย ใชแ้ บบของรปู ป.3 1. ระบรุ ปู เรขาคณิตสองมติท่ีมแี กนสมมาตร รปู เรขาคณติ สองมติ ิ และจำนวนแกนสมมาตร • รูปทีม่ ีแกนสมมาตร  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ๒๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.4 1. จำแนกชนดิ ของมุม บอกชือ่ มุม รปู เรขาคณติ สว่ นประกอบของมมุ และเขยี นสัญลกั ษณ์ • ระนาบ จุด เส้นตรง รงั สสี ว่ นของเส้นตรง แสดงมุม และสญั ลกั ษณแ์ สดงเส้นตรง รงั สีสว่ นของ 2. สร้างรปู ส่เี หล่ียมมฉุ ากเม่ือกำหนดความ เส้นตรง ยาวของด้าน • มมุ o สว่ นประกอบของมมุ o การเรยี กชือ่ มุม o สัญลกั ษณ์แสดงมุม o ชนิดของมุม • ชนดิ และสมบตั ขิ องรปู สเ่ี หล่ียมมุมฉาก • การสร้างรูปสเ่ี หลีย่ มมุมฉาก ป.5 1. สร้างเสน้ ตรงหรือส่วนของเสน้ ตรงให้ขนาน รปู เรขาคณติ กับเสน้ ตรงหรือสว่ นของเสน้ ตรงทก่ี ำหนดให้ • เส้นตั้งฉากและสัญลกั ษณ์แสดงการตงั้ ฉาก • เสน้ ขนานและสัญลกั ษณแ์ สดงการขนาน • การสร้างเส้นขนาน • มุมแยง้ มุมภายใน และมุมภายนอก ที่อยู่ บนข้างเดียวกนั ของเส้นตัดขวาง (Transversal) 2. จำแนกรปู สีเ่ หลย่ี มโดยพจิ ารณาจากสมบัติ รปู เรขาคณิตสองมิติ ของรูป • ชนิดและสมบตั ขิ องรูปส่เี หล่ียม 3. สรา้ งรปู สเี่ หลยี่ มชนิดต่างๆ เม่อื กำหนด • การสรา้ งรปู สเ่ี หลยี่ ม ความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือเมื่อ กำหนดความยาวของเสน้ ทแยงมมุ 4. บอกลกั ษณะของปริซึม รูปเรขาคณิตสามมิติ • ลักษณะและสว่ นต่างๆของปริซมึ ป.6 1. จำแนกรูปสามเหลย่ี มโดยพจิ ารณาจาก รูปเรขาคณติ สองมิติ สมบัตขิ องรปู • ชนิดและสมบัตขิ องรปู สามเหลี่ยม 2. สร้างรูปสามเหลยี่ มเมือ่ กำหนดความยาว • การสรา้ งรูปสามเหลี่ยม ของดา้ นและขนาดของมุม • สว่ นตา่ ง ๆ ของวงกลม • การสรา้ งวงกลม  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๒๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3. บอกลักษณะต่างๆของรูปเรขาคณติ สาม รปู เรขาคณิตสามมิติ มิติชนิดตา่ ง ๆ • ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย พรี ะมิด 4. ระบรุ ปู เรขาคณิตสามมติ ทิ ี่ประกอบจากรปู • รูปคลขี่ องทรงกระบอก กรวย ปริซึม คล่ขี องรูปเรขาคณิตสามมติ ิ พีระมิด สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติและใช้ความรู้ทางสถิตใิ นการแกป้ ัญหา ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.1 1. ใช้ข้อมูลจากแผนภมู ิรปู ภาพในการหา การนำเสนอข้อมูล คำตอบของโจทยป์ ญั หาเม่ือกำหนดรูป 1 รูป การอ่านแผนภมู ริ ูปภาพ แทน 1 หนว่ ย ป.2 1. ใช้ขอ้ มลู จากแผนภมู ริ ปู ภาพในการหา การนำเสนอขอ้ มลู คำตอบของโจทยป์ ัญหาเม่ือกำหนดรูป 1 รูป การอ่านแผนภมู ริ ปู ภาพ แทน 2 หนว่ ย 5 หนว่ ยหรือ 10 หนว่ ย ป.3 1. เขยี นแผนภูมริ ูปภาพ และใช้ข้อมูลจาก การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและการนำเสนอ แผนภูมิรปู ภาพในการหาคำตอบของโจทย์ ข้อมูล ปญั หา • การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมลู 2. เขยี นตารางทางเดียวจากข้อมลู ท่ีเป็น • การอา่ นและการเขยี นแผนภมู ิรปู ภาพ จำนวนนับ และใช้ข้อมลู จากตารางทางเดยี ว • การอา่ นและการเขยี นตารางทางเดียว ในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา (One – Way table) ป.4 1. ใช้ข้อมูลจากแผนภมู ิแท่ง ตารางสองทาง การนำเสนอขอ้ มลู ในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา • การอา่ นและการเขยี นแผนภูมิแท่ง (ไม่รวมการยน่ ระยะ) การอา่ นตารางสองทาง (two – way table) ป.5 1. ใช้ขอ้ มูลจากกราฟเส้นในการหาคำตอบ การนำเสนอขอ้ มลู ของโจทยป์ ัญหา • - การอ่านกราฟเสน้ 2. เขียนแผนภูมแิ ทง่ จากข้อมูลท่เี ป็นจำนวน - การอ่านและการเขียนแผนภมู แิ ท่ง นบั  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๒๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.6 1. ใช้ข้อมลู จากแผนภมู ิรปู วงกลมในการหา การนำเสนอข้อมลู คำตอบของโจทยป์ ญั หา - การอา่ นแผนภูมริ ูปวงกลม  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ คำอธิบายรายวิชา คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน รหัสวิชา ค๑๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐๐ ชั่วโมง ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดง จำนวนสิ่งต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และเขยี นแสดงจำนวนในรปู กระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เครอ่ื งหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนตัง้ แต่ ๓ ถงึ ๕ จำนวน และหาค่าของตวั ไมท่ ราบค่าใน ประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ความยาวและน้ำหนัก สร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการ บวก การลบ ของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้น หรอื ลดลงทีละ๑ ทลี ะ ๑๐ รปู ท่ีหายไปในแบบรูปซ้ำของรูปเรขาคณิตและรูปอ่ืน ๆ ทส่ี มาชิกใน แต่ละชุด ที่ซ้ำมี ๒ รูป วัดและเปรียบเทียบความยาวเปน็ เซนติเมตร เป็นเมตร น้ำหนักเป็นกิโลกรัมเป็นขีด และใช้ หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จำแนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เมื่อกำหนดรูป ๑ รูปแทน ๑ หน่วย รหัสตวั ช้วี ดั ค๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ค๑.๒ ป.๑/๑, ค๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ค๒.๒ ป.๑/๑ ค๓.๑ ป.๑/๑ รวมทั้งหมด ๑๐ ตัวช้ีวดั  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน รหสั วชิ า ค๑๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐๐ ช่ัวโมง ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและ แสดงจำนวนสิ่งต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถงึ ๕ จำนวน และหาค่าของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแกโ้ จทยป์ ัญหา การบวก การลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไมเ่ กิน ๒ หลัก และประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการหารท่ีตัวตั้งไม่ เกิน ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก โดยที่ผลหารมี ๑ หลัก ทั้งหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของ จำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาเกี่ยวกับเวลาที่มีหน่วยเดี่ยวและเป็น หน่วยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคำตอบของ โจทย์ปัญหาการบวก การลบความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบน้ำหนักเป็น กิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขดี พรอ้ มทั้งแสดงวธิ กี ารหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกการลบเก่ียวกับ น้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตร จำแนกและบอกลกั ษณะของรูปหลายเหลีย่ มและวงกลม ใช้ข้อมลู จากแผนภูมริ ปู ภาพในการหาคำตอบของ โจทยป์ ัญหา เมอ่ื กำหนดรปู ๑ รูปแทน ๒ หน่วย ๕ หน่วยหรอื ๑๐ หนว่ ย รหสั ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวม ๑๖ ตัวช้ีวัด  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๒๘ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน รหัสวชิ า ค๑๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลาเรยี น ๒๐๐ ช่ัวโมง อา่ นและเขยี น ตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจำนวนนับไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบและเรยี งลำดบั จำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและ เขียนเศษส่วนที่แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนที่กำหนด เปรียบเทียบเศษส่วนที่ ตัวเศษเท่ากัน โดยท่ตี ัวเศษนอ้ ยกว่าหรือเท่ากับตวั ส่วน หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดง การบวกและการลบของจำนวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์ แสดงการคณู ของจำนวน ๑ หลกั กับจำนวนไมเ่ กิน ๔ หลักและจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลกั หาคา่ ของ ตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการหารท่ตี วั ต้ังไมเ่ กนิ ๔ หลัก ตวั หาร ๑ หลกั และหาผลลัพธ์การ บวก ลบ คูณ หารระคนและแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วน เท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหารการลบของเสษ ส่วนที่มีตัวสว่ นเท่ากัน ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงทีละเทา่ ๆ กัน แสดง วิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน เวลาและระยะเวลา เลือกใช้เครื่องมือความยาวที่เหมาะสม วัด และบอกความยาวของสงิ่ ต่าง ๆ เปน็ เซนตเิ มตรและมลิ ลเิ มตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็น เมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว เปน็ เซนติเมตรกบั มลิ ลเิ มตร เมตรกบั เซนตเิ มตร กโิ ลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลอื กใช้เคร่ืองชั่ง ที่เหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและ เป็นขีด เปรียบเทียบน้ำหนักและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับนำ้ หนักทีม่ ีหน่วยเป็นกิโลกรมั กับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบ ปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตร และความจเุ ปน็ ลติ รและมลิ ลเิ มตร ระบุรูปเรขาคณติ สองมติ ทิ มี่ ีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียน แผนภูมิรูปภาพและใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เขียนตารางทางเดียว จากขอ้ มลู ที่เป็นจำนวนนบั และใชข้ อ้ มลู จากตารางทางเดียวในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา รหัสตัวชีว้ ัด ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ รวม ๒๘ ตัวชี้วัด  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน รหสั วชิ า ค๑๔๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลาเรียน ๑๖๐ ช่ัวโมง ศกึ ษา ฝึกทกั ษะการอ่านและเขียนตวั เลขฮนิ ดอู ารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนังสอื แสดงจำนวนนับท่ี มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมทั้งเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จาก สถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียนเศษส่วน จำนวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วน จำนวนคละที่กำหนด เปรียบเทียบ เรียงลำดับเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็น พหูคูณของอีกตัวหนึ่ง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมท่ี กำหนด เปรียบเทียบและเรียงลำดับทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง ประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบการ คูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบของจำนวนนับที่มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจำนวนหลายหลัก ๒ จำนวน ทม่ี ผี ลคณู ไม่เกนิ ๖ หลัก และแสดงการหารทีต่ วั ต้งั ไมเ่ กนิ ๖ หลัก ตวั หารไมเ่ กิน ๒ หลัก หาผลลัพธ์ การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของ จำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับ และ ๐ พร้อมทั้งหา คำตอบ หาคำตอบและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบของเศษส่วนและจำนวนคละที่ ตัวส่วนตวั หนึ่งเป็นพหูคูณของอีกตัวหน่ึง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตำแหน่ง และแสดงวิธีหา คำตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบ ๒ ข้นั ตอนของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธี หาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จำแนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม ส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเมื่อกำหนดความ ยาวของดา้ น และใช้ขอ้ มูลจากแผนภมู แิ ท่ง ตารางสองทางในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา รหัสตวั ช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖ ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ค ๓.๑ ป.๔/๑ รวม ๒๒ ตวั ช้ีวดั  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน รหสั วิชา ค๑๕๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลาเรียน ๑๖๐ ช่ัวโมง เขียนเศษสว่ นท่มี ตี ัวส่วนเป็นตวั ประกอบของ ๑๐ หรอื ๑๐๐ หรอื ๑,๐๐๐ ในรปู ทศนิยม แสดงวิธี หาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและ จำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขั้นตอน หา ผลคูณของทศนิยม ทผ่ี ลคณู เปน็ ทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตำแหนง่ หาผลหารท่ีตัวตงั้ เป็นจำนวนนับหรือทศนิยมไม่ เกิน ๓ ตำแหน่ง และตัวหารเปน็ จำนวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธหี าคำตอบของ โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๒ ขั้นตอน และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา รอ้ ยละไม่เกนิ ๒ ข้นั ตอน แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั ความยาว น้ำหนกั ท่ีมกี ารเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูป ทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของ ภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูป สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงท่ี กำหนดให้ จำแนกรูปสเ่ี หลยี่ มโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สรา้ งรูปสี่เหลีย่ มชนดิ ต่าง ๆ เมอ่ื กำหนดความ ยาวของด้านและขนาดของมมุ หรือเมื่อกำหนดความยาวของเส้นทแยงมุม และบอกลกั ษณะของปริซึม ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา และเขียนแผนภูมิแท่งจากข้อมูลที่เป็น จำนวนนับ รหสั ตวั ชี้วดั ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ รวม ๑๙ ตัวชี้วดั  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน รหสั วิชา ค๑๖๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลาเรียน ๑๖๐ ช่ัวโมง ศึกษาตัวประกอบ จำนวนเฉพาะ และตัวประกอบเฉพาะ การแยกตัวประกอบ ห.ร.ม. ค.ร.น. โจทย์ปญั หาเก่ียวกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น. การเปรยี บเทยี บเศษสว่ นและจำนวนคละ การเรยี งลำดับเศษส่วน และจำนวนคละ การบวก การลบเศษส่วนและจำนวนคละ การแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำนวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของเศษส่วน และจำนวนคละ ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม การหารทศนิยมที่ตัวหารและ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนิยม อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน มาตรา ส่วน โจทย์ปัญหาอัตราส่วนและมาตราส่วน โจทย์ปัญหาร้อยละ ชนิดและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม การ สรา้ งรปู สามเหล่ียม สว่ นตา่ ง ๆ ของวงกลม การสร้างวงกลม ความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปสามเหลี่ยม มุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความ ยาวรอบรปู และพนื้ ทข่ี องรูปหลายเหล่ียม ความยาวรอบรปู และพืน้ ท่ีของวงกลม โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความ ยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย และพีระมิด รูปคลี่ของทรงกระบอก กรวย ปริซึม และพีระมิด ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก โจทย์ปัญหา เก่ียวกบั ปริมาตรของรปู เรขาคณิตสามมิตทิ ีป่ ระกอบดว้ ยทรงสีเ่ หลยี่ มมุมฉาก การแกป้ ญั หาเก่ยี วกับแบบรูป และการนำเสนอขอ้ มูล โดยการจดั ประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรยี นไดศ้ ึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการ ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การ ให้เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการทีไ่ ด้ไปใชใ้ นการเรียนรสู้ ิ่งต่าง ๆ และใช้ในชวี ติ ประจำวนั อยา่ งสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์และมีความเช่อื มน่ั ในตนเอง รหสั ตัวช้วี ดั ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑,ป.๖/๑๒ ค ๑.๒ ป.๖/๑ ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ ค ๓.๑ ป.๖/๑ รวม ๒๑ ตัวชว้ี ัด  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ โครงสรา้ งรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวชิ า ค 11101 รายวิชา คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 5.0 หนว่ ยกิต ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 200 ชว่ั โมง สัดสว่ นคะแนน ระหวา่ งปีการศกึ ษา : ปลายปี = 70 : 30 ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ที่ เรยี นรู้ เรียนรู/้ ตวั ช้ีวดั (ชวั่ โมง) คะแนน 1 จำนวนนบั 1 ถึง ค 1.1 ป.1/1 - บอกจำนวนของสง่ิ ต่าง ๆ ไดจ้ ากการนบั 10 และ 0 ค 1.1 ป.1/2 หนง่ึ สอง สาม สี่ ห้า หก เจด็ แปด เกา้ สบิ 20 5 ค 1.1 ป.1/3 - จำนวน หนง่ึ สอง สาม สี่ หา้ หก เจด็ แปด เก้า สบิ เปน็ จำนวนนบั ที่เพ่มิ ขึ้นทีละหนงึ่ - ถา้ ไม่มสี ่งิ ของอยู่เลยถือวา่ มีจำนวนเปน็ ศนู ย์ - ความสมั พันธ์ของจำนวนแบบส่วนย่อย – ส่วนรวม เปน็ การเขียนแสดงจำนวนทีเ่ ป็น สว่ นรวมในรูปของจำนวน สองจำนวนทเ่ี ปน็ สว่ นย่อย - ตัวเลขฮินดอู ารบิก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตัวเลขไทย ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ตวั หนงั สอื ศูนยห์ นึง่ สอง สาม ส่ี หา้ หก เจด็ แปด เก้า สบิ เปน็ สัญลักษณใ์ ชเ้ ขยี นแสดง จำนวน - ไม่เท่ากนั เท่ากัน มากกว่า น้อยกว่า เป็นคำท่ี ใช้ใน การเปรยี บเทียบจำนวน โดยอาจใชก้ าร จับคู่กันของส่ิงของท่ีจะ นำมาเปรียบเทียบกนั - การเรียงลำดับจำนวนจากมากไปน้อย หรอื จากนอ้ ยไปมาก อาจทำไดโ้ ดยพจิ ารณาจำนวน ท่มี ากทสี่ ุดและน้อยท่ีสุดก่อน แลว้ นำจำนวนท่ี เหลือมาเปรยี บเทียบกัน  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ที่ เรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวช้ีวัด (ช่ัวโมง) คะแนน 2 การบวกจำนวน ค 1.1 ป.1/4 - จำนวนสองจำนวนรวมกัน หาจำนวน สองจำนวนท่ี ค 1.1 ป.1/5 ท้ังหมดไดด้ ว้ ยการนบั เขยี นเปน็ ประโยค 16 4 ผลบวกไม่ สญั ลกั ษณ์การบวกได้เช่น 1 + 2 = 3 เกิน 10 - การหาผลบวกทำได้หลายวิธีได้แก่การวาด รปู - จำนวนใดบวกกบั 0 ผลบวกจะเท่ากบั จำนวนนน้ั - จำนวนเดยี วกันบวกกนั และมีผลบวกไม่เกิน 10 ได้แก่ 1+1 = 2, 2+2 = 4, 3+3 = 6, 4+4 = 8, 5+5 = 10 - จำนวนสองจำนวนที่บวกกันได้10 ได้แก1่ กบั 9, 2 กบั 8, 3 กบั 7, 4 กบั 6, 5 กับ 5, 6 กบั 4, 7 กับ 3, 8 กบั 2, 9 กับ 1, 10 กับ 0, 0 กับ 10 - จำนวนสองจำนวนทบี่ วกกนั และผลบวก เทา่ กัน อาจมไี ด้หลายคู่ เช่น 4 = 0+4, 4= 4+0, 4 = 1+3, 4 = 3+1, 4 = 2+2 - จำนวนสองจำนวนบวกกนั เม่ือสลบั ทกี่ ัน ผลบวกยงั คง เทา่ เดิม - เร่อื งราวทแี่ สดงให้เห็นถงึ การนำจำนวนมา รวมกนั เปน็ สถานการณก์ ารบวก - การแกโ้ จทยป์ ัญหาทำได้โดยอ่านทำความ เข้าใจปัญหา วางแผน วธิ ีคดิ การสร้างโจทย์ ปัญหามีส่วนที่โจทยป์ ญั หา มีส่วนท่โี จทย์บอก และสว่ นที่โจทยถ์ าม ซงึ่ อาจใชก้ าร วาดภาพหา คำตอบ และตรวจสอบความสมเหตสุ มผล  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลำดบั ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ที่ เรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั (ช่วั โมง) คะแนน 3 การลบจำนวน ค 1.1 ป.1/4 สองจำนวนที่ ค 1.1 ป.1/5 - การหาผลลบโดยการเอาออก 8 เอาออก 3 21 5 ผลบวกไมเ่ กนิ 10 เหลือ 5 เขียนเปน็ ประโยคสัญลกั ษณ์ 8 – 3 = 5 อา่ นวา่ แปดลบด้วยสามเท่ากับหา้ 8 เป็นตัวตัง้ 3 เปน็ ตัวลบ 5 เป็นผลลบ “ – ” เรยี กวา่ เคร่ืองหมายลบ และ “ = ” เรียกวา่ เครื่องหมายเทา่ กบั - จำนวนของส่ิงต่างๆ ทั้งหมด เม่อื เอาออกไป จำนวนหนึง่ สามารถหาจำนวนท่ีเหลอื ได้ดว้ ย การลบ - การเปรยี บเทียบจำนวนสองจำนวนวา่ มากกวา่ กนั หรอื น้อยกวา่ กนั เท่าไร ทำได้ด้วย การลบ โดยจำนวนทม่ี ากกวา่ เปน็ ตวั ตงั้ จำนวนทน่ี ้อยกวา่ เป็นตวั ลบ - เมื่อรจู้ ำนวนทั้งหมดท่เี ป็นการรวมของ จำนวนสองจำนวน (ส่วนรวม) และรจู้ ำนวน หน่งึ ในสองจำนวน (ส่วนย่อย) เราสามารถหา อกี จำนวนหนึ่งได้ดว้ ยการลบโดยจำนวนท้ังหมด เป็นตัวตงั้ - จำนวนใดลบด้วยศนู ย์ไดผ้ ลลบเท่ากับ จำนวนน้ัน - ผลบวกของสองจำนวนลบด้วยจำนวนใด จำนวนหนงึ่ ในสองจำนวนน้ัน จะไดผ้ ลลบ เท่ากบั จำนวนท่เี หลือ เช่น 2 + 5 = 7, 7–5=2 - สามารถใช้ความสัมพนั ธ์ของการบวกและ การลบ ในการหาค่าตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค สญั ลกั ษณ์การบวก และประโยคสญั ลกั ษณ์การ ลบ  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ๓๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรียนรู้ เรยี นรู้/ตัวช้วี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน - สถานการณ์ต่อไปนเี้ ปน็ สถานการณก์ ารลบ 4 จำนวนนบั 11 - ค 1.1 ป.1/1 1. แสดงการเอาออกเพ่ือหาจำนวนที่เหลือ 16 4 20 ค 1.1 ป.1/2 2. แสดงการเปรยี บเทียบเพื่อหาว่ามากกวา่ ค 1.1 ป.1/3 หรอื น้อยกวา่ กันอยู่เท่าไร 3. แสดงการหาจำนวนหน่ึง เมอื่ รู้อีกจำนวน หนง่ึ และจำนวนทัง้ หมด - การแก้โจทย์ปญั หาทำได้โดยอา่ นทำความ เข้าใจปญั หา วางแผนวธิ ีคดิ ซ่ึงอาจใชก้ ารวาด ภาพ หาคำตอบและ ตรวจสอบความ สมเหตสุ มผล - การสร้างโจทย์ปญั หา มีส่วนทโี่ จทยบ์ อกและ สว่ นท่ี โจทยถ์ าม - จำนวนนับ 11 ถงึ 20 เป็นจำนวนนับท่ี เพ่ิมขึ้นทลี ะหนึง่ ตามลำดับโดยนบั ต่อจากสบิ - ความสัมพนั ธ์ของจำนวนแบบส่วนย่อย สว่ นรวม เปน็ การเขียนแสดงจำนวนทเี่ ปน็ ส่วนรวมในรปู ของจำนวนสองจำนวนท่เี ปน็ สว่ นย่อย - ตัวเลขฮินดอู ารบิก 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ตัวเลขไทย ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ตวั หนังสือ สบิ เอ็ด สบิ สอง สิบสาม สบิ สส่ี บิ ห้า สิบหก สบิ เจด็ สิบแปด สิบเกา้ ยสี่ บิ เป็น สญั ลักษณใ์ ชเ้ ขียนแสดงจำนวน - ไม่เทา่ กัน เทา่ กัน มากกวา่ น้อยกวา่ เปน็ คำที่ ใชใ้ นการเปรยี บเทยี บจำนวน โดยอาจใชก้ าร จับคูก่ นั ของสิ่งของท่จี ะนำมาเปรียบเทยี บ  ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๖ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดบั ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ที่ เรียนรู้ เรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั (ช่วั โมง) คะแนน - การเรยี งลำดับจำนวนจากมากไปน้อย หรอื 5 การบวก การลบ ค 1.1 ป.1/4 จากน้อยไปมากอาจทำไดโ้ ดยพิจารณาจำนวนท่ี 20 5 จำนวนนับไมเ่ กนิ ค 1.1 ป.1/5 มากท่ีสดุ และจำนวนที่น้อยที่สดุ กอ่ นแล้วนำ 20 จำนวนท่เี หลือเปรียบเทียบกัน - การบวกจำนวนสองจำนวน สามารถหา ผลบวก โดยใช้การนับต่อ - การหาผลบวกโดยใช้การนับต่อ ถา้ นับต่อ จากจำนวนท่ี มากกว่า จะทำใหห้ าผลบวกได้ เร็วกวา่ - การบวกจำนวนสองจำนวน สามารถหา ผลบวก โดยใช้เส้นจำนวน การหาผลบวกของ จำนวนสองจำนวน อาจใช้ผลบวกของจำนวน เดียวกันสองจำนวนช่วยในการหาผลบวก - การหาผลบวกของจำนวนสองจำนวน อาจ ใช้การทำให้ครบสบิ - การบวกจำนวนสามจำนวนจะบวกสอง จำนวนใดก่อนกไ็ ด้แล้วบวกจำนวนท่เี หลอื ผลบวกเทา่ กัน - ถา้ มสี องจำนวนใดท่ีบวกครบสบิ ใหบ้ วกสอง จำนวนนนั้ ก่อน แลว้ บวกจำนวนทเ่ี หลอื - สามารถหาผลลบโดยใชก้ ารวาดรูป ใช้เสน้ จำนวนการนับตอ่ โดยนบั ตอ่ จากตัวลบ ไปถงึ ตัวตง้ั จำนวนครั้งในการนบั ต่อเป็นผลลบ - การลบจำนวนสามจำนวน สามารถนำตัวตง้ั ลบด้วย ตัวลบ 1 หรือตัวลบ 2 ก่อนแลว้ ลบ ดว้ ยตัวลบทเ่ี หลอื อาจใช้การนับต่อ หรอื เส้น จำนวน หรอื ความสัมพนั ธ์ของ การบวกและ การลบชว่ ยในการหาคา่ ของตัวไม่ทราบค่า ใน  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๗ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ที่ เรยี นรู้ เรียนรู/้ ตวั ชว้ี ัด (ช่วั โมง) คะแนน ประโยคสญั ลักษณ์การบวก และประโยค 6 แผนภมู ิรปู ภาพ ค 3.1 ป.1/1 สัญลกั ษณ์การลบ 53 - การแก้โจทยป์ ัญหาทำไดโ้ ดย อ่านทำความ 7 การวัดนำ้ หนกั ค 2.1 ป.1/2 เขา้ ใจปัญหา วางแผนวธิ ีคิด ซึ่งอาจใช้การวาด 13 4 รปู หาคำตอบและตรวจสอบความ สมเหตสุ มผล - การสรา้ งโจทยป์ ัญหา ตอ้ งมีทง้ั ส่วนทโี่ จทย์ บอกและ สว่ นท่ีโจทย์ถาม - รปู ภาพเปน็ การใชร้ ปู ภาพแสดงจeนวนของส่งิ ต่าง ๆ - สว่ นทา้ ยของแผนภมู คิ ือข้อกำหนดของ แผนภมู ริ ปู ภาพ รูปภาพทีแ่ ทนส่งิ เดียวกันต้อง เป็นรปู ภาพทีเ่ หมือนกัน และมขี นาดเท่ากัน - รอยขดี | ใช้ในการบันทกึ ขอ้ มูล แลว้ นำ ข้อมลู มาแสดงเป็นแผนภูมิรูปภาพโดยรปู ภาพ 1 รูป แทน รอยขีด 1 ขีด - สิ่งของสองสิง่ ทอี่ ยู่บนเครอ่ื งช่ังสองแขน อย่างง่าย สงิ่ ใดอยู่ในระดบั ตำ่ กวา่ สงิ่ น้นั จะ หนกั กว่า หรอื สิ่งใดอยู่ ในระดบั สงู กวา่ สิง่ นน้ั จะเบากวา่ และ ถา้ สง่ิ ของสองสิง่ น้นั อยู่ใน ระดบั เดยี วกัน ส่งิ ของสองสิง่ นนั้ จะหนกั เท่ากนั - การใชเ้ ครือ่ งช่งั สปริงเมื่อช่งั สง่ิ ของจะอา่ น นำ้ หนักโดย ดูตวั เลขทเี่ ขม็ ชี้ก่อนช่ังส่ิงของ เข็มช้นี ้ำหนกั อยทู่ ี่ตวั เลข 0 น้ำหนัก 1 กโิ ลกรมั เทา่ กับ 10 ขีด การบอกน้ำหนักของ ส่งิ ของ ต่างๆ อาจบอกเปน็ ขดี หรอื กิโลกรัม - การคาดคะเนน้ำหนักของส่ิงของตา่ ง ๆ  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๘ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดับ ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชวี้ ดั (ช่วั โมง) คะแนน 8 รูปเรขาคณติ ค 1.2 ป.1/1 เปน็ การบอกนำ้ หนักโดยไม่ใช้เครือ่ งช่ัง แต่อาจ ค 2.2 ป.1/1 บอกน้ำหนักไดโ้ ดยเทียบกบั น้ำหนัก 1 กิโลกรัม หรือ 2 กโิ ลกรัม - การเปรยี บเทียบน้ำหนักของสิ่งของ 2 ส่งิ ท่ีมี หนว่ ยเป็น กิโลกรัมเปน็ การบอกวา่ ส่งิ ใดหนัก เทา่ กนั หนักกว่า หรอื เบากว่ากนั อยู่เท่าใด - การเปรยี บเทียบนำ้ หนกั ของสงิ่ ของ 2 สง่ิ ท่ีมี หน่วยเปน็ ขดี เปน็ การบอกนำ้ หนักท่หี นักกว่า เบากวา่ หรือเทา่ กนั - การแกป้ ัญหาทำไดโ้ ดย อา่ นทำความเข้าใจ ปัญหา วางแผน แกป้ ญั หาซึ่งอาจใชก้ ารวาดรูป หาคำตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผล - รปู สามเหล่ยี ม รูปส่ีเหล่ียม วงกลม และวงรี 12 5 เปน็ รูปเรขาคณิตสองมติ ิ - ทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ - ลกั ษณะของรปู สามเหลยี่ ม ม3ี ด้าน 3 มุม รูปสี่เหลี่ยม ม4ี ดา้ น 4 มุม วงกลมและวงรีไม่มี ด้าน ไม่มีมุม - การเขยี นรปู สามเหล่ียม รปู ส่ีเหลย่ี ม วงกลม และวงรโี ดยใช้แบบของรูป และใชส้ ิ่งของรอบๆ ตัวมาเปน็ แบบแบบรปู ซ้ำของรปู เรขาคณติ และ รปู อ่ืน ๆ - แบบรูปซ้ำของรูปเรขาคณติ และรปู อ่ืน ๆ เป็นการเรียง รปู เรขาคณติ หรือรปู อื่น ๆ เป็น ชุดทซ่ี ้ำไปเร่ือย ๆ โดยชุดที่ซำ้ ในแบบรูปอาจ เกย่ี วกบั รูปรา่ ง ขนาด หรือสี - การหารูปทหี่ ายไปในแบบรูปซำ้ ของรูป  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลำดบั ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวชวี้ ดั (ช่ัวโมง) คะแนน เรขาคณิตและ รูปอ่ืน ๆ จะต้องหาชดุ ทซ่ี ้ำของ 9 จำนวนนับ 21 ค 1.1 ป.1/1 แบบรปู ก่อน 19 6 ถงึ ค 1.1 ป.1/2 - การสรา้ งแบบรูปซำ้ ของรปู เรขาคณติ และรปู 100 ค 1.1 ป.1/3 อ่นื ๆ อาจสร้างได3้ ลักษณะ คอื แบบรปู ซ้ำท่ี ค 1.2 ป.1/1 เกยี่ วกบั สีแบบรปู ซ้ำท่เี กย่ี วกับ รปู ร่าง และ แบบรูปซำ้ ทเ่ี ก่ยี วกบั ขนาด - จำนวนนบั 21 ถึง 100 เปน็ จำนวนนบั ท่ี เพ่ิมขึ้นทีละ 1 ตามลำดบั - การเขยี นแสดงจำนวน สามารถเขยี นเปน็ ตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย หรอื ตัวหนงั สือ - การเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย เปน็ การเขยี นในรูปการบวกค่าของ เลขโดดใน หลกั ต่าง ๆ ของจำนวนน้ัน - การเปรยี บเทียบจำนวนสองจำนวน ถา้ จำนวนหลกั ไม่เทา่ กัน จำนวนทมี่ จี ำนวนหลัก มากกว่า จะมากกว่าอีกจำนวนหน่ึง ถา้ จำนวน หลกั เท่ากัน ให้พจิ ารณาเลขโดดใน หลกั สิบก่อน เลขโดดในหลักสิบของ จำนวนใด มากกวา่ จำนวนนน้ั จะมากกวา่ ถ้าเลขโดดใน หลกั สิบเทา่ กนั ให้พจิ ารณา เลขโดดในหลัก หนว่ ย - การเรยี งลำดับจำนวนจากมากไปน้อย หรอื จากนอ้ ยไปมาก อาจทำได้โดยพิจารณา จำนวนท่มี ากที่สดุ และน้อยท่ีสุดก่อน จากนั้น นำจำนวนท่ีเหลือมาเปรียบเทียบกัน แล้วนำ จำนวนมาเรียงตามลำดับ - แบบรูปของจำนวนที่เพ่ิมขน้ึ ทีละ 1 ทลี ะ 10 เปน็ ชดุ ของจำนวนที่มคี วามสัมพนั ธ์กัน อย่าง ตอ่ เนื่องในลกั ษณะของการเพ่ิมขนึ้ ทลี ะ 1 ทีละ  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๐ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดับ ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน 10 เช่น 10 11 12 13 14 หรือ 10 20 10 การวัดความยาว ค 2.1 ป.1/1 30 40 50 ตามลำดับ 13 4 - แบบรปู ของจำนวนท่ีลดลงทีละ 1 ทลี ะ 10 11 การบวกจำนวนท่ี ค 1.1 ป.1/4 เป็นชดุ ของจำนวนท่ีมีความสัมพันธก์ นั อย่าง 15 5 มีผลบวกไมเ่ กนิ ตอ่ เนื่องในลักษณะของการลดลงทลี ะ 1 ทลี ะ 100 10 เช่น 30 29 28 27 26 95 หรือ 85 75 65 55 ตามลำดับ - ยาวกว่า สน้ั กว่า สงู กวา่ เต้ียกวา่ เท่ากัน ยาวท่ีสดุ สนั้ ท่ีสดุ สงู ทส่ี ุด เตีย้ ทส่ี ุด เป็นคำทีใ่ ช้ ในการเปรยี บเทียบความยาวของส่งิ ตา่ ง ๆ - การเปรยี บเทียบความยาวต้องวางใหป้ ลาย ขา้ งหน่ึงเสมอกัน แล้วดทู ี่ปลายอกี ข้างหน่ึง - เซนติเมตร เมตร เปน็ หนว่ ยมาตรฐานท่ใี ช้ บอกความยาว ความสงู ของสิ่งต่าง ๆ - การเปรียบเทยี บความยาวสามารถทำได้โดย นำความยาว ในหน่วยเดยี วกันมาเปรียบเทียบ กนั - การแก้โจทย์ปญั หาสามารถทำไดโ้ ดยอ่าน และทำความเข้าใจ วางแผนวิธีคิด โดยอาจใช้ การวาดภาพ หาคำตอบและตรวจสอบ ความ สมเหตสุ มผล - การบวกเปน็ การนับรวมจำนวนสง่ิ ต่าง ๆ ตั้งแตส่ องกลมุ่ ขนึ้ ไป - การบวกจำนวนสองหลกั เม่ือสลบั ทกี่ ัน ผลบวกยังคงเทา่ กัน การบวกจำนวนทีม่ ีสอง หลักใช้วธิ บี วกจำนวนทอี่ ยใู่ นหลักเดยี วกนั เข้า ดว้ ยกัน - วธิ ีการบวกเพือ่ ความรวดเรว็ ใชว้ ธิ ีการนบั ตอ่ จากจำนวนที่มากกว่า  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ที่ เรยี นรู้ เรียนร้/ู ตวั ชวี้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน 12 การลบจำนวนท่ี มีตัวตัง้ ไม่เกิน ค 1.1 ป.1/4 - สามารถหาผลลบของจำนวนสองจำนวนที่ 15 5 100 ตัวตงั้ มากกว่า 20 แตไ่ มเ่ กนิ 100 ได้หลายวธิ ี 13 โจทยป์ ัญหาการ บวกและโจทย์ เชน่ การนับตอ่ การนับถอยหลัง การ ปัญหาการลบ เปรยี บเทียบแลว้ หาว่าตา่ งกนั อยูเ่ ทา่ ไร การเอา ออกแล้วหาจำนวนที่เหลอื การใชค้ วามสัมพันธ์ ของ จำนวนแบบส่วนยอ่ ย -ส่วนรวม การตง้ั ลบ เปน็ ตน้ ทง้ั นใ้ี น การต้ังลบจะลบในหลักหนว่ ย กอ่ น และต้องเขยี นเลขโดดใน หลักเดยี วกนั ให้ ตรงกนั แลว้ นำจำนวนท่ีอยู่ในหลกั เดียวกันมา ลบกัน ซึง่ ตัวตงั้ ต้องมากกว่าตัวลบ หากตัวต้งั น้อยกวา่ ตวั ลบ ตอ้ งกระจายจากหลกั สบิ มาหลัก หน่วยกอ่ น - สามารถหาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค สัญลกั ษณ์การบวกและประโยคสัญลักษณ์การ ลบอาจใชค้ วามสมั พันธข์ องการบวกและการลบ ในการแปลงประโยคสัญลักษณก์ ารบวกเปน็ ประโยคสัญลกั ษณ์การลบ เพ่ือให้หา คำตอบ งา่ ยขึน้ หรอื อาจแปลงประโยค สัญลักษณ์การลบเป็น ประโยคสัญลกั ษณ์การ บวกเพือ่ ให้หาคำตอบงา่ ยข้ึน ค 1.1 ป.1/5 - สถานการณห์ รอื ปัญหาทห่ี าคำตอบไดด้ ้วย 15 5 การบวก หรือการลบ มีหลากหลายลักษณะให้ ทำความเข้าใจ วเิ คราะห์และหาคำตอบ - การแก้โจทยป์ ญั หาทำได้โดย อ่านทำความ เข้าใจปญั หา วางแผนแกป้ ญั หา หาคำตอบและ ตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของคำตอบ สอบกลางปี - 10 สอบปลายปี - 30 รวมตลอดปี 200 100  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๔๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ โครงสร้างรายวชิ าพน้ื ฐาน รหสั วชิ า ค 12101 รายวิชา คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ จำนวน 5.0 หนว่ ยกติ ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลา 200 ชวั่ โมง สัดส่วนคะแนน ระหว่างปกี ารศกึ ษา : ปลายปี = 70 : 30 ลำดับ ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตัวช้วี ัด (ชวั่ โมง) คะแนน 1 จำนวนนับไม่ ค 1.1 ป.2/1 การแสดงคา่ ของจำนวนไม่เกินหน่ึงพันและ เกิน 1,000 ค 1.1 ป.2/2 ศูนยส์ ามารถแสดงโดยการใช้สญั ลกั ษณ์เปน็ 18 5 และ 0 ค 1.1 ป.2/3 ตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนงั สือ 2 การบวกและ ค 1.1 ป.2/4 การหาผลบวกของจำนวนสองจำนวนให้นำ 30 6 การลบ จำนวนทอี่ ยู่ในหลกั เดยี วกันมาบวกทลี ะหลกั จำนวนไม่เกิน โดยเรมิ่ บวกจากหลักหน่วยไปหลักสบิ ถา้ 1,000 ผลบวกของจำนวนในหลักหน่วยเป็นสองหลัก ต้องทดจำนวนท่คี รบสบิ ไปรวมกบั จำนวนใน หลักสิบ การบวกจำนวนสองจำนวนเมอื่ สลับที่ กันผลบวกยงั คงเท่ากัน การบวกจำนวนสาม จำนวนใชว้ ิธกี ารเดยี วกับการบวกจำนวนสอง จำนวน คือ บวกจำนวนท่ีอยู่ในหลกั เดยี วกนั เข้า ดว้ ยกนั การหาผลลบของจำนวนสองจำนวนให้ นำจำนวนท่อี ย่ใู นหลักเดยี วกันมาลบกนั โดยลบ ในหลักหน่วยกอ่ นแลว้ จึงลบในหลกั สบิ การลบ จำนวนที่มีผลลบและตัวตัง้ ไม่เกิน 1000 ถา้ จำนวนในหลักหนว่ ยของตัวตั้งน้อยกวา่ จำนวน ในหลกั หนว่ ยของตวั ลบให้กระจายตัวตัง้ ออกมา 1 สิบ แลว้ นำมารวมกับจำนวนในหลกั หนว่ ย ของตวั ตง้ั ผลลบมีความสัมพันธก์ บั การบวกคือ ผลลบของจำนวนสองจำนวนใดๆ เมอื่ บวกกับ ตัวลบจะเทา่ กับตวั ตง้ั  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๔๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดบั ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ท่ี เรยี นรู้ เรียนร้/ู ตวั ช้ีวดั (ชว่ั โมง) คะแนน 3 การวดั ความ ค 2.1 ป.2/2 เมตร เซนติเมตร เปน็ หนว่ ยมาตรฐานทีใ่ ช้บอก ยาว ค 2.1 ป.2/3 ความยาว ความสูง และระยะทาง และการ 17 5 แกป้ ญั หาเกีย่ วกบั การวดั ความยาว สามารถทำ 4 การช่ัง ค 2.1 ป.2/4 ได้หลายวิธี 19 5 ค 2.1 ป.2/5 กิโลกรมั และขีด เป็นหน่วยมาตรฐานทใี่ ช้บอก 5 การคณู น้ำหนัก และการแก้ปัญหาการชงั่ สามารถทำได้ 23 7 ค 1.1 ป.2/5 หลายวิธี การบวกจำนวนท่เี ท่ากนั หลาย ๆ จำนวนเขยี น แสดงไดด้ ้วยการคณู จำนวนสองจำนวน การคูณ จำนวนสองจำนวนเม่อื สลับที่กันผลคูณยังคง เทา่ กนั จำนวนใด ๆ คูณกับ 1 ไดผ้ ลคูณเท่ากบั จำนวนนั้น และจำนวนใด ๆ คูณกับศูนย์ได้ผล คูณเท่ากับศูนย์การเปรียบเทียบการคณู ทำได้ โดยการนำผลคูณของการคณู สองกลุ่มมา เปรียบเทยี บกันโดยใช้สญั ลกั ษณ์> < หรือ = จำนวนสองจำนวนทคี่ ูณกันเมื่อสลับทก่ี ันแลว้ ผลคูณยังคงเท่าเดิมจำนวนใด ๆ คณู กับ 10,20,30,…,90 สามารถหาผลคูณไดโ้ ดยคูณ จำนวนนับกบั 1,2,3,…,9 ตามลำดบั แล้วเตมิ 0 หนึ่งตัวตอ่ ทา้ ย คูณจำนวนทีม่ ีหน่ึงหลักกบั จำนวนทมี่ สี องหลกั ทำไดโ้ ดยการคณู จำนวนในหลักหนว่ ยก่อน ถา้ ผลคณู ในหลักหนว่ ยเป็นเลขสองหลกั ให้ทดไป หลักสบิ โดยวางเลขหลกั หนว่ ยไว้ในหลกั หนว่ ย แลว้ คูณหลักสบิ นำผลคูณในหลกั สบิ รวมกับตัว ทด โจทย์ปญั หาการคูณที่มหี นึ่งหลักกับจำนวน ทีไ่ ม่เกนิ สองหลัก จะต้องวิเคราะหโ์ จทยเ์ พ่ือหา คำตอบพร้อมทง้ั ตระหนักถึงความสมเหตสุ มผลของคำตอบได้  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ๔๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรยี นรู้ เรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน 6 การหาร ค 1.1 ป.2/6 การหารท่ีตวั หารคงท่ีถ้าตัวตั้งมากขนึ้ ผลหารจะ มากข้ึน และถ้าตวั ตัง้ นอ้ ยลง ผลหารจะนอ้ ยลง 22 7 7 เวลา ค 2.1 ป.2/1 ด้วย ผลคูณของสองจำนวนใด ๆ เมอื่ หารดว้ ย จำนวนใดจำนวนหน่ึงในสองจำนวนน้ัน จะได้ 17 5 ๘ การวัด ค 2.1 ป.2/6 ผลลัพธเ์ ท่ากับจำนวนท่ีเหลอื การหารลงตวั ตัว ปรมิ าตร ค 2.2 ป.2/1 ตงั้ ตัวหาร และผลหารมีความสมั พนั ธ์กัน คือ 20 5 ตัวตงั้ เท่ากบั ตัวหารคูณผลหารบวกเศษศูนย์ 10 5 9 รปู เรขาคณติ การหารไม่ลงตัว ตัวตงั้ ตวั หาร ผลหาร และ เศษ มคี วามสัมพันธ์กนั คือ ตัวต้งั เท่ากบั ตวั หารคูณผลหารบวกเศษ นาฬิกาเปน็ เครื่องมือมาตรฐานท่ใี ชบ้ อกเวลา นาฬกิ าท่ีมีเข็มโดยท่วั ไปมีเขม็ สัน้ เขม็ ยาว ตวั เลข และขดี บอกเวลา เข็มส้ันบอกเวลาเป็น ชั่วโมง เข็มยาวบอกเวลาเป็นนาทปี ฏทิ ินเปน็ สิ่ง ที่ใช้บอก ดวู ัน เดือนและปี 1 ปมี ี12 เดอื น และ 365 วัน หรือ 366 วันหนึ่งเดอื นม3ี 0 วนั หรอื 31 วนั สังเกตได้จากคำลงทา้ ยของช่อื เดอื น ยกเว้นเดือนกุมภาพันธ์มี 28 หรอื 29 วัน ลติ รเป็นหน่วยมาตรฐานทใ่ี ชบ้ อกปรมิ าตรหรือ ความจุ และการแก้โจทยป์ ญั หาการตวงสามรถ ทำไดห้ ลายวธิ ี รูปเรขาคณติ สองมิติสามารถบอกลักษณะได้ โดยพจิ ารณาจากจำนวนด้าน จำนวนมมุ หรอื เส้นขอบของรูป และการเขียนรูปสามเหล่ยี ม รปู สีเ่ หล่ยี ม รปู วงกลม รูปวงรี สามารถทำได้ โดยลากเสน้ ไปตามขอบสงิ่ ทีน่ ำมาเป็นแบบ รปู เรขาคณติ สองมิตแิ ละรปู เรขาคณติ สามมติ ิ ตา่ งกัน โดยรูปเรขาคณติ สามมติ ิมีความหนา  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ หน้า ๔๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ท่ี เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน สว่ นรปู เรขาคณิตสองมิติเปน็ เพยี งหนา้ หนึง่ ของ 14 5 รปู เรขาคณิตสามมติ ิ สำหรบั แบบรูปของรูป 10 5 ตา่ ง ๆ สามารถบอกได้หรอื หาได้โดยใช้ - 10 - 30 ความสมั พันธ์ของรูปรา่ ง ขนาดหรือสี 200 100 เปน็ ตัวกำหนด 10 การบวก ลบ ค 1.1 ป.2/4 การตรวจคำตอบของการบวกกับการลบใชก้ าร คณู ค 1.1 ป.2/7 พิจารณาความสัมพันธ์ของจำนวนที่เกิดจาก หารระคน ค 1.1 ป.2/8 การบวกกับการลบ การตรวจสอบคำตอบของ การคูณกับการหารใช้การพิจารณา ความสัมพันธข์ องจำนวนที่เกิดจากการคูณกับ การหาร และในการแก้โจทยป์ ัญหาของจำนวน นับไมเ่ กินหน่ึงพันและศนู ยต์ ้องใชค้ วามรู้เรอ่ื ง การบวก การลบ การคูณ การหาร และ กระบวนการแกโ้ จทย์ปญั หา 11 แผนภูมิ ค 3.1 ป.2/1 การรวบรวมและจำแนกข้อมูล สามารถใช้ รูปภาพ วธิ ีการไดอ้ ย่างหลากหลาย โดยใชค้ วามรู้ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์เทคโนโลยีและใช้ เหตุผลประกอบการตดั สินใจเชือ่ มโยงความรู้ ต่างๆ ในคณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อน่ื ๆ และ นำเสนอข้อมลู โดยการอา่ นการเขยี นแผนภมู ิ และเลือกใชส้ ัญลกั ษณท์ าง คณิตศาสตร์ในการส่ือความหมายได้อยา่ ง ถูกต้อง เหมาะสมและมีความคดิ ริเริ่ม สรา้ งสรรค์ สอบกลางปี สอบปลายปี รวมตลอดปี  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หน้า ๔๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โครงสรา้ งรายวิชาพื้นฐาน รหัสวชิ า ค 13101 รายวชิ า คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 5.0 หน่วยกิต ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 เวลา 200 ช่วั โมง สัดสว่ นคะแนน ระหว่างปีการศึกษา : ปลายปี = 70 : 30 ลำดบั ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั (ชัว่ โมง) คะแนน 1 จำนวนนบั ไม่ ค 1.1 ป.3/1 - จำนวนนบั ท่ีไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 18 5 เกิน 100,000 ค 1.1 ป.3/2 สามารถเขียนและอ่านตวั เลขฮินดูอารบิก และ 0 ค 1.2 ป.3/1 ตัวเลขไทย ตวั หนงั สอื และเขียนจำนวนใน รปู การกระจาย ซง่ึ เปน็ การเขียนตามค่าของ เลขโดดในแต่ละหลกั เปรยี บเทยี บจำนวนที่ เทา่ กันหรือไม่เท่ากัน มากกวา่ หรอื น้อยกวา่ โดยใชเ้ ครือ่ งหมาย = ≠   และ เรยี งลำดบั จำนวนจากน้อยไปมากหรือจาก มากไปน้อย 2 การบวกและ ค 1.1 ป.3/5 - การบวกและการลบจำนวน มวี ิธีการที่ 30 8 การลบจำนวน ค 1.1 ป.3/8 หลากหลายและใช้ทักษะกระบวนการทาง นับไม่เกนิ ค 1.1 ป.3/9 คณติ ศาสตร์ในการหาคำตอบและตรวจสอบ 100,000 และ ความสมเหตสุ มผลของคำตอบ การหาตวั ไม่ 0 ทราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการบวก และการลบ สามารถใช้ความสัมพนั ธข์ องการ บวกและการลบมาชว่ ยในการหาคำตอบ การ ระบุจำนวนที่หายไปของจำนวนทเี่ พ่ิมข้นึ ทลี ะ เท่าๆ กนั ต้องใช้การบวก การระบจุ ำนวนที่ หายไปหรอื จำนวนถดั ไปในแบบรปู ของ จำนวนท่ีลดลงทีละเทา่ ๆ กัน ตอ้ งใช้การลบ สว่ นการแก้โจทย์ปญั หาการบวกและการลบ ต้องวิเคราะหโ์ จทย์ และแสดงวธิ ที ำเพอ่ื หา คำตอบรวมทัง้ ตรวจสอบความสมเหตสุ มผล  ระดบั ประถมศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook