Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย.2563

หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย.2563

Published by KroorachaneChanel, 2021-06-08 08:52:01

Description: หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย.2563

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ หนา้ ๙๗ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ลำดับ ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก (ช.ม.) คะแนน ที่ เรียนรู้ ตวั ช้วี ดั ท 3.1 ทาย หรือเรื่องราวในท้องถิ่น เพลง 11 7 ป.5/1/4 ท 4.1 พื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก การอ่าน ป.5/2/4/6/7 ท 5.1 จับใจความจากสื่อต่างๆวรรณคดีใน ป.5/1/2 บทเรียน บทความ บทโฆษณา 10 คบคนพาล พาล ท 1.1 พาไปหาผดิ ป 5/1/3/4/7 งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ ข่าว ท 2.1 ป.5/1/2/6 และเหตุการณ์ประจำวัน การคัด ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและ ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว อักษรไทย การนำแผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคิดไปพัฒนางานเขียน การเขียนแสดงความรู้สึกและความ คดิ เห็น การจับใจความ และการพูด แสดงความรู้ ความคิดในเรื่องที่ฟัง และดู จากสอื่ ตา่ งๆ การรายงาน เช่น การพูดลำดับขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน การพูดลำดับ เ ห ต ุ ก า ร ณ์ ป ร ะ โ ย ค แ ล ะ ส่วนประกอบของประโยค คำราชา ศัพท์ กาพย์ยานี 11 สำนวนที่เป็นคำ พงั เพยและสุภาษิต วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น นิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรม เพลงพื้นบ้าน วรรณคดีและ วรรณกรรมในบทเรียนและตาม ความสนใจ การอา่ นออกเสยี งและการ บ อ ก ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง บ ท ร ้ อ ย แ ก้ ว และบทร้อยกรอง การอ่านบทร้อย กรองเป็นทำนองเสนา นิทาน  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หน้า ๙๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ลำดบั ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก (ช.ม.) คะแนน ที่ เรยี นรู้ ตวั ชี้วดั ท 3.1 ปริศนาคำทาย หรือเรื่องราวใน 11 7 ป.5/1/4 ท 4.1 ท้องถ่นิ เพลงพ้ืนบา้ น เพลงกลอ่ ม ป.5/2/4/6/7 ท 5.1 เด็ก แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น ป.5/2 จากเรื่องที่อ่าน การอ่านหนังสือ 11 ตระหนักคำ ท 1.1 ปรศิ นา ป 5/1/3/4/7 ตามความสนใจ เช่นหนังสือท่ี ( ผสู้ านตอ่ เจตนา ท 2.1 ปริศนาโพธ์สาม ป.5/1/3/7/8 นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย ตน้ ) ท 3.1 หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนด ร่วมกัน การคัดลายมือตัวบรรจง เต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดตาม รูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การ เขียนสอ่ื สาร เช่น คำขวัญ คำอวยพร คำแนะนำและคำอธิบายแสดง ข้นั ตอน การเขียนแสดงความรู้สึกและ ความคิดเห็น การจับใจความ และ การพูดแสดงความรู้ ความคดิ ในเรอื่ ง ที่ฟังและดู จากสื่อต่างๆ เรื่องเล่า บทคว าม ข่าว และเหตุการณ์ ป ร ะ จ ำ ว ั น โ ฆ ษ ณ า ส ื ่ อ ส่ื อ อิเล็กทรอนิกส์ * ประโยคและ ส่วนประกอบของประโยค คำราชา ศัพท์กาพย์ยานี 11 สำนวนที่เป็น คำพังเพยและสุภาษิต ระบุความรู้และข้อคิดจากการ อ ่ า น ว ร ร ณ ค ด ี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ท่ี สามารถนำไปใช้ในชวี ติ จรงิ การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้วและบท ร้อยกรอง การอ่านบทร้อยกรอง เป็นทำนองเสนาะ นิทาน ปริศนา คำทาย หรือเรื่องราวในท้องถ่ิน  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๓ หน้า ๙๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ลำดับ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั (ช.ม.) คะแนน ที่ เรียนรู้ ตัวช้วี ัด ป.5/3/4/5 เพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก แยก 11 7 ท 4.1 ป.5/1/4/5/6/7 ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ ท 5.1 ป.5/2/4 อ่าน การอ่านหนังสือตามความ 12 เหตกุ ารณ์ในบ้าน ท 1.1 สนใจ เช่น หนังสือที่นักเรียนสนใจ สวน ป 5/1/4/6 ท 2.1 และเหมาะสมกบั วยั ป.5/2/7/8 หนังสือท่คี รแู ละนักเรยี นกำหนด ท 3.1 ป.5/1/3/4 ร่วมกัน การคัดลายมือตัวบรรจง ท 4.1 เต็มบรรทัดและ ครึ่งบรรทัดตาม ป.5/1/6/7 รูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การ นำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดไปพัฒนางานเขียน การ กรอกแบบรายการ การเขียนเรื่อง ตามจินตนาการ การวเิ คราะห์ความ น่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูใน ชีวิตประจำวัน การรายงาน มารยาทในการฟัง การดู และการ พดู ชนดิ ของคำ คำราชาศัพท์ คำที่มาจาก ภาษาต่างประเทศ กาพย์ยานี 11 สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่าน วรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ นำไปใช้ในชีวิตจริง บทอาขยานและ บทร้อยกรองทมี่ คี ณุ ค่า การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้วและบท ร้อยกรอง การอา่ นจับใจความจาก สื่อต่างๆวรรณคดีในบทเรียน บทความ บทโฆษณา งานเขียน ประเภทโน้มน้าวใจ ข่าวและ เหตุการณ์ประจำวันการอ่านงาน เขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ หน้า ๑๐๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ลำดบั ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก (ช.ม.) คะแนน ที่ เรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั ท 5.1 และปฏิบัติตามการเขยี นสื่อสาร เช่น 11 7 ป.5/2/4 คำขวัญ คำอวยพร คำแนะนำ และคำอธิบายแสดงขั้นตอน การ 13 หยาดฟา้ วยั ใส ท 1.1 กรอกแบบรายการ การเขียนเรื่อง ( หยาดฝนชโลม ป 5/1/2/3/4/7 ตามจินตนาการ การจับใจความ ใจ วัยใสวัยสร้าง) ท 2.1 และการพดู แสดงความรู้ ความคิดใน ป.5/2/3/4/8 เรอ่ื งทีฟ่ งั และดู จากส่ือต่างๆ ท 3.1 การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจาก ป.5/3 เรื่องที่ฟังและดูในชีวิตประจำวัน ท 4.1 การรายงาน ชนิดของคำ กาพย์ ป.5/1/2/4/6/7 ยานี 11สำนวนที่เป็นคำพังเพยและ ท 5.1 สุภาษิตระบุความรู้และข้อคิดจาก ป.5/1/2 การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมท่ี สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง ระบุ ความรู้และข้อคิดจากการอ่าน วรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ นำไปใชใ้ นชีวิตจรงิ การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้วและบท ร้อยกรอง การอ่านบทร้อยกรอง เป็นทำนองเสนาะ นิทาน ปริศนาคำทาย หรือ เรื่องราวในท้องถิ่น เพลงพื้นบ้าน เพลงกลอ่ มเด็ก แยกข้อเท็จจริงและ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน การอ่าน หนังสือตามความสนใจ หนังสือที่ นักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย หนังสือทค่ี รูและนักเรียนกำหนด ร่วมกัน การเขียนสอ่ื สาร การนำ แผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดไปพัฒนางานเขียน การ เขียนย่อความจากสื่อต่างๆ การ  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๐๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ลำดับ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั (ช.ม.) คะแนน ที่ เรียนรู้ ตวั ชี้วดั 14 ด้วยไทยล้วน ท 1.1 เขียนเรื่องตามจินตนาการ การ 11 6 หมาย รกั สามัคคี ป 5/3/4/5 วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องท่ี ท 2.1 ฟังและดูในชีวิตประจำวัน ชนิด ป.5/2/6 ของคำ ประโยคและสว่ นประกอบ ท 3.1 ของประโยค คำราชาศัพท์ กาพย์ ป.5/2/3 ยานี 11 สำนวนที่เป็นคำพังเพย ท 4.1 และสุภาษิต วรรณคดีและ ป.5/3/4/7 วรรณกรรม เช่น นิทานพื้นบ้าน ท 5.1 นิทานคติธรรม เพลงพ้ืนบ้าน ป.5/2/4 วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน และตามความสนใจ อธิบายความหมายโดยนยั จากเร่ือง ที่อ่านอย่างหลากหลาย การอ่าน จับใจความจากสื่อต่างๆ วรรณคดี ในบทเรียน บทความ บทโฆษณา งานเขยี นประเภทโนม้ น้าวใจ ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน การเขียนสื่อสาร เชน่ คำขวัญ คำอวยพร คำแนะนำและคำอธิบาย แสดงขัน้ ตอน การเขียนแสดงความรู้สึกและความ คดิ เห็น ตัง้ คำถามและตอบคำถาม เชิงเหตผุ ลจากเร่ืองทฟี่ ังและดู การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจาก เรื่องที่ฟังและดูในชีวิตประจำวัน ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถน่ิ คำราชาศัพท์ สำนวนที่เป็นคำ พงั เพยและสุภาษติ ระบุความรู้และข้อคิดจากการ อ ่ า น ว ร ร ณ ค ด ี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ท่ี สามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หน้า ๑๐๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ลำดับ ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั (ช.ม.) คะแนน ที่ เรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ี 160 15 มคี ณุ ค่า 30 - บทอาขยานตามที่กำหนด 100 - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ สอบกลางปี สอบปลายปี รวม  ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๐๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โครงสร้างรายวชิ าพน้ื ฐาน รหสั วิชา ท16101 กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลาเรียน 160 ช่ัวโมง ลำดบั ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ที่ เรยี นรู้ เรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั (ช.ม.) คะแนน 1 ชมรมคนรกั ท 1.1 การอ่านออกเสียงและการบอก 12 7.5 วรรณคดี ป 6/1/7/8/9 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ ท 2.1 บทร้อยกรอง ประกอบดว้ ย การอา่ น ป.6/1/2/3/6 บทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะการ ท 3.1 อ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนท่ี ป.6/1/3 แผนภูมิ และกราฟ การอ่าน ท 4.1 หนังสือตามความสนใจ เช่น หนังสือ ป.6/2 ที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย ท 5.1 หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน ป.6/4 กำหนดร่วมกันมารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ การเขียนตัวอักษรไทย การเขียน สอื่ สาร การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด การเขียน จดหมายส่วนตวั การพูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจในจุดประสงค์ของเร่ืองท่ี ฟังและดูจากส่ือตา่ งๆ การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ จากการฟงั และดสู ่อื โฆษณา ใช้คำไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและ บุคคล บทอาขยานและบทร้อยกรอง ทีม่ คี ณุ คา่ - บทอาขยานตามทก่ี ำหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หน้า ๑๐๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรียนรู้ เรียนรู/้ ตวั ช้วี ดั (ช.ม.) คะแนน 2 ปญั หาพาย้อนคิด ท 1.1 (ดลู ะครย้อนคิด ป 6/1/3/5 การอ่านออกเสียงและการบอก 12 7.5 เศรษฐีเฒ่าเจ้า ท 2.1 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ 12 7.5 ปญั ญา) ป.6/1/2/3/5 บทรอ้ ยกรอง ประกอบด้วยอ่านเร่ือง ท 3.1 สั้นๆ อย่างหลากหลาย โดยจับ 3 นักสืบทองอนิ ป.6/3/4/6 เวลาแล้วถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ท 4.1 พระบรมราโชวาท สารคดี เรอ่ื งสั้น ป.6/1/2/5 งานเขียนประเภทโน้มน้าว บท ท 5.1 โฆษณา ข่าว และเหตุการณ์สำคัญ ป.6/1/2/3/4 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ ท 1.1 เขียนตัวอักษรไทย การเขียนสื่อสาร ป 6/1/4/5/8/9 การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและ ท 2.1 แผนภาพความคิด การเขียนย่อ ป.6/1/2/3/8/9 ความจากสื่อต่างๆ การวิเคราะห์ ความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูสื่อ โฆษณา การรายงาน มารยาทในการ ฟัง การดู และการพูด ชนิดของคำ คำราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษาถิ่น คำราชาศัพท์ กลอนสุภาพ แสดง ความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือ วรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทาน พื้นบ้านท้องถิ่นตนเอง และนิทาน พื้นบ้านของท้องถิ่นอื่น อธิบาย คุณคา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรม ที่อ่านและนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิต จรงิ บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมี คุณค่า - บทอาขยานตามทก่ี ำหนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ การอ่านออกเสยี งและการบอก ความหมายของบทรอ้ ยแก้ว และบท ร้อยกรอง ประกอบด้วยการอ่านบท ร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ แยก  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หน้า ๑๐๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ลำดบั ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ที่ เรยี นรู้ เรียนรู/้ ตัวชี้วดั (ช.ม.) คะแนน ท 3.1 4 สาระการอ่านกับ ป6./1/3/5/6 ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ี 12 7.5 เร่ืองกลว้ ยๆ ท 4.1 อ่าน พระบรมราโชวาท สารคดี ป.6/1/2/3/4 เรื่องสั้นงานเขียนประเภทโน้มน้าว ท 5.1 บทโฆษณา ข่าว และเหตุการณ์ ป.6/2/3/4 สำคัญ การอ่านหนังสือตามความ สนใจ มารยาทในการอ่าน การคัด ท 1.1 ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั และคร่งึ ป 6/2/3/4/5/ บ ร ร ท ั ด ต า ม ร ู ป แ บ บ ก า ร เ ข ี ย น ตั ว 7/9 อักษรไทย การเขียนสื่อสาร การ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคิด การเขียนเรื่อง ตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มารยาทในการเขียน การพูดแสดง ความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ ของเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆการ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง และดสู ือ่ โฆษณา การพูดโน้มน้าวในสถานการณ์ ต่างๆ มารยาทในการฟัง การดู และ การพูด ชนิดของคำ คำราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษาถิ่น คำที่มาจาก ภาษาต่างประเทศ กลุ่มคำหรือวลี ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยค ซ้อนวรรณคดีและวรรณกรรมใน บทเรียนและตามความสนใจ บท ร้องเล่นในท้องถิ่น นิทานหรือเรื่อง ในท้องถิ่นบทอาขยานและบทร้อย กรองท่มี คี ณุ คา่ การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนอง เสนาะ การอ่านจับใจความจากส่ือ  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๐๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ลำดับ ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ที่ เรียนรู้ เรียนร้/ู ตัวช้วี ดั (ช.ม.) คะแนน (อา่ นปา้ ยได้ สาระ ท 2.1 ต่างๆ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น เร่อื งกล้วยๆ) ป.6/1/2/3/8/9 จากเร่อื งทอ่ี า่ น พระบรมราโชวาท ท 3.1 ป.6/1/2/4/6 สารคดี เรื่องสั้น งานเขียน ท 4.1 ประเภทโน้มน้าว บทโฆษณา ข่าว ป.6/1/2/3/4/5 และเหตุการณ์สำคัญ การอ่าน ท 5.1 ข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ ป.6/1/3/4 และกราฟ มีมารยาทในการเขียน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด 5 การเดินทางของ ท 1.1 และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ 12 7.5 เขยี นตัวอักษรไทย การเขยี นส่อื สาร พลายนอ้ ย ป 6/1/2/3/8 การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคิด การเขียนเรื่อง ท 2.1 ตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มารยาทในการเขียน การพูดแสดง ป.6/1/4/8 ความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ ของเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ ท 3.1 การรายงาน มารยาทในการฟัง การดูและการพูด ชนิดของคำ ใช้ คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและ บุคคล คำทีมาจากภาษาตา่ งประเทศ กลุ่มคำหรือวลี ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน กลอน สุภาพ แสดงความคิดเห็นจาก วรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และ วรรณกรรมที่อ่านและนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง บทอาขยาน และบทร้อยกรองทม่ี คี ุณค่า การอ่านออกเสียงและการ บอกความหมายของบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง ประกอบด้วย การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนอง เสนาะ อ่านเรื่องสั้นๆ อย่าง  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ หน้า ๑๐๗ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ลำดบั ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ที่ เรยี นรู้ เรียนรู/้ ตวั ชี้วดั (ช.ม.) คะแนน ป.6/3/4 หลากหลาย โดยจับเวลาแล้วถาม ท 4.1 เกย่ี วกับเรอื่ งทอ่ี า่ น ป.6/2/3/5 ท 5.1 อ่านการอ่านหนังสอื ตามความ ป.6/2/3/4 สนใจ เช่น หนังสือที่นักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับวัย หนังสืออ่านท่ี 6 เสวนาภาษา ท 1.1 ครูและนักเรียนกำหนดร่วมกัน 12 7.5 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ทนั สมยั ป 6/1/2/7 และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ เขียนตัวอักษรไทย การเขียน (เสวนานาที เพื่อน ท 2.1 เรียงความ การเขียนเรื่องตาม จนิ ตนาการและสร้างสรรค์ ส่ีภาค ป.6/1/2 การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ ภาษาทนั สมัยใน ท 3.1 จากการฟังและดูสื่อโฆษณา การ เทคโนโลย)ี ป.6/5/6 รายงาน การพูดลำดับข้ันตอนการ ปฏิบัติงาน การพูดลำดับเหตุการณ์ คำราชาศพั ท์ ระดับภาษา ภาษาถิ่น คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ กลอนสุภาพเล่านิทานพื้นบ้าน ท้องถิ่นตนเอง และนิทานพื้นบ้าน ท้องถิ่นอื่น อธิบายคุณค่าของ วรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่านและ นำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง บท อาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า บทอาขยานตามที่กำหนด บทร้อย กรองตามความสนใจ การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง ประกอบด้วย การ อ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ การอ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนท่ี แผนภมู ิ และกราฟ การคดั ลายมือ  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๐๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ลำดับ ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ที่ เรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวชี้วดั (ช.ม.) คะแนน ท 4.1 7 กลอนกานท์จาก ป.6/1/2/3/4 ต ั ว บ ร ร จ ง เ ต ็ ม บ ร ร ท ั ด แ ล ะ ค รึ่ ง 11 7 ความฝัน ท 5.1 บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว (กลอนกานท์จาก ป.6/2 อกั ษรไทย บ้าสวน ความฝัน ของขวญั ) ท 1.1 การเขียนสื่อสาร เช่น คำขวัญ ป 6/1/2/5/7/8 คำอวยพร ประกาศ การพูดโน้ม ท 2.1 น้าวในสถานการณ์ต่างๆ เช่น การ ป.6/1/2/3/5/8 เลือกตั้งกรรมการนักเรียน การ ท 3.1 รณรงค์ด้านต่างๆ การโต้วาที ป.6/1/4 มารยาทในการฟัง การดู และการ ท 4.1 พูด ชนิดของคำ คำราชาศัพท์ ป.6/1/2/4/5 ระดับภาษา ภาษาถิ่นคำที่มาจาก ท 5.1 ภาษาต่างประเทศ กลุ่มคำหรือวลี ป.6/1/2/3 ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน เล่านิทานพื้นบ้าน ท้องถิ่นตนเอง และนิทานพื้นบ้าน ของทอ้ งถ่นิ อ่นื วรรณคดีและวรรณกรรม นิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและ ทอ้ งถ่ินอน่ื การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้ว และ บทรอ้ ยกรอง ประกอบด้วย การอ่าน บทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ พระบรมราโชวาท สารคดี เรอ่ื งส้ัน งานเขียนประเภทโน้มน้าว การอ่าน ข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ การอ่านหนังสือตาม ความสนใจ การคัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนสื่อสาร การเขยี นแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิด การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๐๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ลำดับ ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ที่ เรียนรู้ เรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั (ช.ม.) คะแนน 8 อย่าชิงสกุ ก่อนห่าม ท 1.1 การเขียนเรื่องตามจินตนาการและ 11 7 สร้างสรรค์ การพูดแสดงความรู้ ไม่งามดี ป 6/1/2/3/4/8 ความเขา้ ใจในจุดประสงค์ของเรื่องท่ี ฟังและดูจากสื่อต่างๆ การรายงาน ท 2.1 ชนิดของคำ ใช้คำได้เหมาะสมกับ กาลเทศะและบคุ คล กลุ่มคำหรอื วลี ป.6/1/2/4/8 ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน กลอนสภุ าพ วรรณคดี ท 3.1 และวรรณกรรม นิทานพื้นบ้าน ท ้ อ ง ถ ิ ่ น ต น เ อ ง แ ล ะ ท ้ อ ง ถ ิ ่ น อื่ น ป.6/4/5 วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน และตามความสนใจ บทร้องเล่นใน ท 4.1 ทอ้ งถ่ิน วรรณกรรมเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี ป.6/2/6 การอ่านออกเสียงและการบอก ท 5.1 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง ประกอบด้วย การ ป.6/2 อ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ การอ่านจบั ใจความจากสือ่ ตา่ งๆ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจาก เรื่องที่อ่าน การอ่านหนังสือตาม ความสนใจ การคัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ตามรปู แบบการเขียนตวั อักษรไทย การเขียนสื่อสาร การเขียน เรียงความ การเขียนเรื่องตาม จินตนาการและสร้างสรรค์ การ รายงาน การพูดโน้มน้าวใน สถานการณ์ต่างๆ คำราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษาถนิ่ สำนวนทเ่ี ป็น คำพังเพย และสุภาษิต เล่านิทาน พื้นบ้านท้องถิ่นตนเอง และนิทาน  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๑๐ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ลำดบั ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ที่ เรียนรู้ เรยี นรู/้ ตัวชี้วัด (ช.ม.) คะแนน 9 สขุ ภาพกบั ท 1.1 พื้นบ้านของท้องถิ่นอื่น วรรณคดี 11 7 เสยี งเพลง ป 6/1/4/5 (คร้ืนเครงเพลง ท 2.1 และวรรณกรรม นิทานพื้นบ้าน พนื้ บ้าน ป.6/1/2/3 ชอ้ นกลางสรา้ ง ท 3.1 ทอ้ งถ่นิ ตนเองและทอ้ งถน่ิ อื่น สุขภาพ) ป.6/1 การอ่านออกเสียงและการบอก ท 4.1 ป.6/1/2/5 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ ท 5.1 บทรอ้ ยกรองประกอบดว้ ย แยก ป.6/1/2/3 ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ี อ่าน พระบรมราโชวาท สารคดี เรื่องสั้น งานเขียนประเภทโน้มน้าว บทโฆษณา ข่าว และเหตุการณ์ สำคัญ การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ การเขียนตัวอกั ษรไทย การเขียนสื่อสาร เช่น คำขวัญ คำอวยพร ประกาศ การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด* การพูด แสดงความรู้ ความเข้าใจใน จุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดูจาก สื่อต่างๆ ชนิดของคำ คำนาม คำ สรรพนามคำกริยา คำวเิ ศษณ์ คำบุพ บท คำเชือ่ ม คำอทุ าน ภาษาถ่นิ คำราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษา ถ่นิ กลอนสภุ าพ วรรณคดแี ละ วรรณกรรม นทิ านพน้ื บ้านท้องถ่นิ ตนเองและท้องถิน่ อนื่ นทิ านคติ ธรรม เพลงพืน้ บา้ น วรรณคดแี ละ วรรณกรรมในบทเรยี นและตาม ความสนใจ บทรอ้ งเลน่ ในท้องถ่นิ นทิ านหรือเร่ืองในท้องถิน่ เพลง กล่อมเด็ก ขา่ วและเหตุการณใ์ น  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๑๑ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรยี นรู้ เรยี นร้/ู ตัวชี้วดั (ช.ม.) คะแนน 10 ศึกสายเลือด ท 1.1ป ชวี ิตประจำวนั ในทอ้ งถนิ่ และชุมชน 11 7 6/1/2/7/8 วรรณกรรมเก่ียวกบั ศาสนา ท 2.1 ป. ประเพณีพธิ ีกรรม สภุ าษิต คำสอน 6/1/2/3/6 เหตุการณ์ในประวตั ิศาสตร์ ท 3.1 ป. 6/1/4/5 - การอ่านออกเสียงและการบอก ท 4.1 ป. ความหมายของบทร้อยแก้ว และ 6/1/2/5 บทรอ้ ยกรอง ประกอบด้วย ท 5.1 ป.6/1/3 - การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนอง เสนาะ - การอา่ นขอ้ มูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟการอ่านหนังสือ ตามความสนใจการคัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนสื่อสารการเขียนแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิดการ เขยี นจดหมายสว่ นตวั การพูดแสดง ความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ ของเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ การรายงาน การพูดโน้มน้าวใน สถานการณ์ต่างๆชนิดของคำ คำ ราชาศพั ท์ ระดับภาษา ภาษาถน่ิ กลอนสุภาพ วรรณคดีและ วรรณกรรม นิทานพื้นบ้านท้องถิ่น ตนเองและท้องถิ่นอื่น นิทานคติ ธรรม เพลงพื้นบ้าน วรรณคดีและ วรรณกรรมในบทเรียนและตาม ความสนใจ บทร้องเล่นในท้องถิ่น นิทานหรือเรื่องในท้องถิ่น เพลง กล่อมเด็ก ข่าวและเหตุการณ์ใน ชีวิตประจำวันในท้องถิ่นและชุมชน วรรณกรรมเกี่ยวกับศาสนา  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หน้า ๑๑๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ลำดบั ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ที่ เรยี นรู้ เรียนร้/ู ตัวชีว้ ัด (ช.ม.) คะแนน ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คำ สอน 11 เสกสรรภาษาจาก ท 1.1ป 6/1/4/7 - การอ่านออกเสียงและการบอก 11 7 ผาแตม้ ท 2.1 ป. 11 7 (จากผาแต้มสู่ 6/1/2/3/8/9 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ อียิปต์ เสกสรรค์ ท 3.1 ป. บทรอ้ ยกรอง ประกอบด้วย แยก ภาษาโฆษณาจงู ใจ) 6/1/3/4/5 ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ ท 4.1 ป. อา่ น การอ่านขอ้ มลู จากแผนผัง แผน 6/1/2/3 ที่ แผนภมู ิ และกราฟ การคัดลายมือ ท 5.1 ป.6/1 ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึง บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว อักษรไทย การเขียนสื่อสาร การ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคิด การเขียนเรื่อง ต า ม จ ิ น ต น า ก า ร แ ล ะ ส ร ้ า ง ส ร ร ค์ มารยาทในการเขียน การพูดแสดง ความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ ของเร่ืองที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจาก การฟังและดูสื่อโฆษณา การ รายงาน การพูดโน้มน้าวใน สถานการณ์ต่างๆ ชนิดของคำ คำ ราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษาถิ่น คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมท่อี ่าน 12 สมุดมติ รภาพ ท 1.1 การอ่านออกเสียงและการบอก ป 6/1/4/5/8 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ ท 2.1 บทร้อยกรอง แยกข้อเท็จจริงและ ป.6/1/2/5  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๑๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ลำดบั ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ที่ เรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวช้วี ดั (ช.ม.) คะแนน ท 3.1 ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน พระบรม ป.6/1/3/4/6 ราโชวาท สารคดี เรือ่ งสั้น ท 4.1 งานเขียนประเภทโน้มน้าว บท ป.6/1/2/3 โฆษณา ข่าว และเหตุการณส์ ำคัญ ท 5.1 การอ่านหนังสือตามความสนใจ ป.6/1/3 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ 14 จากหลกั นคราสู่ ท 1.1 เขยี นตวั อักษรไทย การเขียนส่ือสาร 11 7 นิทาน ป 6/1/2/3 ประกาศ การเขียนย่อความจากส่ือ (นิทานแสนสนกุ ท 2.1 ต่างๆ การพูดแสดงความรู้ ความ สถาบันหลักนครา) ป.6/1/3/5/8 เข้าใจในจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟัง ท 3.1 และดูจากสื่อต่างๆ การวิเคราะห์ ป.6/1/3/4 ความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูส่ือ โฆษณา การรายงาน มารยาทในการ ฟัง การดู และการพูด ชนิดของคำ คำราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษา ถิ่น คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ วรรณคดีและวรรณกรรม นิทาน พื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและท้องถ่ิน อื่น วรรณคดีและวรรณกรรมใน บทเรียนและตามความสนใจ บทร้อง เล่นในท้องถิ่นนิทานหรือเร่ืองใน ท้องถิ่น เพลงกล่อมเด็ก ข่าวและ เหตุการณ์ในชีวิตประจำวันใน ท้องถิ่นและชุดวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรมสุภาษติ คำสอน เหตกุ ารณใ์ นประวตั ิศาสตร์ การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง ประกอบด้วย การ อ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ การอ่านจบั ใจความจากสอ่ื ตา่ งๆ  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ หน้า ๑๑๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ที่ เรียนรู้ เรยี นร้/ู ตัวชีว้ ดั (ช.ม.) คะแนน ท 4.1 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ป.6/1/2 และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ ท 5.1 เขียน ตัวอักษรไทยการเขียน ป.6/1/3 แผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดการเขียนย่อความจากส่ือ ต่างๆการเขียนเรื่องตามจินตนาการ และสร้างสรรค์ *การพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจ ในจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู จากสื่อต่างๆ การวิเคราะหค์ วาม น ่ า เ ช ื ่ อ ถ ื อ จ า ก ก า ร ฟ ั ง แ ล ะ ด ู ส่ื อ โฆษณา การรายงาน เช่นการพูด ลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน การ พูดลำดับเหตุการณ์ ชนิดของคำ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์ คำบุพบท คำเชื่อม คำ อุทาน ภาษาถิ่น คำราชาศัพท์ ระดับภาษาวรรณคดีและ วรรณกรรมในบทเรียนและตามวาม สนใจบทรอ้ งเลน่ ในทอ้ งถิ่น นิทาน หรือเรื่องในท้องถิ่นเพลงกล่อมเด็ก ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ในท้องถ่นิ และชุมชน สอบกลางปี 15 30 สอบปลายปี 100 รวม 160  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๑๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ อภิธานศพั ท์ กระบวนการเขียน กระบวนการเขียนเป็นการคิดเรื่องที่จะเขียนและรวบรวมความรู้ในการเขียน กระบวนการเขียน มี 5 ขนั้ ดังน้ี 1. การเตรยี มการเขยี น เป็นขั้นเตรยี มพร้อมท่จี ะเขียนโดยเลอื กหัวข้อเรื่องท่ีจะเขียนบนพ้ืนฐาน ของประสบการณ์ กำหนดรูปแบบการเขียน รวบรวมความคิดในการเขียน อาจใช้วิธีการอ่านหนังสือ สนทนา จัดหมวดหมู่ความคิด โดยเขยี นเป็นแผนภาพความคิด จดบันทึกความคดิ ท่ีจะเขียนเป็นรูปหัวข้อ เรือ่ งใหญ่ หวั ข้อย่อย และรายละเอียดคร่าว ๆ 2. การยกร่างข้อเขียน เมอ่ื เตรยี มหวั ขอ้ เร่ืองและความคิดรูปแบบการเขียนแล้ว ให้นำความคิด มาเขียนตามรปู แบบท่ีกำหนดเป็นการยกร่างขอ้ เขยี น โดยคำนงึ ถงึ วา่ จะเขียนใหใ้ ครอ่าน จะใช้ภาษาอย่างไรให้เหมาะสมกับเรื่องและเหมาะกับผู้อื่น จะเริ่มต้นเขียนอย่างไร มีหัวข้อเรื่องอย่างไร ลำดบั ความคดิ อยา่ งไร เชอื่ มโยงความคิดอยา่ งไร 3. การปรับปรุงข้อเขียน เมื่อเขียนยกร่างแล้วอ่านทบทวนเรื่องที่เขียน ปรับปรุงเรื่องที่เขียน เพม่ิ เติมความคดิ ให้สมบรู ณ์ แก้ไขภาษา สำนวนโวหาร นำไปให้เพ่อื นหรือผู้อน่ื อา่ น นำข้อเสนอแนะมาปรับปรงุ อกี คร้ัง 4. การบรรณาธกิ ารกิจ นำขอ้ เขียนท่ีปรบั ปรุงแล้วมาตรวจทานคำผดิ แกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง แล้วอา่ นตรวจทานแกไ้ ขข้อเขยี นอีกครั้ง แก้ไขขอ้ ผิดพลาดทั้งภาษา ความคดิ และการเว้นวรรคตอน 5. การเขียนใหส้ มบรู ณ์ นำเร่ืองทแ่ี กไ้ ขปรบั ปรุงแล้วมาเขียนเรื่องให้สมบรู ณ์ จดั พมิ พ์ วาดรปู ประกอบ เขยี นให้สมบูรณ์ดว้ ยลายมือท่สี วยงามเป็นระเบยี บ เม่อื พิมพ์หรือเขยี นแล้วตรวจทานอีก ครง้ั ให้สมบูรณก์ อ่ นจดั ทำรูปเลม่ กระบวนการคิด การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็นกระบวนการคิด คนที่จะคิดได้ดีต้องเป็นผู้ฟัง ผู้ พูด ผู้อ่าน และผู้เขยี นทีด่ ี บุคคลที่จะคิดได้ดีจะต้องมีความรู้และประสบการณ์พ้ืนฐานในการคิด บุคคล จะมีความสามารถในการรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า จะต้องมี ความรู้และประสบการณ์พื้นฐานที่นำมาช่วยในการคิดทั้งสิ้น การสอนให้คิดควรให้ผู้เรียนรู้จักคัดเลือก ข้อมูล ถ่ายทอด รวบรวม และจำข้อมูลต่าง ๆ สมองของมนุษย์จะเป็นผู้บริโภคข้อมูลข่าวสาร และ สามารถแปลความข้อมูลข่าวสาร และสามารถนำมาใช้อ้างอิง การเปน็ ผู้ฟัง ผพู้ ดู ผอู้ ่าน และผู้เขียนที่ดี จะต้องสอนให้เป็นผู้บริโภคข้อมูลข่าวสารที่ดีและเป็นนกั คิดที่ดีด้วย กระบวนการสอนภาษาจึงต้องสอนให้ ผู้เรียนเป็นผู้รับรู้ข้อมูลข่าวสารและมีทักษะการคิด นำข้อมูลข่าวสารที่ได้จากการฟังและการอ่านนำมาสู่ การฝึกทักษะการคิด การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน มาสอนในรูปแบบบูรณาการทักษะ ตัวอย่างเช่น การเขียนเป็นกระบวนการคิดในการวิเคราะห์ การแยกแยะ การสังเคราะห์ การประเมินค่า การสร้างสรรค์ ผู้เขียนจะนำความรู้และประสบการณ์สู่การคิดและแสดงออกตามความคิดของตนเสมอ ต้องเป็นผอู้ ่านและผฟู้ ังเพ่อื รบั รู้ข่าวสารท่ีจะนำมาวเิ คราะห์และสามารถแสดงทรรศนะได้  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๑๖ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ กระบวนการอา่ น การอ่านเป็นกระบวนการซึ่งผู้อ่านสร้างความหมายหรือพัฒนา การตีความระหว่างการอ่านผู้อ่าน จะต้องรหู้ ัวข้อเร่ือง รู้จุดประสงคข์ องการอ่าน มีความรทู้ างภาษาทใ่ี กล้เคียงกบั ภาษาที่ใช้ในหนังสือท่ีอ่าน โดยใช้ประสบการณเ์ ดิมเปน็ ประสบการณท์ ำความเข้าใจกับเรื่องทีอ่ ่าน กระบวน การอา่ นมดี งั น้ี 1. การเตรยี มการอ่าน ผ้อู า่ นจะต้องอา่ นช่อื เรอ่ื ง หวั ขอ้ ยอ่ ยจากสารบัญเร่อื ง อา่ นคำนำ ให้ทราบจุดมุ่งหมายของหนังสือ ตั้งจุดประสงค์ของการอ่านจะอ่านเพื่อความเพลิดเพลินหรืออ่านเพื่อ หาความรู้ วางแผนการอ่านโดยอ่านหนังสือตอนใดตอนหนึ่งว่าความยากง่ายอย่างไร หนังสือมีความยาก มากน้อยเพียงใด รูปแบบของหนังสอื เปน็ อยา่ งไร เหมาะกบั ผอู้ า่ นประเภทใด เดาความว่า เป็นเร่ืองเก่ยี วกับอะไร เตรียมสมุด ดนิ สอ สำหรบั จดบันทึกข้อความหรือเนอื้ เรอ่ื งทส่ี ำคัญขณะอ่าน 2. การอ่าน ผู้อ่านจะอ่านหนังสือให้ตลอดเล่มหรือเฉพาะตอนทีต่ ้องการอ่าน ขณะอ่านผู้อ่านจะ ใช้ความรจู้ ากการอา่ นคำ ความหมายของคำมาใชใ้ นการอ่าน รวมทงั้ การรจู้ กั แบ่งวรรคตอนด้วย การอา่ น เรว็ จะมีส่วนช่วยให้ผอู้ ่านเข้าใจเร่ืองได้ดีกวา่ ผอู้ ่านชา้ ซงึ่ จะสะกดคำอา่ นหรืออา่ นย้อนไปย้อนมา ผู้อ่านจะ ใชบ้ ริบทหรอื คำแวดล้อมชว่ ยในการตคี วามหมายของคำเพ่อื ทำความเข้าใจเร่ืองที่อา่ น 3. การแสดงความคิดเห็น ผู้อ่านจะจดบันทึกข้อความที่มีความสำคัญ หรือเขียนแสดง ความ คิดเห็น ตีความข้อความที่อ่าน อ่านซ้ำในตอนที่ไม่เข้าใจเพื่อทำความเข้าใจให้ถูกต้องขยายความคิดจาก การอ่าน จับคูก่ ับเพ่อื นสนทนาแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น ตัง้ ข้อสังเกตจากเรอ่ื งท่อี า่ น ถ้าเป็นการอา่ นบทกลอนจะตอ้ งอา่ นทำนองเสนาะดัง ๆ เพ่อื ฟังเสยี งการอา่ นและเกิดจนิ ตนาการ 4. การอา่ นสำรวจ ผู้อ่านจะอา่ นซ้ำโดยเลือกอ่านตอนใดตอนหน่งึ ตรวจสอบคำและภาษา ที่ใช้ สำรวจโครงเรื่องของหนังสือเปรียบเทียบหนังสือที่อ่านกับหนังสือที่เคยอ่าน สำรวจและเชื่อมโยง เหตุการณ์ในเรอ่ื งและการลำดับเรอ่ื ง และสำรวจคำสำคัญที่ใชใ้ นหนงั สือ 5. การขยายความคิด ผู้อ่านจะสะท้อนความเข้าใจในการอ่าน บันทึกข้อคิดเห็น คุณค่าของ เรอื่ ง เช่ือมโยงเรื่องราวในเร่อื งกับชีวติ จริง ความรสู้ กึ จากการอา่ น จดั ทำโครงงานหลักการอ่าน เช่น วาด ภาพ เขียนบทละคร เขียนบันทึกรายงานการอ่าน อ่านเรื่องอื่น ๆ ที่ผู้เขียนคนเดียวกันแต่ง อ่านเรื่อง เพม่ิ เตมิ เร่ืองที่เก่ยี วโยงกบั เรือ่ งทอ่ี ่าน เพื่อใหไ้ ดค้ วามรู้ท่ชี ดั เจนและกวา้ งขวางขึ้น การเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ การเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการเขียนโดยใช้ความรู้ ประสบการณ์ และจินตนาการในการเขียน เช่น การเขียนเรียงความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย และบทร้อยกรอง การเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ผู้เขียน จะต้องมีความคิดดี มีจินตนาการดี มีคลังคำอย่างหลากหลาย สามารถนำคำมาใช้ในการเขียนตอ้ งใช้ เทคนิคการเขียน และใช้ถอ้ ยคำอย่างสละสลวย  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ หน้า ๑๑๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ การดู การดเู ปน็ การรับสารจากส่ือภาพและเสยี ง และแสดงทรรศนะไดจ้ ากการรบั รูส้ าร ตคี วาม แปลความ วิเคราะห์ และประเมินคุณค่าสารจากสื่อ เช่น การดูโทรทัศน์ การดูคอมพิวเตอร์ การดู ละคร การดูภาพยนตร์ การดูหนังสือการ์ตูน (แม้ไม่มีเสียงแต่มีถ้อยคำอ่านแทนเสียงพูด) ผู้ดูจะต้องรับรู้ สาร จากการดูและนำมาวิเคราะห์ ตีความ และประเมินคุณค่าของสารที่เป็นเนื้อเรื่องโดยใช้หลักการ พิจารณาวรรณคดีหรือการวิเคราะห์วรรณคดีเบื้องต้น เช่น แนวคิดของเรื่อง ฉากที่ประกอบเรื่อง สมเหตุสมผล กิริยาท่าทาง และการแสดงออกของตัวละครมีความสมจริงกับบทบาท โครงเรื่อง เพลง แสง สี เสียง ที่ใช้ประกอบการแสดงให้อารมณ์แก่ผู้ดูสมจริงและสอดคล้องกับยุคสมัยของเหตุการณ์ท่ี จำลองสบู่ ทละคร คุณคา่ ทางจรยิ ธรรม คุณธรรม และคุณคา่ ทางสังคมที่มีอิทธพิ ลต่อผู้ดูหรือผู้ชม ถ้าเป็น การดูข่าวและเหตุการณ์ หรือการอภิปราย การใช้ความรู้หรือเรื่องที่เป็นสารคดี การโฆษณาทางสื่อ จะต้องพิจารณาเนื้อหาสาระว่าสมควรเชื่อถือได้หรือไม่ เป็นการโฆษณาชวนเชื่อหรือไม่ ความคิดสำคัญ และมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้มาก และการดูละครเวที ละครโทรทัศน์ ดูข่าวทางโทรทัศน์จะเป็นประโยชน์ ได้รับความสนกุ สนาน ต้องดูและวิเคราะห์ ประเมนิ ค่า สามารถแสดงทรรศนะของตนได้อย่างมเี หตุผล การตคี วาม การตีความเป็นการใช้ความรู้และประสบการณ์ของผู้อ่านและการใช้บริบท ได้แก่ คำที่แวดล้อม ข้อความ ทำความเข้าใจขอ้ ความหรือกำหนดความหมายของคำให้ถูกต้อง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายว่า การตีความหมาย ชี้หรือกำหนด ความหมาย ใหค้ วามหมายหรืออธิบาย ใชห้ รือปรบั ใหเ้ ข้าใจเจตนา และความมุ่งหมาย เพ่อื ความถูกตอ้ ง การเปลยี่ นแปลงของภาษา ภาษาย่อมมกี ารเปล่ยี นแปลงไปตามกาลเวลา คำคำหนึง่ ในสมัยหน่งึ เขียนอย่างหน่ึง อกี สมัยหนึ่งเขียน อีกอย่างหนึ่ง คำว่า ประเทศ แต่เดิมเขียน ประเทษ คำว่า ปักษ์ใต้ แต่เดิมเขียน ปักใต้ ในปัจจุบัน เขียน ปักษ์ใต้ คำว่า ลุ่มลึก แต่ก่อนเขียน ลุ่มฦก ภาษาจึงมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งความหมายและการ เขียน บางครงั้ คำบางคำ เชน่ คำว่า หลอ่ น เป็นคำสรรพนามแสดงถึงคำพดู สรรพนามบุรุษที่ 3 ท่เี ป็น คำสภุ าพ แต่เด๋ยี วน้ีคำว่า หลอ่ น มีความหมายในเชิงดูแคลน เป็นตน้ การสรา้ งสรรค์ การสร้างสรรค์ คือ การรู้จักเลือกความรู้ ประสบการณ์ที่มีอยู่เดิมมาเป็นพื้นฐานในการสร้าง ความรู้ ความคิดใหม่ หรือสิ่งแปลกใหม่ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิม บุคคลที่จะมี ความสามารถในการสร้างสรรค์จะต้องเป็นบุคคลที่มีความคิดอิสระอยู่เสมอ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มอง โลกในแง่ดี คิดไตร่ตรอง ไม่ตัดสินใจสิ่งใดง่ายๆ การสร้างสรรค์ของมนุษย์จะเกี่ยวเนื่องกันกับความคิ ด การพูด การเขียน และการกระทำเชิงสรา้ งสรรค์ ซ่งึ จะต้องมีการคิดเชิงสร้างสรรคเ์ ป็นพ้ืนฐาน  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๑๘ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ความคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นความคิดที่พัฒนามาจากความรู้และประสบการณ์เดิม ซึ่งเป็น ปัจจยั พ้นื ฐานของการพูด การเขียน และการกระทำเชงิ สรา้ งสรรค์ การพูดและการเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการแสดงออกทางภาษาที่ใช้ภาษาขัดเกลาให้ไพเราะ งดงาม เหมาะสม ถกู ต้องตามเน้อื หาทพ่ี ดู และเขยี น การกระทำเชงิ สร้างสรรค์เป็นการกระทำทไ่ี ม่ซำ้ แบบเดิมและคดิ คน้ ใหมแ่ ปลกไปจากเดมิ และเป็นประโยชน์ทสี่ ูงข้นึ ข้อมูลสารสนเทศ ข้อมูลสารสนเทศ หมายถึง เรื่องราว ข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถส่ือ ความหมายด้วยการพูดบอกเล่า บันทึกเป็นเอกสาร รายงาน หนังสือ แผนที่ แผนภาพ ภาพถ่าย บันทึกด้วยเสียงและภาพ บันทึกด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นการเก็บเรื่องราวต่าง ๆ บันทึกไว้เป็น หลักฐานดว้ ยวธิ ีตา่ ง ๆ ความหมายของคำ คำท่ีใช้ในการติดตอ่ ส่อื สารมีความหมายแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คอื 1. ความหมายโดยตรง เปน็ ความหมายทใี่ ช้พูดจากันตรงตามความหมาย คำหนงึ่ ๆ นน้ั อาจมี ความหมายได้หลายความหมาย เช่น คำว่า กา อาจมีความหมายถึง ภาชนะใส่น้ำ หรืออาจหมายถึง นกชนิดหนึ่ง ตัวสดี ำ ร้อง กา กา เป็นความหมายโดยตรง 2. ความหมายแฝง คำอาจมีความหมายแฝงเพิ่มจากความหมายโดยตรง มักเป็นความหมาย เกี่ยวกับความรู้สึก เช่น คำว่า ขี้เหนียว กับ ประหยัด หมายถึง ไม่ใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย เป็น ความหมายตรงแตค่ วามรูส้ กึ ต่างกนั ประหยดั เป็นสง่ิ ดแี ตข่ เ้ี หนยี วเปน็ สิ่งไม่ดี 3. ความหมายในบริบท คำบางคำมีความหมายตรงเมื่อร่วมกับคำอื่นจะมีความหมายเพิ่มเติม กว้างขึ้นหรือแคบลงได้ เช่น คำว่า ดี เด็กดี หมายถึง ว่านอนสอนง่าย เสียงดี หมายถึง ไพเราะ ดินสอดี หมายถงึ เขียนได้ดี สุขภาพดี หมายถึง ไม่มีโรค ความหมายบริบทเป็นความหมายเช่นเดียวกับ ความหมายแฝง คุณค่าของงานประพนั ธ์ เมื่อผู้อ่านอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรมแล้วจะต้องประเมินงานประพันธ์ ให้เห็นคุณค่าของงาน ประพันธ์ ทำให้ผู้อ่านอ่านอย่างสนุก และได้รับประโยชน์จาการอ่านงานประพันธ์ คุณค่าของงาน ประพนั ธแ์ บ่งได้เปน็ 2 ประการ คอื 1. คุณค่าดา้ นวรรณศลิ ป์ ถ้าอ่านบทร้อยกรองก็จะพจิ ารณากลวิธกี ารแต่ง การเลอื กเฟ้นถ้อยคำ มาใช้ได้ไพเราะ มีความคิดสร้างสรรค์ และให้ความสะเทือนอารมณ์ ถ้าเป็นบทร้อยแก้วประเภทสารคดี รูปแบบการเขียนจะเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง วิธีการนำเสนอน่าสนใจ เนื้อหามีความถูกต้อง ใช้ภาษา สละสลวยชัดเจน การนำเสนอมีความคดิ สร้างสรรค์ ถา้ เปน็ ร้อยแก้วประเภทบันเทิงคดี องค์ประกอบของ  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ หน้า ๑๑๙ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ เรื่องไม่ว่าเรื่องสั้น นวนิยาย นิทาน จะมีแก่นเรื่อง โครงเรื่อง ตัวละครมีความสัมพันธ์กัน กลวิธีการ แต่งแปลกใหม่น่าสนใจ ปมขัดแย้งในการแต่งสร้างความสะเทือนอารมณ์ การใช้ถ้อยคำสร้างภาพได้ ชดั เจน คำพูดในเรื่องเหมาะสมกบั บุคลิกของตัวละครมีความคิดสร้างสรรค์เกยี่ วกับชวี ติ และสงั คม 2. คุณค่าด้านสังคม เป็นคุณค่าทางด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ ชีวิต ความเปน็ อยขู่ องมนษุ ย์ และคณุ คา่ ทางจรยิ ธรรม คณุ คา่ ด้านสงั คม เป็นคุณค่าท่ีผอู้ า่ นจะเขา้ ใจชวี ิต ทง้ั ในโลกทัศน์และชวี ทัศน์ เข้าใจการดำเนนิ ชีวิตและเข้าใจเพ่ือนมนุษย์ดีขึ้น เนื้อหาย่อมเก่ียวข้องกับการ ชว่ ยจรรโลงใจแก่ผู้อา่ น ช่วยพัฒนาสังคม ชว่ ยอนุรกั ษ์สิ่งมคี ุณคา่ ของชาติบ้านเมอื ง และสนับสนุนค่านยิ ม อนั ดงี าม โครงงาน โครงงานเป็นการจัดการเรียนรวู้ ิธีหนึ่งทส่ี ่งเสริมให้ผ้เู รยี นเรียนดว้ ยการค้นคว้า ลงมอื ปฏิบัติจริง ใน ลักษณะของการสำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น ผู้เรียนจะรวบรวมข้อมูล นำมาวิเคราะห์ ทดสอบเพ่อื แก้ปัญหาข้องใจ ผเู้ รยี นจะนำความรูจ้ ากชัน้ เรียนมาบูรณาการในการแก้ปัญหา คน้ หาคำตอบ เป็นกระบวนการค้นพบนำไปสู่การเรียนรู้ ผู้เรียนจะเกิดทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการจัดการ ผ้สู อนจะเขา้ ใจผู้เรยี น เห็นรูปแบบการเรียนรู้ การคดิ วธิ ีการทำงานของผู้เรียน จากการสงั เกตการทำงาน ของผูเ้ รยี น การเรียนแบบโครงงานเป็นการเรียนแบบศึกษาค้นคว้าวิธีการหนึ่ง แต่เป็นการศึกษาค้นคว้าที่ใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนมีเหตุผล สรุป เรื่องราวอย่างมีกฎเกณฑ์ ทำงานอย่างมีระบบ การเรียนแบบโครงงานไม่ใช่การศึกษาค้นคว้าจัดทำ รายงานเพยี งอยา่ งเดียว ต้องมกี ารวเิ คราะหข์ ้อมูลและมีการสรปุ ผล ทกั ษะการสอื่ สาร ทักษะการสื่อสาร ได้แก่ ทักษะการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน ซึ่งเป็นเครื่องมือของ การส่งสารและการรับสาร การส่งสาร ได้แก่ การส่งความรู้ ความเชื่อ ความคิด ความรู้สึกด้วยการพูด และการเขียน สว่ นการรบั สาร ไดแ้ ก่ การรบั ความรู้ ความเช่อื ความคดิ ด้วยการอ่านและการฟัง การ ฝึกทักษะการสื่อสารจึงเปน็ การฝึกทักษะการพดู การฟัง การอา่ น และการเขยี น ใหส้ ามารถรับสารและ สง่ สารอยา่ งมีประสิทธิภาพ ธรรมชาตขิ องภาษา ธรรมชาติของภาษาเป็นคุณสมบัติของภาษาที่สำคัญ มีคุณสมบัติพอสรุปได้ คือ ประการที่หน่ึง ทุกภาษาจะประกอบดว้ ยเสยี งและความหมาย โดยมีระเบยี บแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ในการใช้ อย่างเป็นระบบ ประการที่สอง ภาษามีพลังในการงอกงามมิรู้สิ้นสุด หมายถึง มนุษย์สามารถใช้ภาษา สื่อความหมายได้ โดยไม่สิ้นสุด ประการที่สาม ภาษาเป็นเรื่องของการใช้สัญลักษณ์ร่วมกันหรือสมมติร่วมกัน และมีการ รับรู้สัญลักษณ์หรอื สมมติร่วมกัน เพื่อสร้างความเข้าใจตรงกัน ประการท่ีสี่ ภาษาสามารถใช้ภาษาพูดใน  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ หน้า ๑๒๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ การติดต่อสื่อสาร ไม่จำกัดเพศของผู้ส่งสาร ไม่ว่าหญิง ชาย เด็ก ผู้ใหญ่ สามารถผลัดกันในการส่งสาร และรบั สารได้ ประการท่หี ้า ภาษาพูดย่อมใชไ้ ด้ ทง้ั ในปจั จุบนั อดตี และอนาคต ไม่จำกดั เวลาและสถานที่ ประการที่หก ภาษาเปน็ เครื่องมอื การถ่ายทอด วัฒนธรรม และวชิ าความรู้นานาประการ ทำให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมและ การสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ แนวคดิ ในวรรณกรรม แนวคิดในวรรณกรรมหรือแนวเรื่องในวรรณกรรมเป็นความคิดสำคัญในการผูกเรื่องให้ ดำเนิน เรื่องไปตามแนวคิด หรือเป็นความคิดท่ีสอดแทรกในเรื่องใหญ่ แนวคิดย่อมเกี่ยวข้องกับมนุษย์และสังคม เป็นสารที่ผูเ้ ขยี นส่งให้ผอู้ า่ น เชน่ ความดีย่อมชนะความช่ัว ทำดไี ด้ดีทำชว่ั ได้ช่ัว ความยุติธรรมทำให้โลกสันติสุข คนเราพ้นความตายไปไม่ได้ เป็นต้น ฉะนั้นแนวคิดเป็นสารที่ผู้เขียน ตอ้ งการส่งใหผ้ ูอ้ นื่ ทราบ เช่น ความดี ความยตุ ธิ รรม ความรกั เป็นตน้ บริบท บริบทเป็นคำที่แวดล้อมข้อความที่อ่าน ผู้อ่านจะใช้ความรู้สึกและประสบการณ์มากำหนด ความหมายหรือความเข้าใจ โดยนำคำแวดล้อมมาช่วยประกอบความรู้และประสบการณ์ เพื่อทำ ความ เข้าใจหรอื ความหมายของคำ พลังของภาษา ภาษาเป็นเครื่องมือในการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึงสามารถเรียนรู้ภาษาเพื่อการดำรงชีวิต เป็นเครื่องมือของการสื่อสารและสามารถพัฒนาภาษาของตนได้ ภาษาช่วยให้คนรู้จักคิดและแสดงออก ของความคิดด้วยการพูด การเขียน และการกระทำซึ่งเป็นผลจากการคิด ถ้าไม่มีภาษา คนจะคิดไม่ได้ ถ้าคนมีภาษาน้อย มีคำศัพท์น้อย ความคิดของคนก็จะแคบไม่กว้างไกล คนที่ใช้ภาษาได้ดีจะมีความคิดดี ด้วย คนจะใช้ความคิดและแสดงออกทางความคิดเป็นภาษา ซึ่งส่งผลไปสู่การกระทำ ผลของการกระทำ สง่ ผลไปสู่ความคดิ ซึง่ เป็นพลงั ของภาษา ภาษาจึงมบี ทบาทสำคัญตอ่ มนุษย์ ชว่ ยให้มนษุ ย์พฒั นาความคิด ช่วยดำรงสังคมให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข มีไมตรีต่อกัน ช่วยเหลือกันด้วยการใช้ภาษา ติดต่อส่ือสารกัน ช่วยใหค้ นปฏิบัตติ นตามกฎเกณฑ์ของสังคม ภาษาชว่ ยใหม้ นษุ ย์เกิดการพัฒนา ใช้ภาษา ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายโต้แย้ง เพื่อนำไปสู่ผลสรุป มนุษย์ใช้ภาษาในการเรียนรู้ จด บันทึกความรู้ แสวงหาความรู้ และช่วยจรรโลงใจ ด้วยการอ่านบทกลอน ร้องเพลง ภาษายังมีพลังในตวั ของมนั เอง เพราะภาพย่อมประกอบด้วยเสียงและความหมาย การใช้ภาษาใช้ถ้อยคำทำให้เกิดความรู้สึกต่อ ผู้รับสาร ให้เกิดความจงเกลียดจงชังหรือเกิด ความชื่นชอบ ความรักย่อมเกิดจากภาษาทั้งสิ้น ที่นำไปสู่ ผลสรุปที่มีประสิทธภิ าพ  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๒๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ภาษาถน่ิ ภาษาถิ่นเป็นภาษาพื้นเมืองหรือภาษาที่ใช้ในท้องถิ่น ซึ่งเป็นภาษาดั้งเดิมของชาวพื้นบ้ านที่ใช้ พูดจากันในหมู่เหลา่ ของตน บางครั้งจะใช้คำที่มคี วามหมายต่างกันไปเฉพาะถิ่น บางครั้งคำที่ใช้พูดจากัน เป็นคำเดียว ความหมายต่างกันแล้วยังใช้สำเนียงที่ต่างกัน จึงมีคำกล่าวที่ว่า “สำเนียงบอกภาษา” สำเนียงจะบอกว่าเป็นภาษาอะไร และผู้พูดเป็นคนถิ่นใด อย่างไรก็ตามภาษาถิ่นในประเทศไทยไม่ว่าจะ เป็นภาษาถิน่ เหนอื ถ่นิ อสี าน ถิ่นใต้ สามารถส่ือสารเขา้ ใจกนั ได้ เพยี งแต่สำเนยี งแตกต่างกันไปเท่านน้ั ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยมาตรฐานหรือบางทเี รยี กว่า ภาษาไทยกลางหรือภาษาราชการ เปน็ ภาษาทใี่ ช้ ส่ือสาร กันทวั่ ประเทศและเปน็ ภาษาที่ใช้ในการเรียนการสอน เพ่ือให้คนไทยสามารถใชภ้ าษาราชการ ในการตดิ ตอ่ สื่อสารสรา้ งความเป็นชาติไทย ภาษาไทยมาตรฐานกค็ ือภาษาท่ีใชก้ นั ในเมืองหลวง ท่ใี ชต้ ิดตอ่ กนั ทัง้ ประเทศ มคี ำและสำเนยี งภาษาทเ่ี ปน็ มาตรฐาน ต้องพูดใหช้ ดั ถ้อยชัดคำได้ ตามมาตรฐานของภาษาไทย ภาษากลางหรือภาษาไทยมาตรฐานมีความสำคัญในการสร้างความเป็น ปึกแผ่น วรรณคดีมกี ารถา่ ยทอดกันมาเปน็ วรรณคดปี ระจำชาติจะใชภ้ าษาท่เี ป็นภาษาไทยมาตรฐานในการ สรา้ งสรรค์ งานประพันธ์ ทำให้วรรณคดีเปน็ เครือ่ งมือในการศึกษาภาษาไทยมาตรฐานได้ ภาษาพูดกับภาษาเขยี น ภาษาพดู เปน็ ภาษาท่ีใชพ้ ดู จากนั ไมเ่ ป็นแบบแผนภาษา ไม่พิถีพิถันในการใช้แต่ใช้สอื่ สาร กนั ได้ดี สร้างความรูส้ ึกทเ่ี ป็นกนั เอง ใช้ในหม่เู พือ่ นฝูง ในครอบครวั และตดิ ตอ่ ส่อื สารกนั อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ การใชภ้ าษาพดู จะใชภ้ าษาทเ่ี ปน็ กันเองและสภุ าพ ขณะเดยี วกันก็คำนึงวา่ พูดกับบคุ คลทม่ี ฐี านะต่างกัน การใชถ้ อ้ ยคำกต็ ่างกันไปดว้ ย ไมค่ ำนึงถงึ หลกั ภาษาหรอื ระเบียบ แบบแผนการใช้ภาษามากนัก ส่วนภาษาเขียนเป็นภาษาท่ใี ช้เครง่ ครดั ตอ่ การใช้ถอ้ ยคำ และคำนงึ ถึงหลักภาษา เพอ่ื ใช้ ในการสื่อสารให้ถูกต้องและใช้ในการเขียนมากกว่าพูด ต้องใช้ถ้อยคำที่สุภาพ เขียนให้เป็นประโยค เลือกใช้ถอ้ ยคำที่เหมาะสมกับสถานการณ์ในการสอื่ สาร เปน็ ภาษาที่ใชใ้ นพิธีการตา่ ง ๆ เชน่ การกลา่ วรายงาน กลา่ วปราศรัย กล่าวสดุดี การประชุมอภิปราย การปาฐกถา จะระมัดระวงั การใช้คำทีไ่ ม่จำเป็นหรือ คำฟุม่ เฟอื ย หรือการเลน่ คำจนกลายเป็นการพูดหรอื เขยี นเลน่ ๆ ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisdom) บางครั้งเรียกว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นกระบวนทัศน์ (Paradigm) ของคนในท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ เพื่อความอยู่รอด แต่ คนในท้องถิ่นจะสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติ เป็นความรู้ ความคิด ที่นำมาใช้ใน ทอ้ งถิ่นของตนเพ่ือการดำรงชวี ิตทเ่ี หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ ผรู้ ู้จึงกลายเป็น ปราชญ์ชาวบ้านทม่ี ีความร้เู ก่ยี วกับภาษา ยารักษาโรคและการดำเนินชวี ิตในหม่บู า้ นอยา่ งสงบสุข  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๒๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ภมู ิปัญญาทางภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษาเป็นความรู้ทางภาษา วรรณกรรมทอ้ งถิ่น บทเพลง สุภาษิต คำพังเพย ในแต่ละท้องถิ่น ที่ได้ใช้ภาษาในการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในกิจกรรมทางสังคมที่ ต่างกัน โดยนำภูมิปัญญาทางภาษาในการสั่งสอนอบรมพิธีการต่าง ๆ การบันเทิงหรือการละเล่น มีการ แต่งเป็นคำประพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนิทาน นิทานปรัมปรา ตำนาน บทเพลง บทร้องเล่น บทเห่ กลอ่ ม บทสวดต่าง ๆ บททำขวัญ เพอ่ื ประโยชน์ทางสังคมและเปน็ ส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมประจำถิ่น ระดับภาษา ภาษาเป็นวฒั นธรรมทค่ี นในสังคมจะตอ้ งใช้ภาษาให้ถกู ตอ้ งกบั สถานการณ์และโอกาส ท่ใี ชภ้ าษา บคุ คลและประชุมชน การใช้ภาษาจงึ แบง่ ออกเปน็ ระดบั ของการใช้ภาษาได้หลายรปู แบบ ตำรา แต่ละเลม่ จะแบ่งระดับภาษาแตกต่างกนั ตามลกั ษณะของสัมพนั ธภาพของบุคคลและสถานการณ์ การแบง่ ระดับภาษาประมวลไดด้ งั นี้ 1. การแบ่งระดับภาษาทเ่ี ป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ 1.1 ภาษาทีไ่ ม่เป็นทางการหรือภาษาที่เป็นแบบแผน เช่น การใชภ้ าษาในการประชุม ในการกล่าวสุนทรพจน์ เป็นตน้ 1.2 ภาษาท่ีไมเ่ ป็นทางการหรือภาษาท่ไี ม่เป็นแบบแผน เช่น การใชภ้ าษาในการสนทนา การ ใช้ภาษาในการเขยี นจดหมายถงึ ผคู้ นุ้ เคย การใช้ภาษาในการเล่าเรื่องหรอื ประสบการณ์ เป็นต้น 2. การแบ่งระดับภาษาทีเ่ ป็นพธิ ีการกับระดับภาษาท่ไี ม่เปน็ พธิ ีการ การแบ่งภาษาแบบนี้ เปน็ การแบง่ ภาษาตามความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคคลเปน็ ระดับ ดังน้ี 2.1 ภาษาระดับพิธีการ เปน็ ภาษาแบบแผน 2.2 ภาษาระดบั กง่ึ พิธีการ เปน็ ภาษาก่งึ แบบแผน 2.3 ภาษาระดบั ที่ไมเ่ ปน็ พิธีการ เป็นภาษาไมเ่ ปน็ แบบแผน 3. การแบ่งระดับภาษาตามสภาพแวดลอ้ ม โดยแบง่ ระดบั ภาษาในระดบั ยอ่ ยเป็น 5 ระดบั คือ 3.1 ภาษาระดับพธิ กี าร เชน่ การกล่าวปราศรยั การกลา่ วเปดิ งาน 3.2 ภาษาระดับทางการ เช่น การรายงาน การอภปิ ราย 3.3 ภาษาระดับกึง่ ทางการ เช่น การประชุมอภิปราย การปาฐกถา 3.4 ภาษาระดบั การสนทนา เช่น การสนทนากบั บคุ คลอยา่ งเปน็ ทางการ 3.5 ภาษาระดบั กนั เอง เช่น การสนทนาพูดคยุ ในหมู่เพอื่ นฝงู ในครอบครัว วจิ ารณญาณ วิจารณญาณ หมายถึง การใช้ความรู้ ความคิด ทำความเข้าใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผล การมีวิจารณญาณต้องอาศัยประสบการณ์ในการพิจารณาตัดสินสารด้วยความรอบคอบ และอย่างชาญฉลาด เป็นเหตุเป็นผล  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๒๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ บรรณานกุ รม สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. กรอบแนวทางการปรับปรงุ หลักสูตรการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๕๐. . ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๕๑. . แนวทางการบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์ การเกษตร, ๒๕๕๑. . แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ ชุมนุม สหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. . หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑.  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๒๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ภาคผนวก  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๒๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ คณะผู้จดั ทำ คณะทป่ี รกึ ษา นายอุดม ภาสดา ศกึ ษานเิ ทศก์สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์เขต ๓ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ๑. นายมติ ร พะงาตุนัด ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. นางสมบตั ิ กิมเลง กรรมการผแู้ ทนผ้ปู กครอง ๓. นายประเสรฐิ ใจกลา้ กรรมการผู้แทนครู ๔. นายสวุ รรณ ไกยฝ้าย กรรมการผแู้ ทนองค์กรชมุ ชน ๕. นายเกยี ว พนั ธ์เสน กรรมการผแู้ ทนองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ๖. พระวิสุทธ์ วิสุทโธ กรรมการผ้แู ทนพระภิกษสุ งฆ์ ๗. นายทวี ปิยไพร กรรมการผู้แทนองค์กรศาสนา ๘. นายคอย สำราญสุข กรรมการผู้แทนศิษย์เกา่ ๙. นายธนพล คณู สว่าง กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิ ๑๐. นายถาวร ผกู ดวง กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ๑๑. นายแถม อิดประโคน กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ ๑๒. นายหอม กายดี กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ ๑๓. นางสภุ าพ หม่ันเท่ยี ง กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ๑๔. นายบัญญตั ิ โสพนิ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ๑๕. นายศกั ดช์ิ ัย เลศิ อรณุ รตั น์ กรรมการและเลขานุการ คณะทำงาน ๑. นายศกั ด์ิชยั เลศิ อรณุ รัตน์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ๒. นายประทีป อรา่ มเรือง รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น กรรมการ กรรมการ ๓. นางลัดดา นสิ สัยดี ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ ๔. นางสาวเออ้ื งนภา คิดสม ครชู ำนาญการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ๕. นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร ครู กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ ๖. นายราชนพ ลำภู ครชู ำนาญการ ๗. นางสาวขนษิ ฐา แกว้ มงุ คุณ ครอู ตั ราจ้าง ๗. นายชนายุทธ ตรงตามคำ ครชู ำนาญการ 8. นางสาวกิตติยา กมิ าวหา ครู  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ หนา้ ๑๒๖ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ผเู้ สนอโครงการ ……………………………………………... (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) ครู/หัวหนา้ กลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ ผู้เหน็ ชอบโครงการ ……………………………………………. (นายศกั ดิ์ชัย เลศิ อรณุ รัตน์) ผ้อู านวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ผู้อนมุ ัตโิ ครงการ ……………………………………………. (นายมิตร พะงาตุนัด) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์  ระดับประถมศกึ ษา