Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาหลักสูตรพลวงพรหม

แผนพัฒนาหลักสูตรพลวงพรหม

Published by KroorachaneChanel, 2022-06-30 13:35:57

Description: แผนพัฒนาหลักสูตรพลวงพรหม

Search

Read the Text Version

แผนการปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สตู ร ก

แผนการปรับปรุงและพัฒนาหลกั สูตร แผนการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ สูก่ ารปฏิบัติ กล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารวชิ าการลำดับที่ 033/2565 ข

แผนการปรับปรุงและพัฒนาหลกั สูตร คำนำ การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับทิศทาง กรอบยุทธศาสตร์ แผนแม่บท และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การ พัฒนาประเทศ พบว่า ประเด็นสำคัญเพื่อแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างแท้จริง คือ การ เตรียมพร้อมดา้ นกำลังคนและการเสริมสร้างศกั ยภาพของประชากรในทุกชว่ งวัย มงุ่ เน้นการยกระดบั คุณภาพ ทนุ มนษุ ยข์ องประเทศ โดยพัฒนาคนใหเ้ หมาะสมตามชว่ งวยั เพ่อื ให้เติบโตอยา่ งมีคุณภาพ การพฒั นา ทักษะที่ สอดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษ ที่ 21 ของ คนใน แต่ละช่วงวัยตามความเหมาะสม การเตรียมความพร้อมของกำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่จะ เปลี่ยนแปลงในอนาคต ตลอดจนการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ดังนั้น การขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเตรียมความพร้อมคนให้สามารถปรับตัวรองรับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่าง เหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการจึงกกำหนดเป็นนโยบายสำคัญและ เร่งด่วนให้มีการปรับปรุงหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งสาระเทคโนโลยีมุ่งเน้นการปรับปรุงเนื้อหา ให้มีความทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความ เจริญก้าวหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ คำนึงถึงการส่งเสริมให้ ผู้เรียน มีทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 เป็นสำคัญเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะเรยี นรู้ สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบอาชพี เม่ือจบ การศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น สามารถแข่งขัน และอยู่ร่วมกับ ประชาคมโลกได้ และ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เพื่อพัฒนาขึ้นบนแนวคิดหลักสำคัญเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย โดยถือว่าการเล่นของเด็กเป็นหัวใจสำคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ภายใต้การจัด สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานของสมอง ผ่านสื่อที่ต้องเอื้อให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่นประสาทสัมผัสทั้ง ห้า โดยครูจำเป็นต้องเข้าใจและยอมรับว่าสังคม และวัฒนธรรมที่แวดล้อมตัวเด็กมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และ การพฒั นาศกั ยภาพและพฒั นาการของเด็กแตล่ ะคน แผนฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้สถานศึกษามีความรูค้ วามเข้าใจการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน บ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2565 และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2565 ไปสู่ กระบวนการจัดทำ และพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศักราช 2565 และหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2565 ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง กลุม่ บรหิ ารงานวชิ การ โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ค

แผนการปรับปรุงและพัฒนาหลกั สูตร สารบญั สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานของโรงเรยี น หน้า สว่ นที่ 2 ที่มาของการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา ส่วนท่ี 3 กระบวนการจัดทำหลกั สตู รสถานศึกษา 1 ส่วนที่ 4 การพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา 10 หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย 13 หลักสูตรสถานศกึ ษา 17 สว่ นท่ี 5 ภาคผนวก 17 21 50 ง

แผนการปรับปรุงและพัฒนาหลกั สตู ร สว่ นที่ 1 บทนำ ข้อมูลพ้นื ฐานโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) โรงเรียนได้ดำเนินงาน ตามแผนกลยทุ ธ์ของสถานศกึ ษาเพอื่ ดำเนินงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตาม มาตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ข้อมลู ทวั่ ไป โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ชื่อ อักษรย่อ ปบพ. วนั ประกาศจดั ตง้ั วนั ท่ี 15 กันยายน พ.ศ. 2475 ตราประจำโรงเรยี น ปรชั ญา วิรเิ ยน ทกุ ขมจฺ เจติ คำขวัญ (บุคคลลว่ งทกุ ข์ไดด้ ว้ ยความเพียร) จดุ เนน้ “เรยี นดี มีวินัย พลานามยั สมบรู ณ์” อตั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา ฉลาดใช้เทคโนโลยี ภาษาดี ดนตรีเดน่ เน้นทกั ษะชีวิต เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา “ย้ิมงาย ไหวส้ วย” ศูนยร์ วมจติ ใจ “สะอาด บรรยากาศร่มรืน่ ” พระพทุ ธพรหมบำรงุ ราษฎร์ 5

แผนการปรับปรุงและพฒั นาหลักสตู ร พระพุทธรปู ประจำโรงเรียน พระพุทธพรหมบำรุงราษฎร์ สปี ระจำโรงเรยี น ขาว-แดง ตงั้ อยเู่ ลขท่ี สังกดั 80 หมู่ 14 ตำบลบ้านพลวง อำเภอ ปราสาท จงั หวดั สุรนิ ทร์ รหสั ไปรษณยี ์ 32140 โทรศพั ท์ 044- 551261 เปดิ สอน สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ระดบั ช้ันอนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ข้อมูลผบู้ รหิ าร 1) ชื่อ-สกุลผู้บริหาร นายศักดิ์ชัย เลิศอรุณรัตน์ วุฒิการศึกษาสูงสุดปริญญาโท สาขาการบริหาร การศึกษา ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ตั้งแต่ 11 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 จนถงึ ปจั จบุ นั 2) รองผู้อำนวยการ ชื่อ-สกุล นางสาวสุรัตยา ลีละพัฒน์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท สาขา การ บริหารการศึกษา ดำรงตำแหนง่ ทโ่ี รงเรียนนต้ี ั้งแต่ 11 ตลุ าคม 2564 จนถงึ ปัจจุบนั วสิ ัยทศั น์(Vision) ของโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) นำองค์กรสู่มาตรฐานสากล เปี่ยมความรู้ คู่คุณธรรม ดำรง ความเปน็ ไทย ใส่ใจหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เคยี งคู่เทคโนโลยี (vision) Banpluang(Prombamrungrat) School aims to reach international standard, to develop students with knowledge and morality, to preserve Thai cultures and to consider the sufficiency economy philosophy together with the use of technology. 6

แผนการปรบั ปรงุ และพัฒนาหลกั สูตร พันธกจิ (MISSION) 1. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานสากล มีสุขภาพกายและ สุขภาพจิตท่สี มบรู ณ์ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม รกั ความเป็นไทย และรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม 2. สง่ เสริมครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ 3. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานสากล สู่ความเป็นเลศิ ทางวิชาการอย่างยั่งยืน 4. พัฒนาสือ่ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพทางการศกึ ษา 5. จัดกระบวนการการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผลท่หี ลากหลายอย่างมีคุณภาพ เอ้ือต่อการ พฒั นาผเู้ รียนอยา่ งรอบดา้ น 6. พฒั นาการบรหิ ารจดั การศกึ ษาอยา่ งมรี ะบบตามหลักธรรมาภิบาล 7. พฒั นาสถานศกึ ษาให้เปน็ แหลง่ เรยี นร้แู ละมีสภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ 8. ประสานความร่วมมือระหวา่ งโรงเรยี น ผ้ปู กครอง ชุมชน และสร้างภาคีเครือขา่ ย เพ่ือสนับสนุน การจดั การศึกษา เป้าหมาย(Goal) 1. ผเู้ รียนเปน็ ผมู้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา เปน็ คนเก่ง คนดี มคี วามสุข มีความรู้ ความสามารถ ตามมาตรฐานสากล มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม บนพื้นฐานความ เปน็ ไทย นอ้ มนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การดำรงชีวติ 2. ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการพฒั นาศักยภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ และสามารถจัดการ เรยี นการสอนตามมาตรฐานสากล 3. โรงเรียนมหี ลักสูตรสถานศึกษาท่ีส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการตามมาตรฐานสากล ตอบสนอง ความถนดั และความต้องการของผเู้ รียน ชมุ ชน และสงั คม 4. โรงเรียนพัฒนาสื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูและ นกั เรยี นใช้ในการจัดการศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพ 5. โรงเรียนมีการจัดกระบวนการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลที่มี คุณภาพ ทเ่ี อ้ือตอ่ การพฒั นานกั เรยี นอยา่ งรอบด้าน 6. โรงเรียนมกี ารบรหิ ารจัดการศกึ ษาอย่างมีระบบตามหลักธรรมาภบิ าล 7. โรงเรยี นพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ และสภาพแวดลอ้ มให้เอ้ือต่อการเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ 8. ชุมชน ผู้ปกครอง และภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาที่มี คุณภาพ 7

แผนการปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สตู ร โครงสร้างการบริหารงานโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) 8

แผนการปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตร นโยบายของโรงเรียน 1. ระบบบริหารการจดั การศึกษาได้มาตรฐานการศกึ ษาชาติ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่เนน้ ผู้เรียน เป็นสำคญั โดยเนน้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ 2. ยกระดบั คุณภาพของผเู้ รยี นใหม้ ีความสามารถตามมาตรฐานการจดั การศึกษา และมีทักษะการ แข่งขนั ทางวิชาการ 3. จดั การศึกษาแบบมีสว่ นร่วมระหว่างบา้ น วัด โรงเรียน แนวทางการดำเนินงานยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา ปฐมวัย/ภาคบังคับ 1. พัฒนาระบบการกำกับตดิ ตาม การตรวจสอบ ประเมิน วจิ ยั พัฒนาและรายงาน 2. สง่ เสรมิ ระบบประกันคณุ ภาพภายใน ตามมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษา 3. ปรับปรุงหลักสูตรและจดั การเรยี นการสอน 4. สง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้ 5. นำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การเรียนการสอน 6. พฒั นาศักยภาพดา้ นการอ่าน การเขียนและคดิ เลข 7. เพ่ิมผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน (คณิต วทิ ย์ ไทย สังคม อังกฤษ) 8. พัฒนาครสู ่คู รูมืออาชพี กลยุทธ์ของโรงเรียน 1. พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนตามมาตรฐานสากล เปน็ ผู้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ตามคุณลักษณะอนั พึง ประสงค์ และดำรงชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. พัฒนาศักยภาพของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 3. พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา กระบวนการจดั การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั ตามมาตรฐานสากล 4. พฒั นาระบบการบรหิ ารการจดั การศึกษาด้วยหลกั ธรรมาภิบาล เน้นกระบวนการมสี ว่ นร่วม 5. พฒั นาอาคารสถานที่ สิง่ แวดลอ้ ม แหล่งเรยี นร้แู ละภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ท่เี อื้อต่อการเรียนรอู้ ย่างมี คุณภาพ 9

แผนการปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู ร เปา้ หมายในการพัฒนาการศึกษา 1. ดา้ นปรมิ าณ • นกั เรยี นที่จบชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ศึกษาตอ่ ในระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษา 100 % • เกณฑเ์ ดก็ ในการศึกษาภาคบงั คับเขา้ เรียนชน้ั ป.1 ได้ครบทุกคน • ลดอัตราการออกกลางคนั ของนกั เรยี น • นักเรยี นมีสุขภาพดี มนี ำ้ หนกั ตามเกณฑ์มาตรฐาน • จดั สง่ บุคลากรในโรงเรียนเข้ารบั การอบรม ทัศนศึกษา ดูงานเพ่อื พัฒนาคุณภาพของ บุคลากร • ลดการขาดเรยี นของนักเรียนทุกชนั้ 2. มาตรการในการจดั การศกึ ษา • โรงเรยี นใชแ้ ผนงานและโครงการปฏิบัตงิ านเป็นเคร่ืองมอื ในการบรหิ ารงาน • โรงเรียนดำเนนิ งานตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร • พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโดยเน้นและส่งเสรมิ กจิ กรรมการอ่านคลอ่ ง เขยี นคล่อง คดิ เลขเร็ว และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ • กิจกรรมการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยพัฒนาทักษะการอ่านคิด วิเคราะห์ • โรงเรยี นดำเนนิ การนเิ ทศ ติดตาม กำกับ การดำเนนิ งานอยา่ งต่อเน่ือง โดยเน้นการ นเิ ทศภายใน • ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนให้สงู ขึน้ เพ่ือสู่ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ 10

แผนการปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สูตร สว่ นที่ 2 ทมี่ าของการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา การพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา 2565 1. พระราโชบายดา้ นการศึกษา ในสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รชั กาลที่ 10 การศกึ ษาต้องสร้างให้คนไทยมคี ุณสมบัติ ดงั น้ี 1. มที ศั นคติท่ีดแี ละถกู ต้อง 2. มพี ้นื ฐานชวี ิตทมี่ น่ั คงเข้มแข็ง 3. มีงานทำ – มอี าชพี 4. เปน็ พลเมอื งดี มรี ะเบียบวินยั 2. พระราชบัญญตั ิมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 หมวด 1 มาตรฐานทางจรยิ ธรรมและประมวลจริยธรรม มาตรา 5 มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจรยิ ธรรม คือ หลักเกณฑก์ ารประพฤตปิ ฏบิ ตั ิอย่างมี คุณธรรมของเจ้าหนา้ ท่ีของรัฐ ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1. ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ 2. ซือ่ สัตย์สุจริต มีจติ สำนึกทดี่ ี และรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี 3. กล้าตัดสนิ ใจและกระทำในสิ่งทถี่ กู ต้องชอบธรรม 4. คดิ ถงึ ประโยชนส์ ่วนรวมมากกว่าประโยชนส์ ว่ นตัว และมจี ติ สาธารณะ 5. มุง่ ผลสัมฤทธิข์ องงาน 6. ปฏิบัตหิ น้าท่ีอย่างเปน็ ธรรมและไม่เลอื กปฏิบัติ 7. ดำรงตนเป็นแบบยา่ งท่ดี ีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ 3. แนวทางการขบั เคล่ือนการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาของโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล 1. ทกั ษะวิชาการ - ความรู้พนื้ ฐาน (รายวชิ าพื้นฐาน) - อา่ นออก เขยี นได้ ลายมือสวย อา่ นคล่อง เขียนคล่อง - อ่านเข้าใจ ตคี วามหมาย จบั ใจความสำคญั ได้ - เขยี นสอ่ื สารแนวคิดของตนเองไดต้ รงประเดน็ - เน้นกระบวนการคิดขนั้ พนื้ ฐาน สกู่ ารคิดขน้ั สงู - เน้นพัฒนาหลักสตู รระดบั ชั้นเรยี นดว้ ย Lesson Study - สง่ เสรมิ ทักษะภาษาต่างประเทศ - มแี ผนการจดั การเรยี นรู้ 11

แผนการปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สูตร 2. ทักษะชวี ิต - ทกั ษะงาน (สรา้ งคนดใี หบ้ ้าน,ชมรมจิตอาสา) - มที กั ษะชวี ติ ทด่ี ีมคี ุณภาพอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ - มคี วามคิดเชิงบวก คิดสร้างสรรค์ - มที กั ษะในการแก้ปัญหาในชีวติ ประจำวนั - มคี วามซอ่ื สัตย์ อดทน กลา้ หาญ - นกั เรียนสามารถว่ายน้ำได้ - นักเรยี นรูจ้ ักการหลกี เลย่ี งยาเสพติด - นกั เรียนไม่มีการทะเลาะววิ าท - นกั เรียนเปน็ คนตรงต่อเวลา - นกั เรียนปฏบิ ัตติ นตามหลักศาสนา 3. ทกั ษะอาชีพ - ความรู้เฉพาะทาง (รายวชิ าเพม่ิ เติม,วชิ าเลอื ก,ชมรม) - ความเปน็ เลศิ เฉพาะทาง เฉพาะดา้ น - พัฒนาโครงงานอาชีพด้วยกระบวนกา ร PBL (Project-based Learning, Problem-based Learning) - มหี ลกั สูตรเสริมทกั ษะอาชีพอยา่ งหลากหลาย หลักสตู ร/สาระท้องถ่ิน เชน่ จักสาน ขนมไทย 4. แนวทางการนำหลกั สตู รต้านทจุ รติ ศกึ ษา (หลกั สตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน) วิชาการป้องกันการทจุ ริต ไปปรับใช้ในการจดั การเรียนการสอนของสถานศกึ ษา 1. เปิดรายวชิ าเพ่ิมเติม 2. บรู ณาการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3. บูรณาการกับการเรยี นการสอนกับกลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่ืนๆ 4. จดั ในกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน 5. จัดเป็นกจิ กรรมเสริมหลักสตู ร 6. บูรณาการกับวถิ ีชวี ติ ในโรงเรยี น 5. แนวทางการนำหลกั สตู รต้านทุจรติ ศึกษา (หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย) วิชาการปอ้ งกันการทจุ ริต ไปปรบั ใช้ในการประสบการณก์ ารเรยี นรู้ของสถานศึกษา 1. เปดิ หน่วยการเรยี นรู้เพ่ิมเตมิ 2. บูรณาการการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้กลุ่มสาระท่ีควรเรียนรู้เกี่ยวกับเรอื่ งราวเก่ียวกับ ตวั เด็ก,เร่อื งราวเกยี่ วกับบุคคลและสถานทแี่ วดล้อมเด็ก,ธรรมชาติรอบตัว,สิง่ ต่างๆรอบตัว 12

แผนการปรับปรุงและพฒั นาหลกั สตู ร 3. บูรณาการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์สำคัญเกีย่ วกับพัฒนาการ ดา้ นรา่ งกาย,อารมณ-์ จติ ใจ,สังคมและสตปิ ัญญา 4. บรู ณาการจดั กิจกรรมในกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ 5. จดั เปน็ กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร 6. บูรณาการกบั วถิ ีชีวิตในโรงเรยี น 5. ประกาศ/คำสั่ง สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน 1. คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 30/2561 เรื่อง ให้เปลี่ยนแปลง มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การบริหารจัดการหลักสูตร สถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ประกาศ ณ วันท่ี 8 มกราคม พ.ศ. 2561 3. คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 921/2561 เรื่องยกเลิกมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเปล่ยี นช่ือกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 4 คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 922/2561 เรื่องการปรับปรุง โครงสร้างเวลาเรียน ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 5. คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สพฐ.1223/2561 เรื่องให้ใช้ หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 แทนหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 เมื่อ วันที่ 3 สิงหาคม 2560 13

แผนการปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สตู ร ส่วนที่ 3 กระบวนการจัดทำหลกั สูตรสถานศกึ ษา 1. การจัดทำหลักสตู รสถานศึกษามกี ระบวนการ ดงั นี้ 1. แตง่ ต้ังคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวิชาการของสถานศึกษา และคณะทำงาน 2. ศึกษา วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบ หลักสูตร ระดับท้องถิ่นและเอกสารประกอบหลักสูตรต่างๆ รวมทั้งข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพ ปัญหา จุดเนน้ ความตอ้ งการของสถานศึกษา ผเู้ รยี น และชมุ ชน 3. จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญ ดังนี้ ส่วนนำ โครงสร้างหลักสูตร สถานศกึ ษา คำอธบิ ายรายวิชา เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล และเกณฑก์ ารจบการศึกษา 4. ตรวจสอบองคป์ ระกอบหลักสตู รสถานศึกษาโดยพิจารณาคุณภาพ ความถกู ตอ้ งและความ เหมาะสม 5. นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณาให้ความเห็นชอบ หากมี ขอ้ เสนอแนะ จากคณะกรรมการ ใหน้ ำขอ้ เสนอแนะไปพิจารณาปรับปรุงก่อนการอนุมตั ิใช้หลักสตู ร 6. จัดทำเป็นประกาศหรือคำสัง่ เรื่องให้ใชห้ ลักสูตรสถานศึกษา โดยผู้บริหารสถานศึกษาและ ประธานกรรมการสถานศึกษาเป็นผู้ลงนาม หรือผบู้ ริหารสถานศึกษาเป็นผู้ลงนาม 7. ใช้หลักสูตรสถานศกึ ษา ครผู ู้สอนนำหลักสูตรสถานศกึ ษาไปกำหนดโครงสรา้ งรายวิชา และออกแบบหน่วยการเรยี นรูเ้ พ่ือพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามเปา้ หมาย 8. วิจัยและตดิ ตามผลการใช้หลักสูตร ดำเนนิ การตดิ ตามผลการใชห้ ลักสูตรอย่างต่อเน่ืองเป็น ระยะๆ เพอื่ นำผลจากการติดตามมาใช้เป็นข้อมูลพจิ ารณาปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพ และมีความ เหมาะสมยิ่งข้นึ 14

แผนการปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสตู ร แผนภาพ กระบวนการจดั ทำหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) 15

แผนการปรับปรงุ และพฒั นาหลักสตู ร แผนภูมิการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา หลกั สูตรแกนกลาง โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กรอบหลักสูตรทอ้ งถ่ินกลาง ศึกษาขอ้ มูลที่เกย่ี วข้อง บริบทความตอ้ งการของสถานศึกษา หลักสตู รสถานศึกษา กำหนดวิสัยทัศน/์ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น/คุณลักษณ์อนั พึงประสงค์/ค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ กำหนดโครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา รายวชิ าพ้ืนฐาน/รายวชิ าเพิม่ เติม กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น เวลาเรยี น คำอธบิ ายรายวิชา เกณฑก์ ารวดั ประเมินผลและจบหลักสตู ร ปรบั ปรุงพฒั นา นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา ใช้หลักสูตรสถานศึกษา (ระดับช้ันเรยี น) จดั ทำโครงสร้างรายวิชา ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้/จดั การเรยี นการสอน วิจัย ติดตามประเมินผลการใช้หลกั สตู ร 16

แผนการปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สตู ร สว่ นท่ี 4 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั องคป์ ระกอบสำคัญของหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย มีดังน้ี 1. ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา เป็นการอธิบายแนวคิด ทฤษฎี และความเชื่อในการ พัฒนา เด็กปฐมวัย โดยสถานศึกษาจะต้องกำหนดปรัชญาซึ่งจะเริ่มจากการพิจารณาร่วมกันกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ผ่านการพยายามทำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาและตัวเด็ก เช่น ผู้บริหาร ครู ครอบครัว ชุมชน ร่วมมือกัน ใหค้ วามสำคัญในการใหก้ ารศกึ ษาและพฒั นาตวั เด็ก และมอบบทบาทให้ครูเป็นผ้มู สี ว่ นในการอบรมและพัฒนา ตัวเด็กในสถานศกึ ษา 17

แผนการปรบั ปรงุ และพัฒนาหลกั สตู ร 2. วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย วิสัยทัศน์ เป็นการที่สถานศึกษากำหนดวิสัยทัศน์ของการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยเป็นการ แสดงซึ่งเจตนารมณ์ อุดมการณ์ อนาคตที่พึงประสงค์ ที่ต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานความจริง และแสดงอัตลักษณ์ ของสถานศึกษา เพื่อเป็นการจุดประกายความคิดของบุคลากรในการพัฒนาตัวเด็ก โดยวิสัยทัศน์ที่ดีต้องมี ความชัดเจน เหมาะสม และมรี ะยะเวลาที่แนน่ อนวา่ จะเกิดข้ึนภายในปใี ด พันธกิจ พันธกจิ คือการท่สี ถานศึกษากำหนดภาระงานสำคญั โดยจะต้องคำนึงและอยู่ภายใต้ วิสยั ทัศน์ ที่กำหนดวา่ ต้องทำอย่างไรจงึ จะทำใหว้ ิสัยทศั น์ที่กำหนดไว้สามารถเกิดขึ้นไดจ้ รงิ ตามระยะเวลาท่ีถูก ตั้งไว้ เพื่อให้วสิ ัยทศั น์ทีก่ ำหนดไว้ถึงเป้าหมายไดล้ ุล่วงทันเวลา โดยทั้งนีต้ ้องวัดความสำเร็จจากการพัฒนาของ ตัวเด็กท่ีไปในทิศทางเดยี วกับวิสัยทัศนก์ ำหนดไว้ เป้าหมายเป็นการกำหนดความคาดหวังหลังจากการดำเนินการทำพันธกิจตามวิสัยทัศน์ที่ กำหนดไว้ โดยเป้าหมายนั้นจะต้องสามารถกำหนดได้ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ที่จะเกิดขึ้นกับตัวเด็ก ครูผู้สอน และผู้ทมี่ ีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั ตวั เด็ก อย่างเช่น ผปู้ กครอง 3. จุดหมาย จดุ หมายเป็นการกำหนดความคาดหวังที่จะเกิดกับเด็กหลังจากจบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยแลว้ โดย ในขั้นตอนนี้จะเป็นการนำจุดหมายที่หลักสูตรปฐมวัย ปี 2560 กำหนดไว้มาใช้ในการจัดทำองค์ประกอบของ หลกั สตู รของสถานศกึ ษา 4. มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ จะเป็นตัวบ่งชี้การพัฒนาที่ได้และผ่านมาตรฐานที่กำหนดไว้ โดย มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคน์ ้นั ส่วนใหญ่จะวดั จากการดูการพัฒนาของเด็กผ่าน 4 องค์ประกอบที่อยาก ให้เด็กพัฒนา ได้แก่ การพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ การเข้าสังคม และการใช้สติปัญญา โดย ทั้งนี้สถานศึกษาอาจจะกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ให้สอดคล้องกับสถานศึกษาและ สภาพแวดลอ้ มของเด็กเปน็ รายบคุ คลได้ 5. ระยะเวลาเรียน สถานศึกษาต้องกำหนดโครงสร้างเวลาในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กใน ปีการศึกษาปีนี้โดยจะ ประมาณระยะเวลาเรียนรู้ตามอายุของเด็ก หรือ ระยะเวลาของการที่เด็กเริ่มเข้าสถานศึกษา โดยต้องมีเวลา เรียนไม่น้อยกว่า 180 วันต่อปีการศึกษา แบ่งเป็น 2 ภาคเรียน ใน 1 ปีการศึกษา แต่ละวันต้องใช้เวลาไม่น้อย กว่า 5 ชัว่ โมง 6. สาระการเรียนร้รู ายปี สถานศกึ ษาตอ้ งมีการกำหนดสาระการเรียนรู้รายปี โดยยึดมาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ให้ครบทั้ง 12 มาตรฐาน ตามที่หลักสูตร ปฐมวัย ฉบับปี 2560 กำหนดไว้ โดยทั้งนี้สามารถเพิ่มเติมสาระการเรียนรู้ หรือ การสั่งสอนประสบการณ์การ เรียนรูเ้ พิม่ เติมไดต้ ามอัตลกั ษณแ์ ละเอกลักษณะของสถานศึกษา 18

แผนการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลกั สูตร 7. การจัดประสบการณ์ สถานศึกษาปฐมวัยต้องทำการอธิบายแนวการจัดประสบการณ์และนวัตกรรม ได้ตามที่หลักสูตร กำหนด โดยการจดั ประสบการณ์นนั้ ต้องอยภู่ ายใต้การคำนึงถึงปรชั ญาของปฐมวัย การคำนงึ ถงึ วิสัยทัศน์ พันธ กิจ เป้าหมาย โดยทั้งนี้หากต้องการเพิ่มเติมให้ต่างออกไปจากเดิน ก็สามารถจัดประสบการณ์เพิ่มเติมให้ สอดคล้องกับอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียนได้ และเมอื่ ทางสถานศึกษากำหนดการจัดประสบการณ์ได้ แล้ว ให้ทำการอธิบายในสิ่งทเี่ ตรียมไว้ ใหช้ ดั เจน โดยคำนึงถงึ หลักจติ วทิ ยาพฒั นาการให้เหมาะสม กบั วัย , วุฒิ ภาวะ และลักษณะการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ นอกจากน้ี สถานศึกษาควรกำหนดขอบข่ายของการจัดกิจกรรมและกิจวตั รประจำวัน ของสถานศึกษาสำหรับการทำการ พัฒนาเดก็ ให้สอดคล้องกับหลักการจัดกจิ กรรม ประจำวันทรี่ ะบุไวใ้ น หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ปี 2560 8. การจัดสภาพแวดล้อม ส่อื และการเรียนรู้ สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ควรกำหนดแนวทางในการจัดสภาพแวดล้อม โดยคำนึงถึง การสร้างบรรยากาศทค่ี รอบคลมุ ‘ด้านกายภาพ’ ซึ่งหมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน โดย สภาพแวดล้อมนั้นจะตอ้ งเปน็ การช่วยสง่ เสรมิ การพัฒนาใหแ้ กต่ วั เด็กได้ ‘ด้านจติ ภาพ’ สถานศกึ ษาควรกำหนดแนวทางให้สถานศกึ ษา ผสู้ อน และผู้เกีย่ วข้องสรา้ งบรรยากาศ ที่ทำให้เด็กรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย และกล้าแสดงออก มีความมั่นใจในแบบตนเอง ได้แสดงออกและมีการใช้ จนิ ตนาการอย่างสร้างสรรค์ ได้เรียนรู้สงิ่ ใหม่ ๆ รวมไปถึงการมปี ฏิสัมพันธ์ท่ดี รี ะหวา่ งคุณครผู ู้สอน และตัวเด็ก เพื่อให้เด็กได้รู้สึกสภาพแวดล้อมตรงนี้เป็นเซฟโซนที่ปลอดภัยสำหรับเขา โดยทั้งนี้การจัดสภาพแวดล้อม ทง้ั หมดต้องอยภู่ ายใตก้ ารทคี่ ณุ ครสู ามารถพฒั นาทักษะตา่ ง ๆ ใหเ้ ดก็ ได้ 9. การประเมินพัฒนาการ สถานศึกษาต้องจัดทำแนวทางปฏิบัติและเครื่องมือในการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย โดยให้ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติให้สอดคล้องกับหลักการประเมินพัฒนาการที่กำหนดไว้ในหลักสูตร โดยมีแนว ทางการดำเนนิ การประเมนิ พัฒนาการ อย่างละเอียด ดังนี้ • หลักการประเมินพฒั นาการเด็ก • ขอบเขตของการประเมินพัฒนาการ มรี ายละเอียดการดำเนนิ การ ดงั น้ี 1. พัฒนาการดา้ นต่างๆ 2. มาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ 3. วิธีการและเครอื่ งมอื การประเมินพัฒนาการ 4. เกณฑ์การประเมินพัฒนาการและระดบั คณุ ภาพ 5. การสรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการ 6. การรายงานผลการประเมินพฒั นาการ 19

แผนการปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตร 10. การบรหิ ารจดั การหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั สถานศึกษาต้องจัดการหลักสูตร เป็นภารกิจหลักเพื่อให้เด็กปฐมวัยได้พัฒนาอย่างเต็มประสิทธิภาพ ให้เด็กได้มีการพัฒนาศกั ยภาพอย่างเต็มเปี่ยม โดยทั้งนี้ผู้บรหิ าร ครูผู้สอน และผู้มีส่วนเกีย่ วขอ้ งทุกฝ่าย ต้องมี บทบาทสำคัญในการบรหิ ารจัดการหลักสตู รให้มปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมขี นั้ ตอนการดำเนินการ ดงั น้ี • กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับการบริหารหลักสูตร เช่น ผู้บริหาร คุณครูผู้สอน ผดู้ ูแลเด็กหรอื พเ่ี ล้ยี งเด็ก พอ่ แม่ ผู้ปกครอง และชุมชนท้องถ่ิน • เตรียมพรอ้ มหลกั สูตรเพ่ือนำไปสกู่ ารปฏิบัติ โดยพจิ ารณาถึงบุคคล การจดั เตรยี มงบประมาณ และทรัพยากรที่จำเป็น อาคาร สถานท่ี และสือ่ แหลง่ เรยี นร้ทู ม่ี ีความปลอดภัยต่อเดก็ • ทำการส่งเสริมและสนับสนุนหลักสูตรของสถานศึกษาอย่างเหมาะสม เช่นการจัดเตรียม เอกสารข้อมูล การรวมข้อมูลสารสนเทศ เพื่อให้ผู้สอนสามารถนำสิ่งที่เตรียมไปสอนและ พฒั นาเด็กได้ • นิเทศ ตดิ ตาม การนำหลกั สูตรปฐมวยั ไปใชอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง ประเมนิ และนำผลมาพิจารณา เพื่อ นำไปสู่การปรับปรุงหลกั สตู รใหมใ่ หเ้ ข้ากับเด็ก • ประเมินและรายงานผลการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อนำข้อมูลจากการรายงานผลมาจัดทำ แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั 11. การเชอ่ื มต่อของการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั กบั ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 สถานศึกษาต้องนำเสนอรายละเอียดในการบริหารจัดการเกี่ยวกับการ สร้างรอยเชื่อมต่อของ การศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 โดยครูผู้สอนต้องทำกิจกรรมที่ทำให้เด็กเตรียมตัว พร้อมสำหรับการพัฒนาไปสู่การศึกษาอีกระดับ โดยอาจจะเป็นการวางแผนให้ผู้บริหาร ครูผู้สอน และ ผ้ปู กครองใหม้ ีส่วนเกยี่ วข้องในการชว่ ยส่งเสรมิ ตัวเด็ก เพอ่ื ใหเ้ ดก็ สามารถปรบั ตวั ได้ทัน ซ่ึงถ้าทำได้ในจุดน้ีก็จะ สามารถวางใจได้ว่าเด็กจะมปี ระสทิ ธิภาพพอ และพร้อมทจี่ ะก้าวเข้าสหู่ ลกั สตู รการศึกษาท่ีโตข้ึนกว่าเดิม แต่ถ้า หากรู้สึกว่าตัวเด็กยังไม่สามารถพัฒนาไปถึงจุดนั้นได้ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดต้องทำการแก้ไขโดยด่วน เพราะการศึกษาของปฐมวัยกับ ประถมศึกษาปีที่ 1 มีลักษณะที่แตกต่างกัน โดยถ้าหากตัวเด็กไม่สามารถ พัฒนาได้ทนั ทว่ งที กจ็ ะทำให้เปน็ อปุ สรรคตอ่ ตวั เดก็ ในการศกึ ษาระดบั ต่อไปได้ 12.ภาคผนวก สถานศึกษาสามารถนำเอกสารทเี่ กี่ยวข้องกับการดำเนนิ การจดั ทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั มาไว้ใน ภาคผนวกตามความเหมาะสม เชน่ ประกาศการใช้หลกั สตู รสถานศกึ ษา หรอื คำสง่ั แตง่ ต้งั คณะกรรมการจัดทำ หลกั สูตรสถานศกึ ษา ฯลฯ 20

แผนการปรับปรุงและพัฒนาหลกั สูตร หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ องค์ประกอบสำคัญของหลักสตู รสถานศกึ ษา มดี งั น้ี 1. ส่วนนำ ข้อมูลในส่วนนี้ช่วยให้ครูผู้สอนและผู้เกี่ยวข้อง ทราบถึงเป้าหมายโดยรวมของ สถานศึกษาในการ พัฒนาผู้เรียน ประกอบด้วยส่วนสำคัญ คือ ความนำ วิสัยทัศน์ สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียนคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ แนวการเขียนปก ประกาศ/คำส่ัง และส่วนนำของหลกั สูตรสถานศกึ ษา มดี ังนี้ 1.1 ปกหลักสูตรสถานศึกษา ควรประกอบไปด้วยตราสัญลักษณข์ องโรงเรยี น ชื่อโรงเรียน ปี พ.ศ. ที่ เริ่มใช้หลักสูตรและหน่วยงานทีโ่ รงเรียนสังกัดหากหลังจากใช้ไประยะหนึ่งแล้วสถานศึกษามีการ ปรบั ปรงุ หลกั สตู ร ใหป้ รับเปล่ยี นปี พ.ศ. ใหมใ่ ห้สอดคล้องกบั ปีทีป่ รับปรุง ** ปกหลักสูตรควรมีองค์ประกอบสำคัญ ส่วนการออกแบบ สถานศึกษาทำได้ ตามความ เหมาะสม ตัวอย่างปกหลักสูตรสถานศกึ ษา 1.2 ประกาศหรือคำสั่งให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษา หลังจากคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน เห็นชอบแล้ว ให้จัดทำประกาศหรือคำสั่งโดยผู้บริหารสถานศึกษาและประธานกรรมการ สถานศึกษาเปน็ ผู้ลงนาม หรือผ้บู รหิ ารสถานศึกษาเป็นผลู้ งนาม ตัวอย่างประกาศโรงเรยี น 21

แผนการปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตร 1.3 ความนำ เขียนแสดงให้เห็นความเชื่อมโยง ระหว่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 รวมทั้งพระราโชบายด้านการศึกษา ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 คำสั่งและ ประกาศต่าง ๆ ที่เกย่ี วข้อง กรอบหลักสูตรระดับทอ้ งถน่ิ จดุ เน้น และความต้องการของโรงเรยี น 1.4 วิสัยทัศน์โรงเรียน เป็นเจตนารมณ์ อุดมการณ์ หลักการ ความเชื่อ อนาคตที่พึงประสงค์ เอกลักษณ์ของโรงเรียนเพื่อสร้างศรัทธา จุดประกายความคิดในการพัฒนาองค์กร และคุณภาพ ผูเ้ รยี นทส่ี อดคล้องกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 กรอบหลักสูตร ระดับท้องถิน่ จุดเน้น และความตอ้ งการของโรงเรยี น มแี นวทางการกำหนด ดังน้ี 1.4.1 ศึกษาขอ้ มลู ต่อไปน้ี 1) ศึกษา วเิ คราะห์ วิสยั ทศั น์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 2) ศกึ ษากรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถ่นิ 3) ศึกษาข้อมลู ความตอ้ งการ จุดเน้นของท้องถนิ่ และโรงเรียน 1.4.2 กำหนดคำสำคัญท่ีมุง่ บอกถึงเจตนารมณ์ อดุ มการณ ์ หลักการ ความเชอ่ื อนาคตที่ พึงประสงคท์ ่จี ะพัฒนาผู้เรียนไปสจู่ ดุ หมายของหลักสตู ร 22

แผนการปรับปรุงและพฒั นาหลกั สตู ร 1.4.3 ลกั ษณะของวิสยั ทัศนท์ ่ีสมบรู ณ์ ควรประกอบดว้ ยประเด็นต่อไปน้ี 1) สอดคล้องกบั จุดหมาย หลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของท้องถ่ินและโรงเรียน 2) สอดคล้องกับกรอบหลกั สูตรระดับท้องถนิ่ 3) แสดงภาพอนาคตของผ้เู รียนทค่ี รอบคลุมสภาพความต้องการของโรงเรียน ชมุ ชน และ ทอ้ งถ่ิน 4) ใชภ้ าษากะทดั รัด ชดั เจน สามารถปฏบิ ัตไิ ด้ 1.5 สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึง การพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดนั้นจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังน้ี 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมใน การใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมลู ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การ คิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ ความร้หู รือสารสนเทศเพอื่ การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึง ผลกระทบทเี่ กิดข้ึนต่อตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไป ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และ การอย่รู ่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสรมิ ความสัมพันธ์อันดรี ะหว่างบคุ คล การจดั การปัญหาและ ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ สภาพแวดลอ้ ม และการรูจ้ กั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงค์ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ่ืน 23

แผนการปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสตู ร 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยี ด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ เรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน การแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม 1.6 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้ สามารถอยู่ร่วมกับผ้อู ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 1.1 ร่วมกิจกรรมแสดงความรักชาติ เช่น เชิญธง ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ รกั ษาชอ่ื เสียง และหวงแหนสมบัตขิ องชาติ 1.2 ร่วมกิจกรรมทางศาสนา และปฏบิ ตั ิตามหลักธรรมของศาสนา เชน่ รักษาศีลปฏบิ ตั ธิ รรม 1.3 รว่ มกจิ กรรมเพอ่ื แสดงความจงรักภกั ดตี ่อพระมหากษตั รยิ ์ 2. ซื่อสตั ย์สุจริต 2.1 ให้ขอ้ มลู ท่ีถูกต้องและเป็นจรงิ ไมโ่ กหก 2.2 ไมถ่ ือเอาสิ่งของหรอื ผลงานของผู้อืน่ มาเป็นของตนเอง ไม่ลกั ขโมย 2.3 ไมห่ าผลประโยชนใ์ นทางที่ไม่ถูกต้อง ไม่คดโกง 3. มีวนิ ัย 3.1 ปฏิบัตติ นตามข้อตกลง กฎระเบียบของครอบครัว โรงเรยี นและสงั คม 3.2 ตรงต่อเวลาและรบั ผดิ ชอบในการเรยี น การปฏิบัตงิ าน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 ตัง้ ใจ เพยี รพยายามในการเรยี น สนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนร้ตู ่าง ๆ 4.2 แสวงหา ศกึ ษา ค้นควา้ ความรูจ้ ากแหล่งการเรียนรตู้ ่าง ๆ 4.3 บันทกึ ความร้วู เิ คราะห์ตรวจสอบ แลกเปล่ียนเรียนรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเองและของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า รวมทั้งใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ปฏิบัติตนและตัดสนิ ใจด้วยความรอบคอบมเี หตผุ ล 5.3 วางแผนการเรียนการทำงานบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร มภี มู คิ ้มุ กนั ในตวั ที่ดี 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 ตง้ั ใจและรบั ผิดชอบในการทำงานใหส้ ำเร็จ 6.2 ทุม่ เททำงาน อดทนไมย่ ่อท้อตอ่ ปัญหาและอปุ สรรค 6.3 ปรับปรงุ พัฒนาการทำงานและผลงานดว้ ยตนเอง 24

แผนการปรบั ปรงุ และพัฒนาหลกั สตู ร 7. รักความเป็นไทย 7.1 ปฏิบัติตามขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย 7.2 ใช้ภาษาไทย เลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถกู ต้อง 7.3 ร่วมกจิ กรรมท่ีเกี่ยวข้องกับภมู ปิ ญั ญาไทย นำมาใช้ให้เหมาะสมในวิถชี วี ติ 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 ชว่ ยเหลอื ผูอ้ ่ืน แบ่งปนั สิ่งของ อาสาทำงานใหด้ ว้ ยความเต็มใจ ไม่หวังผลตอบแทน 8.2 เขา้ รว่ มกิจกรรมที่เป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น ชุมชนและสงั คม 8.3 ดูแลรักษาสาธารณสมบัตแิ ละส่งิ แวดล้อมดว้ ย ความเตม็ ใจ 1.7 หลักเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ➢ ห ่ ว ง ท่ี 1 ค ื อ พ อ ป ร ะ ม า ณ ห ม า ย ถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดไี มม่ ากหรือว่าน้อย จนเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง หรือผู้อื่นให้ เดอื ดรอ้ น ➢ ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจ เกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป อย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ กระทำน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ ➢ ห่วงท่ี 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถงึ การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านการต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะ เกิดขึน้ ในอนาคตทั้งใกล้และไกล 1.8 คา่ นยิ มหลัก 12 ประการ ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และกระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายสร้างสรรค์ประเทศ ไทยให้เข้มแข็ง โดยต้องสร้างคนในชาติให้มีค่านิยมหลัก 12 ประการ เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญในการปลูกฝัง ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมให้เกิดขึ้นกับเยาวชนไทย ซึ่งค่านิยมดังกล่าวครอบคลุมและสอดคล้องกับ คุณลักษณะอังพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้ได้พัฒนา ผู้เรียนในด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมของคนไทย 12 ประการ ทางโรงเรียนบ้านพลวง(พร หมบำรุง ราษฎร์) จึงบรรจุลงในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2565 ตาม หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 คา่ นิยมของคนไทย 12 ประการ ดังน้ี 25

แผนการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลักสูตร 1. ความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ เราเกิดมาบนผืนแผ่นดินไทยที่อุดมสมบูรณ์และมั่งคั่ง มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขที่อุทิศให้แก่ ประชาชนอนั เปน็ ทีร่ กั มศี าสนาพทุ ธซงึ่ เปน็ ทีพ่ ึง่ ทางใจ และก็มีธงชาติทป่ี ่าวประกาศถึงสญั ชาตขิ องเรา 2. ซอ่ื สตั ย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ์ นส่งิ ทีด่ ีงามเพอื่ ส่วนรวม การที่เราเปลีย่ นแปลงอปุ นิสัยของเราให้เข้ากับคนอืน่ หรอื ทัศนคติไปในทางท่ดี นี ้นั จะทำใหเ้ ราได้เรียนรู้ สง่ิ ใหมๆ่ เขา้ ใจส่ิงต่างๆในแต่ละมุมมอง ซึง่ จะทำใหข้ ้อขัดแยง้ และปญั หายุตลิ ง 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครูบาอาจารย์ บญุ คุณของพ่อแม่นน้ั ใหญห่ ลวงมาก ท่านทัง้ สองให้กำเนิดเรามาในโลกอันกว่างใหญ่ เล้ียงดูเราอย่างดี ด้วยความรักและห่วงใย รวมทั้งผูป้ กครอง และคุณครูบาอาจารย์ท่ีให้การศกึ ษาต้ังแต่เล็กจนโต ซึ่งจะทำให้เรา เติบใหญ่เป็นคนที่ดีในสังคม ดังนั้น เราควรตอบแทนบุญคุณของทุกท่านโดยประพฤติตัวให้ดี เข่น การเคารพ หรอื ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบทมี่ ีอยู่ มคี วามรบั ผิดชอบในหน้าทตี่ ่างๆ และไมล่ ะเมดิ สิทธสิ ่วนบุคคล 4. ใฝ่หาความรู้ หมัน่ ศกึ ษาเล่าเรยี นทั้งทางตรง และทางอ้อม การที่เราดำรงชีวิตประจำวันนั้น แน่นอนว่าเราต้องใช้ความรู้อยู่ตลอดเวลา ณ ตอนนี้โลกเปลี่ยนไป อย่างมาก เพราะฉะนั้นเราความใฝ่หาความรู้เพื่อให้ทันกลับโลกภายนอกที่หมุนอยู่ตลอดเวลา เราควรมีความ เพียรพยายาม มุ่งมั่นในการศึกษาทั้งในและนอกโรงเรียน เช่น การใช้ตำราเรียน อินเตอร์เน็ตหรือสื่ออื่นๆท่ี สามารถคน้ คว้าขอ้ มูลได้ 5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม ประชาชนชาวไทยควรที่จะภาคภูมใิ จกับประเพณี ศิลปะอนั งดงาม และวัฒนธรรมอันดั่งเดิม เช่น วัน ปีใหม่ของประเทศไทย สงกรานต์ ในขณะนี้ค่านิยมของตะวันตกนั้นเข้ามาและมีบทบาทมากกับการพูดจา กิริยาและการแต่งกาย ซึ่งทำให้ประเพณีอันงดงามนั้นถดถ่อยลง ด้วยเหตุนี้เราควรที่จะเป็นต้นแบบในการ อนุรกั ษแ์ ละสืบทอดใหถ้ งึ รุ่นตอ่ ไปเรยี นรู้ 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อ่ืน เผือ่ แผ่และแบ่งปนั การที่เราให้โดยไม่หวังผลตอบแทนนั้นเป็นสิ่งที่ประเสริฐ การทำสิ่งต่างๆด้วยความหวังดี ถึงแม้ว่า ผลลัพธ์ที่เราจะได้คือความสุขเล็กๆน้อยๆ แต่เราก็จะได้มิตรสัมพันธ์ที่ดี ศีลธรรมก็เป็นข้อที่เราควรถือไว้ในใจ เชน่ ศลี 5 และการทีเ่ ราซอ่ื สัตยต์ ลอดไม่ว่าจะทำอะไร จะทำให้เราเน้นคนดใี นสงั คม 7. เข้าใจเรยี นร้กู ารเป็นประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุขที่ถูกตอ้ ง การเป็นประชาธิปไตยน้ันเป็นระบบการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง โดยที่เรามี พระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมุข ซึ่งเราควรเคารพพอ่ หลวงเราด้วยใจรัก 8. มรี ะเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผ้นู อ้ ยรจู้ ักการเคารพผ้ใู หญ่ ทุกวันนี้เรามักจะเห็นผู้คนแตกแยก หรือไม่ให้ความเคารพกัน ซึ่งแสดงให้เหน็ ถึงการที่ไม่มรี ะเบยี บใน สังคม อย่างแรกต้องเริ่มที่ตัวเราเอง เราควรที่จะมีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย และเคารพผู้หลักผู้ใหญ่ และ สิง่ เหล่านจ้ี ะเปน็ ต้นแบบใหอ้ ีกหลายๆคนเพ่ือท่จี ะทำใหส้ งั คมคนไทยนน้ั เจริญ 26

แผนการปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสตู ร 9. มสี ตริ ู้ตวั รู้คดิ รทู้ ำ รู้ปฏบิ ัติตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว สติเป็นสิ่งที่เราควรตระหนักอยู่ตลอดเวลาเพื่อที่จะได้ทำสิ่งหนึ่งให้ดีที่สุด รวมถึงการคิดทบทวนให้ รอบคอบ และมีความมงุ้ มั่นต้งั ใจในการทำงาน ผลลพั ธ์ทร่ี าจะได้ถ้าเราทำอะไรโดยมสี ติคอื ความสำเร็จ 10. รู้จักดำรงตนอยู่ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจำเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจำหน่าย และ พร้อมทจ่ี ะขยายกจิ การเม่ือมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุม้ กนั ท่ีดี การดำรงชีพนั้นอาจจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่เราควรตระหนักอยู่ตลอดเวลา ดั้งที่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวให้คำสอนไว้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งการที่เราต้องปรับเปลี่ยนตนให้เข้ากับคนอื่น และถ้า เราทำตามคำสอนของพอ่ หลวง ชีวติ เราจะมคี วามสขุ อยู่กบั ส่ิงทเี่ รามี 11. มีความเข้มแขง็ ทัง้ รา่ งกาย และจติ ใจ ไม่ยอมแพต้ ่ออำนาจฝา่ ยต่ำ หรือกเิ ลส มคี วามละอายเกรง กลัวต่อบาปตามหลกั ของศาสนา การที่มีจิตใจอันแน่วแน่ จะไม่สั่นคลอนใดๆทั้งสิ้นถ้ามีอุปสรรคหรือกิเลสผ่านเข้ามา ถ้าเราได้ผ่านสิ่ง เหล่านม้ี าบ่อยคร้งั มันจะทำใหเ้ ราเขม้ แขง็ เช่น เราไม่ควรด่ืมสรุ าหรอื สบู บุหรีถ่ ้ามีคนชกั ชวน 12. คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง ในการดำเนินการส่ิงใดส่ิงหนึ่งนั้น เราควรคำนงึ ถึงข้อดีและข้อเสีย แต่ไม่ใชแ้ ค่คำนึงสำหรับตนเองแต่ ควรคำนึงถึงผู้อื่นด้วย อีกทั้ง เราควรช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ เช่นไปสอนหนังสือที่บ้านเด็กกำพร้า หรือไปให้ ความบันเทิงทบี่ ้านคนชรา เป็นต้น 2. โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา เปน็ ส่วนที่ให้ข้อมูลเก่ยี วกับการกำหนดรายวชิ าที่จดั สอน ในแต่ละปี/ ภาค เรยี น ประกอบดว้ ยรายวิชาพ้ืนฐาน รายวิชาเพ่ิมเตมิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น(สอดคลอ้ งจดุ เน้นของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แนวทางการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล) พร้อมทั้งจำนวนเวลา เรยี นหรือหนว่ ยกติ ของรายวิชาเหล่านั้น การจัดทำโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา จะต้องจัดทำ 2 ส่วน ได้แก่ โครงสร้างเวลาเรียน และ โครงสรา้ งหลกั สตู รช้ันปี โดยพิจารณาจากขอ้ มูล ต่อไปน้ี 2.1 เวลาเรียนท่หี ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 กำหนด ภายหลังจาก ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เมื่อ วันที่ 11 กรกฎาคม 2560 ได้มี คำสั่ง ประกาศ และหนังสือราชการ เกี่ยวกับโครงสร้างเวลาเรียนอยู่หลายฉบับ ซึ่งบางฉบับยังมีผลบังคับใช้ และบางฉบับยกเลิกไปแลว้ รายละเอียดในภาคผนวก โดยสรุปดังนี้ 27

แผนการปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สตู ร 28

แผนการปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สตู ร 29

แผนการปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สตู ร 30

แผนการปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตร หมายเหตุ 1. ชั้น ป. 1 – 3 อาจจดั เวลาเรียนเพ่มิ เติมให้เป็นเวลาสำหรับสาระการเรียนรูพ้ ้ืนฐานในกลุ่มสาระการ เรียนรภู้ าษาไทยและคณติ ศาสตร์ 2. การจดั สรรเวลาเรยี นในรายวิชาพ้ืนฐานผเู้ รียน ต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่ หลกั สตู รแกนกลาง ฯ กำหนด 3. การจัดเวลาเรยี นต้องให้สอดคลอ้ งกบั เกณฑก์ ารจบ และคำนงึ ถงึ ศกั ยภาพของผูเ้ รียน 4. วชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง สถานศึกษาทกุ แหง่ ยังคงต้องจัดการเรียนการสอนหน้าที่พลเมือง เปา้ หมายของ การจัด คือ การส่งเสรมิ การสร้างความเป็นพลเมืองดีของชาต ิตามความพร้อมและบริบทของสถานศึกษา โดย มที างเลือกในการจัดการเรียนการสอน 4 ทางเลอื ก ดังนี้ 1) เพ่มิ วิชาหน้าทีพ่ ลเมืองในหลกั สตู รสถานศึกษาโดยจัดเปน็ รายวชิ าเพ่มิ เติมในกลุ่มสาระการ เรียนรูส้ ังคมศึกษาฯ (วัดผลรายวิชาเพม่ิ เตมิ หน้าที่พลเมือง) 2) บูรณาการกับการเรียนรู้ในรายวิชาอื่นทั้งรายวิชาพื้นฐาน หรือเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการ เรยี นรู้สงั คมศกึ ษาฯ (วดั ผลรวมอยู่ในรายวิชาน้นั ๆ) 3) บูรณาการกับการเรียนรู้ในรายวิชาพื้นฐาน หรือรายวิชาเพิ่มเติม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ อ่ืน(วัดผลรวมอยู่ในรายวิชานนั้ ๆ) 4) บูรณาการการเรียนรู้กับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หรือกิจกรรม/โครงการ/โครงงานหรือวิถี ชีวิตประจำวันในโรงเรียน (วดั ผล ผ่าน – ไม่ผ่าน ตามลกั ษณะของกิจกรรม)ทัง้ นี้ สถานศึกษาควรระบุ ได้ว่าจดั การเรียนการสอนหน้าทพี่ ลเมอื งในลกั ษณะใด ผลการจัด บรรลเุ ป้าหมายหรอื ไม่ 5. การเรยี นการสอนประวัติศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษาใหเ้ รยี นสาระประวตั ศิ าสตร์ 40 ชม./ปี ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 40 ชม./ปี (3 นก.) และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย80 ชม./3 ปี (2 นก.) 6. การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ สถานศึกษาทกุ แหง่ ยังคงต้องจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ใน ช้นั ป.1 - 3 จำนวน 200 ชม./ปี โดยเสนอทางเลือก 2 ทาง ดงั นี้ 1) จัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ เป็นรายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน 200 ชม./ปี 2) จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เป็นรายวิชาพื้นฐาน อย่างน้อย 120 ชม./ปี และ จดั เปน็ รายวิชาเพม่ิ เติม หรือกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น หรอื กจิ กรรมเสริมหลักสูตร 80 ชม./ปี รวมเวลา เรียนภาษาอังกฤษทัง้ หมด จำนวน 200 ชม./ปี 31

แผนการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลักสูตร 7. วิชาการป้องการทุจริต จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ตามท่ี คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีคำสั่งท่ี 646/2560 ลงวันท่ี 26 เมษายน 2560 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทำ หลักสูตร หรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต และคำส่ัง กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สป 1137/2561 แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ( Anti- Corruption Education) นำไปใช้ในการเรียนการสอนให้กับนักเรียน นักศึกษาในทุกระดับชั้นเรยี นท้ังในสว่ น ของการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัยอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งอาชีวศึกษาและการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกในการ แยกแยะประโยชน์สว่ นตนกับประโยชน์ส่วนรวมจติ พอเพียงตา้ นทุจริต และสร้างพฤติกรรมที่ไมย่ อมรับและไม่ ทนต่อการทจุ ริต 2.2 จำนวนมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด และลักษณะตวั ช้ีวัด 2.2.1 จำนวนมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวัด ศึกษาและพิจารณาจำนวนตัวชีว้ ัดชั้นปีและ ตัวช้ีวดั ชว่ งชั้นในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อการกำหนดเวลาเรยี นในแตล่ ะวชิ าตามโครงสร้างหลัก สูตสถานศกึ ษาให้เป็นไปอย่างเหมาะสม สำหรับจำนวนมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วัดกลุ่มสาระการ เรยี นรคู้ ณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ .ศ.2560) มีดังนี้ คณิตศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ จานวนตวั ชี้วดั แตล่ ะระดับ/แตล่ ะสาระ รวม จานวน ช่อื สาระ จานวน รหัส ประถมศึกษา ม.ต้น ม.3 ตวั ช้วี ดั มาตรฐาน มาตรฐาน ป.1 - 66 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 27 36 1. จำนวนและพชี คณิต 3 ค 1.1 5 8 11 16 9 12 3 2 2 35 3 23 ค 1.2 1 -1- -1-2 1 11 11 ค 1.3 - - - - - -3- 12 149 2. กำรวดั และเรขำคณิต 2 ค 2.1 2 6 13 3 4 3 - 2 ค 2.2 1 1124425 3. สถติ ิและควำมนำ่ จะเป็น 2 ค 3.1 1 1212111 ค 3.2 - ------- 7 - 10 16 28 22 19 21 9 12 รวมตวั ช้ีวดั 116 33 32

แผนการปรับปรงุ และพัฒนาหลักสตู ร วทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน มาตรฐานการเรียนรู้ จานวนตัวช้วี ดั แตล่ ะระดบั /แต่ละสาระ รวม จานวน ช่ือสาระ จานวน รหัส ประถมศึกษา ม.ตน้ ม.3 ตวั ชีว้ ดั 6 12 มาตรฐาน มาตรฐาน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 - 50 11 18 1 วทิ ยำศำสตร์ชวี ภำพ 3 ว 1.1 2 - - 4 - - - - 8 41 - 29 ว 1.2 2 3 4 1 - 5 18 17 21 54 4 16 ว 1.3 - 1 - 4 2 - - - - 38 5 15 2. วิทยำศำสตร์กำยภำพ 3 ว 2.1 2 4 2 4 4 1 10 6 4 40 59 313 ว 2.2 - - 4 3 5 1 1 15 ว 2.3 2 1 3 1 5 8 7 6 3. วิทยำศำสตร์โลก 2 ว 3.1 2 - 3 3 2 2 - - และอวกำศ ว 3.2 1 2 4 - 5 9 7 10 4.เทคโนโลยี 2 ว 4.1 - - - - - - 5 5 ว 4.2 5 4 5 5 5 4 4 4 10 - 16 15 25 25 28 30 52 63 รวมตัวชีว้ ดั 139 174 2.2 2. ลกั ษณะตวั ช้ีวัด การทำความเข้าใจลักษณะตัวชี้วัดเพื่อนำไปใช้ประกอบการพิจารณาตัดสินใจกำหนดรายวิชา โดย ศึกษาความยากง่าย และลำดับความตอ่ เนอ่ื งสมั พนั ธ์ของแตล่ ะตัวช้วี ดั ตวั อย่างการบันทึกการศึกษา ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ................................................................... ช้ัน ..................... ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 วชิ ำ ................................................จำนวน ..........หนว่ ยกติ สำระ .................................................................................... สำระ .................................................................................... มำตรฐำน ...................................................................... มำตรฐำน ...................................................................... ตัวชวี้ ดั ...................................................................... ตัวชว้ี ดั ...................................................................... มำตรฐำน ...................................................................... มำตรฐำน ...................................................................... ตัวชวี้ ดั ...................................................................... ตัวชวี้ ดั ...................................................................... สำระ .................................................................................... สำระ .................................................................................... มำตรฐำน ...................................................................... มำตรฐำน ...................................................................... ตัวชวี้ ัด ...................................................................... ตัวชว้ี ดั ...................................................................... มำตรฐำน ...................................................................... มำตรฐำน ......................................................................33 ตัวชว้ี ดั ...................................................................... ตัวชว้ี ัด ...................................................................... สำระ .................................................................................... สำระ ....................................................................................

แผนการปรบั ปรงุ และพัฒนาหลกั สูตร 2.3 เป้าหมาย จุดเนน้ การพัฒนาผเู้ รยี นของทอ้ งถนิ่ และของโรงเรียน เพื่อให้การจัดการศึกษาของแต่ละโรงเรียนส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนตาม ที่ท้องถิ่นและโรงเรียน ต้องการ ดังนั้น โรงเรียนควรพิจารณากำหนดรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในโครงสร้างหลักสูตร สถานศึกษาให้สอดคล้องกับเป้าหมาย /จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนของกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น (จัดทำโดย เขตพื้นทีก่ ารศึกษา) และความต้องการ/จดุ เน้นของโรงเรียน 2.4 ระเบียบ แนวปฏิบัตใิ นการบริหารจัดการหลกั สูตร ได้แก่ 2.4.1 การกำหนดรายวิชา สถานศึกษาจะต้องนำความรู้และทักษะตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของแต่ละ“กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ” (Learning areas) ไปจัดทำเป็น “รายวิชา” (Courses) โดยตั้งช่อื รายวิชาให้สะท้อนสิ่งที่สอนในรายวิชานั้น ๆ กำหนดรหัสวิชา รวมทั้งระบุจำนวนเวลาเรียน หรือ จำนวนหน่วยกิต ของรายวิชาเหล่านั้นกำกับไว้ด้วย ทั้งน้ีระดับประถมศึกษาจัดทำรายวิชาเป็นรายปี ระดบั มัธยมศึกษจัดทำเป็นรายภาคเรยี น 2.4.2 ประเภทของรายวิชา มีดงั นี้ 1) รายวิชาพื้นฐาน: เป็นรายวิชาที่เปิดสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางที่ กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้เรียน ทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องเรียนรู้ การตั้งชื่อรายวิชาพื้นฐานควรสอดคล้องกับ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือสะท้อนถึงจุดเน้นและเนื้อหาสาระที่สอน และระดับความยากง่าย ของสงิ่ ที่สอนในรายวชิ าน้นั 2) รายวิชาเพิ่มเติม : เป็นรายวชิ าท่ีสถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถเปิดสอนเพิ่มเติม จากสิ่งที่ กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง เพื่อให้สอดคล้องกับจุดเน้น ความต้องการและความถนัด ของผู้เรียนหรือความต้องการของท้องถิ่น โดยมีการกำหนด “ผลการเรียนรู้ ” เป็นเป้าหมาย ในการพัฒนาผู้เรียน ทั้งนี้จะต้องสอดคล้องกับ เกณฑ์การจบ การศึกษา สำหรับช่ือรายวิชา เพิ่มเติมนั้น ควรสอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือสะท้อนถึงจุดเน้นและเนื้อหาสาระท่ี สอน และระดบั ความยากงา่ ยของส่ิงท่สี อนในรายวชิ าน้ัน 2.4.3 การจัดรายวชิ า 1) ระดบั ประถมศกึ ษา รายวิชาพ้ืนฐาน - ให้สถานศกึ ษาจัดรายวชิ าพ้นื ฐานตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ กล่มุ ละ 1 รายวิชาตอ่ ปี ยกเว้น กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กำหนดเป็นรายวิชาสังคมศึกษา และรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ โดยรายวชิ าประวัติศาสตร์ให้จดั การเรียนการสอน 40 ช่ัวโมงตอ่ ปี - สาระเทคโนโลยี เป็นสาระหนึ่งในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงจัดอยู่ในรายวิชา วิทยาศาสตร์โดยไมแ่ ยกเปน็ รายวชิ าเฉพาะ 34

แผนการปรับปรุงและพัฒนาหลักสตู ร รายวชิ าเพิม่ เตมิ - สถานศึกษาสามารถกำหนดรายวิชาเพิ่มเติมตามความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษาความ ต้องการและความถนัดของผู้เรียนโดยจัดเป็นรายปี และมีการกำหนดผลการเรียนรู้ของ รายวิชานน้ั ๆ 2) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น รายวชิ าพ้ืนฐาน - ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ อาจจัดไดม้ ากกวา่ 1 รายวชิ าในแตล่ ะภาค/ปี - สามารถจดั รายวชิ าพ้ืนฐานใน 1 ภาคเรียน ให้เรียนครบ/ ไม่ครบทง้ั 8 กลมุ่ สาระ การเรยี นรู้ได้ แตเ่ ม่ือจบหน่งึ ปีการศกึ ษา สถานศกึ ษาตอ้ งจัดใหเ้ รยี นรายวชิ าพืน้ ฐานครบทงั้ 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ - กำหนดให้ 1 รายวิชามคี า่ น้ำหนกั ไม่นอ้ ยกว่า 0.5 หน่วยกิต (1 หน่วยกิต คิดเปน็ 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน) และเมื่อรวมจำนวนหน่วยกิต ของรายวิชาพื้นฐานในแต่ละกลุ่มสาระ การเรยี นรแู้ ล้ว ต้องมีเวลาเรยี นรวม 880 ช่ัวโมงต่อปี (22 หนว่ ยกิต) - กลุม่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ใหจ้ ดั สาระประวตั ศิ าสตร์ เป็นรายวิชาเฉพาะ ภาคเรียนละ 1 รายวิชา (0.5 หน่วยกิต) ทุกภาคเรียน รวม 6 รายวิชา (3.0หน่วยกิต) รายวชิ าเพ่ิมเติม - สถานศึกษาสามารถกำหนดรายวิชาเพิ่มเติมตามความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษาความ ต้องการและความถนัดของผู้เรียนโดยจัดเป็นรายภาคและม ีการกำหนดผลการเรียนรู้ของ รายวชิ าน้ันๆ 2.4.4 การกำหนดรหัสวิชา เพื่อให้เกิดความสะดวกและความเข้าใจตรงกันในการสื่อสาร สถานศึกษาจำเป็นต้องกำหนดรหัสวิชาอย่างเป็นระบบ ระบบรหัสวิชา การกำหนดรหัสวชิ า ควรใช้ตัวเลขอารบิก เพื่อสื่อสารและการจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษา สำหรับรายวิชา พน้ื ฐานและรายวิชาเพม่ิ เติม ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ประกอบด้วยตัวอกั ษรและตัวเลข 6 หลัก ดังนี้ 35

แผนการปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสูตร หลักท่ี 1 เปน็ รหสั ตัวอักษรแสดงกลุ่มสาระการเรยี นรู้ คือ ท หมายถึง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ค หมายถึง กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ว หมายถงึ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ส หมายถึง กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พ หมายถงึ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ศ หมายถึง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ง หมายถึง กล่มุ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ หมายถงึ กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศใหใ้ ชร้ หสั ของแตล่ ะภาษาตามรายการ หมายเหตุ 1. รหัสตัวอักษรกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ แทน มีดังน้ี 1.1 รายการรหสั ตวั อกั ษรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศที่จะนำไปใส่ ก หมายถงึ ภาษาเกาหลี ข หมายถึง ภาษาเขมร จ หมายถึง ภาษาจีน ซ หมายถงึ ภาษารสั เซีย 36

แผนการปรับปรงุ และพฒั นาหลักสตู ร ญ หมายถงึ ภาษาญ่ีปนุ่ ต หมายถงึ ภาษาเวยี ดนาม น หมายถงึ ภาษาลาติน บ หมายถงึ ภาษาบาลี ป หมายถงึ ภาษาสเปน ฝ หมายถงึ ภาษาฝรงั่ เศส ม หมายถงึ ภาษามลายู ย หมายถงึ ภาษาเยอรมัน ร หมายถึง ภาษาอาหรบั ล หมายถึง ภาษาลาว อ หมายถงึ ภาษาองั กฤษ ฮ หมายถงึ ภาษาฮินดู 1.2 กรณีที่มีสถานศึกษาใดจดั ทำรายวิชาภาษาต่างประเทศอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ ให้สถานศึกษาทำเรื่องเสนอสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อกำหนด รหัสตัวอักษรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติมและประกาศให้สถานศึกษาทั่ว ประเทศได้รบั ทราบและใชใ้ หต้ รงกัน 2. กรณกี ำหนดรายวิชากลุ่มเทคโนโลยีในกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ ใช้รหสั วชิ า ว และถา้ กำหนดในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี ให้ใชร้ หัสวชิ า ง หลกั ท่ี 2 เปน็ รหัสตวั เลขแสดงระดับการศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น สะทอ้ นระดับความรูแ้ ละทักษะในรายวิชาที่กำหนดไว้ คอื 1 หมายถงึ รายวชิ าระดับประถมศึกษา 2 หมายถึง รายวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หลักที่ 3 เป็นรหัสตัวเลขแสดงปีที่เรียนของรายวิชา ซึ่งสะท้อนระดับความรู้และทักษะใน รายวิชาท่กี ำหนดไวใ้ นแตล่ ะปี คือ 0 หมายถึง รายวิชาที่ไม่กำหนดปีที่เรียน จะเรียนปีใดก็ได้ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ 1 หมายถงึ รายวชิ าทเี่ รียนในปที ี่ 1 ของระดับประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษาตอนต้น (ป.1 ม.1) 2 หมายถงึ รายวิชาทีเ่ รยี นในปีท่ี 2 ของระดับประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ป.2 ม.2) 37

แผนการปรับปรุงและพัฒนาหลักสตู ร 3 หมายถงึ รายวิชาที่เรยี นในปที ่ี 3 ของระดบั ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น (ป.3 ม.3) 4 หมายถึง รายวิชาท่ีเรียนในปที ่ี 4 ของระดบั ประถมศกึ ษา (ป.4) 5 หมายถึง รายวชิ าที่เรียนในปีท่ี 5 ของระดับประถมศึกษา (ป.5) 6 หมายถงึ รายวชิ าทเ่ี รยี นในปีที่ 6 ของระดับประถมศกึ ษา (ป.6) หลักที่ 4 เปน็ รหัสตัวเลขแสดงประเภทของรายวชิ า คอื 1 หมายถงึ รายวชิ าพื้นฐาน 2 หมายถงึ รายวิชาเพิ่มเตมิ หลกั ท่ี 5 และหลกั ท่ี 6 เป็นรหสั ตัวเลขแสดงลำดับของรายวชิ าแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ใน ปีระดับการศกึ ษาเดียวกัน ในระดับประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มจี ำนวนตั้งแต่ 01-99 ดังน้ี - รายวิชาที่กำหนดปที ี่เรียน ให้นับรหัสหลักที่ 5-6 ต่อเนื่องในปีเดียวกัน หากจัดรายวิชาเป็น รายภาคให้กำหนดเรียงลำดับรายวิชาในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันให้เสร็จสิ้นในภาคเรยี น แรกก่อน แล้วจงึ กำหนดต่อ ในภาคเรียนทีส่ อง - รายวิชาที่ไม่กำหนดปีที่เรียน ให้นับรหัสหลักที่ 5-6 ต่อเนื่องในระดับประถมศึกษาและ มัธยมศกึ ษาตอนต้น 3. คำอธบิ ายรายวชิ า ส่วนน้ีเป็นรายละเอียดท่ีช่วยให้ทราบว่าผู้เรียนจะเรยี นรู้อะไรจากรายวิชา น้ันๆ ในคำอธิบายรายวิชาจะประกอบด้วยรหัสวิชา ชื่อรายวิชา ประเภทรายวิชา (พื้นฐาน/เพิ่มเติม) กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ระดับชั้นที่สอน พร้อมทั้งคำอธิบายให้ทราบว่าเมื่อเรียนรายวิชานั้นแล้วผู้เรียนจะมีความรู้ทักษะ คุณลักษณะหรือเจตคติอะไร ซึ่งอาจระบุให้ทราบถึงกระบวนการเรียนรู้ หรือประสบการณ์สำคัญที่ผู้เรียนจะ ได้รบั ดว้ ยก็ได้ เมื่อสถานศึกษากำหนดรายวิชาที่จะเปิดสอนในแต่ละปี/ ภาคเรียน เรียบร้อยแล้ว จะต้องเขียน คำอธบิ ายรายวิชา ท้ังรายวชิ าพื้นฐาน และรายวิชาเพ่ิมเติมไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาดว้ ย คำอธบิ ายรายวชิ าคืออะไร คำอธบิ ายรายวชิ า เปน็ ข้อมลู รายละเอียดของแต่ละรายวิชา ประกอบด้วยมาตรฐานการเรียนรู้เนื้อหา สาระ เวลาเรยี น รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า จำนวนหน่วยกติ ระดบั ช้นั เพอ่ื ใช้เป็นกรอบทศิ ทางทผี่ ู้สอนใชใ้ นการวางแผน และออกแบบการเรียนการสอน คำอธิบายรายวิชามีไว้เพ่อื อะไร 1. เพ่ือสรา้ งความเข้าใจวา่ ในรายวิชานัน้ ผเู้ รยี นจะไดเ้ รียนรู้องค์ความรู้ ฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการและมี คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ทีส่ ำคัญอะไรบ้าง 2. เพ่ือเปน็ แนวทางใหผ้ ู้สอนนำไปออกแบบการจดั การเรยี นรู้ 38

แผนการปรับปรุงและพัฒนาหลกั สูตร คำอธบิ ายรายวชิ ามีลกั ษณะอยา่ งไร คำอธิบายรายวิชามีลักษณะเป็นความเรียงที่ประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คำอธิบายรายวิชาของรายวิชาพน้ื ฐาน ให้วิเคราะหจ์ ากตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลางที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำหนด สำหรับคำอธิบายรายวิชา เพิ่มเติมให้วิเคราะห์ จากผลการเรียนรู้ท่ี สถานศึกษากำหนดขึ้น คำอธิบายรายวิชาเขียนเป็นรายปีสำหรับระดับประถมศึกษา และเป็นรายภาคเรียน สำหรับระดับมัธยมศกึ ษา องค์ประกอบสำคญั ของคำอธิบายรายวชิ าคืออะไร องค์ประกอบสำคัญของคำอธิบายรายวิชาจำแนกได้ 3 สว่ น ดงั น้ี ส่วนที่ 1 ประกอบด้วย รหสั วชิ า......ช่อื รายวชิ า……กลุ่มสาระการเรียนรู.้ .......ช้ันปี....... จำนวนชั่วโมง หรือหน่วยกติ ส่วนที่ 2 ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะ /กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยมีแนว การเขียนที่สำคญั ดงั นี้ 1. ผู้เรยี นได้เรยี นร้อู ะไรบ้าง 2. ผเู้ รยี นสามารถทำอะไรไดบ้ า้ ง 3. ผูเ้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์อะไรบ้าง ตามหลกั สตู รแกนกลาง ฯ และตามธรรมชาติ ของวิชา ส่วนที่ 3 ประกอบด้วยรหัสตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ทั้งหมดในรายวิชานั้น คำอธิบายรายวิชาเขียน อยา่ งไร รายวชิ าพน้ื ฐาน รายวิชาพื้นฐานเป็นรายวิชาที่สอนให้ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 การเขียนคำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน มีขนั้ ตอนดงั นี้ 1. วิเคราะหต์ ัวชีว้ ดั ชั้นปใี นระดับประถมศึกษา สำหรบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ วเิ คราะหต์ วั ชีว้ ดั ชัน้ ปี เพอ่ื กำหนดเปน็ รายภาค หรือตัวชี้วดั ช่วงช้นั ในระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายเปน็ รายภาคและสาระการ เรยี นรู้แกนกลางตามทก่ี ำหนดไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 2. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ท้องถ่ินจากกรอบหลักสตู รระดับท้องถ่ินของสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ความต้องการและบริบทของโรงเรยี น เพอ่ื กำหนดสาระการเรียนร้ทู อ้ งถน่ิ ทเี่ ก่ียวข้องกบั ตวั ช้ีวดั ในรายวิชาน้ัน 3. จัดกลุ่มตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน เพื่อหลอมรวมและเรียบเรียง เขียนเป็นความเรียง ให้เห็นสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียน มีความรู้ความสามารถและ คุณลกั ษณะในรายวิชานัน้ 4. เขยี นรายละเอียดตามองคป์ ระกอบของคำอธบิ ายรายวิชา 39

แผนการปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สูตร รายวิชาเพม่ิ เตมิ รายวิชาเพิ่มเติมเป็นรายวชิ าท่ีโรงเรยี นกำหนดขึ้นตามจุดเน้น ความต้องการของโรงเรียนหรือท้องถนิ่ การเขยี นคำอธิบายรายวิชาเพ่มิ เติม มีข้ันตอนดงั น้ี 1. กำหนดผลการเรยี นรูซ้ ง่ึ โรงเรยี นเป็นผูก้ ำหนดขึน้ 2. กำหนดสาระการเรยี นร้ทู สี่ อดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรู้ 3. จัดกลุ่มผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันเพื่อหลอมรวมและเรียบเรียง เขยี นเป็นความเรียงใหเ้ ห็นสิ่งที่ตอ้ งการใหผ้ เู้ รียน มีความร้คู วามสามารถ และคณุ ลกั ษณะในรายวชิ านั้น 4. เขียนรายละเอียดตามองคป์ ระกอบของคำาอธบิ ายรายวชิ า 4. การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด การวิเคราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ัด สถานศึกษาสามารถทำได้หลายวธิ ี ในที่น้ีได้เสนอตัวอย่าง การวิเคราะหต์ วั ชว้ี ดั ประกอบการสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ 2 รูปแบบ ดงั ต่อไปน้ี กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ …............................................... รำยวชิ ำ .................... ชน้ั ............................. สำระ ........................................................................................................................................................................ มำตรฐำน .................................................................................................................................................................. ตวั ชี้วดั รู้อะไร ทาอะไรได้ สาระการ สาระการเรียนรู้ เรียนรู้แกนกลาง ท้องถ่ิน 40

แผนการปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตร กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ …............................................... รำยวิชำ .................... ชนั้ ............................. สำระ ........................................................................................................................................................................ มำตรฐำน .................................................................................................................................................................. ตัวช้วี ดั ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลักษณะ สาระการเรียนรู้ กระบวนการ อันพึงประสงค์ ท้องถ่ิน 5. กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งให้เรียนได้ พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญาอารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำ ประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมุ่ง พัฒนาผู้เรียนให้ใช้องค์ความรู้ ทักษะและเจตคติจากการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และประสบการณ์ของ ผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ อันได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต และความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผลในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีทักษะการทำงาน และอยู่ ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก อันได้แก่รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพยี ง มงุ่ มั่นในการทำงาน รักความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ หลกั การ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นมหี ลักการจัด ดังนี้ 1. มีการกำหนดวัตถุประสงค์และแนวปฏิบตั ิทชี ดั เจนเป็นรูปแบบ 2. จดั ใหเ้ หมาะสมกับวัย วุฒภิ าวะ ความสนใจ ความถนดั และความสามารถของผเู้ รยี น 3. บูรณาการวชิ าการกบั ชีวิตจรงิ ใหเ้ รยี นไดต้ ระหนักถงึ ความสำคัญของการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 4. ใช้กระบวนการกลมุ่ ในการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ฝึกใหค้ ิดวิเคราะห์ สรา้ งสรรค์จิตการ ทเี่ ป็นประโยชนแ์ ละสัมพนั ธก์ ับชวี ิตในแต่ละช่วงวยั อยา่ งต่อเนือ่ ง 5. จำนวนสมาชกิ มีความเหมาะสมกับลกั ษณะของกจิ กรรม 41

แผนการปรับปรงุ และพัฒนาหลักสตู ร 6. มกี ารกำหนดเวลาในการจดั กิจกรรมใหเ้ หมาะสมสอดคล้องกบั วิสัยทัศนแ์ ละเปา้ หมายของ สถานศกึ ษา 7. ผู้เรียนเป็นผู้ดำเนินการมีครูเป็นที่ปรึกษาถือเป็นหน้าที่และงานประจำโดยคำนึงถึงความ ปลอดภัย 8. ยึดหลกั การมสี ่วนรว่ ม โดยเปิดโอกาสใหค้ รู พ่อแม่ ผปู้ กครอง ชุมชน องค์กรท้ังภาครฐั และ เอกชน มีส่วนรว่ มในการจักกิจกรรม 9. มีการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยวิธีการที่หลากหลายและสอดคล้องกับกิจกรรม อย่างเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง โดยใหถ้ ือวา่ เป็นเกณฑ์การประเมินผลการผ่านชว่ งชั้นเรียน แนวการจัดกิจกรรม โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จัดให้ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม โดยคำนึงถึงแนวการจัด ดงั ต่อไปน้ี 1. การจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อเกื้อกูลส่งเสริมการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ เช่น การบูร ณาการโครงการ องคค์ วามร้จู ากกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เปน็ ตน้ 2. จัดกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัดตามธรรมชาติ และความสามารถความต้องการของ ผ้เู รียนและชุมชน เช่น ชมรมทางวชิ าการต่างๆ เป็นตน้ 3. จัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกในการทำประโยชน์ต่อสังคม เช่น กิจกรรม ลูกเสอื เนตรนารี เปน็ ตน้ 4. จดั กจิ กรรมประเภทบรกิ ารตา่ งๆ การทำงานทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อตนเองและส่วนรวม โครงสร้างกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนและเวลาเรยี น กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช 2565 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ประกอบดว้ ยกิจกรรม 3 ลกั ษณะ ดงั นี้ 1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจคิด แก้ปัญหา กำหนดเป้าหมายวางแผนชีวิตทางด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับปรุงได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองใน การมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมพัฒนาและสร้างภูมิคุ้มกันที่มั่นคง เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามความ แตกต่างระหว่างบุคคลใหส้ ามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตนเอง ประกอบด้วย 1.1 การแนะแนว ดา้ นบรกิ ารและให้คำปรึกษา 1.2 การแนะแนวการศึกษา 1.3 การแนะแนวอาชีพ 1.4 การแนะแนวเพื่อพัฒนาบุคลกิ ภาพ 42

แผนการปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สตู ร 1.5 รู้จักเข้าใจและเห็นคุณค่าในตนเองและผูอ้ ื่น 1.6 การปรบั ตัวและดำรงชีวติ 1.7 การแสวงหาและใช้ขอ้ มลู สารสนเทศ 1.8 การตดั สนิ ใจและแก้ปัญหา 2. กิจกรรมนกั เรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำงาน ร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสิบใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผลการช่วยเหลือแบ่งปัน เอื้ออาทร และ สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถความถนัด และความสนใจของผู้เรียนให้ ได้ปฏิบัติได้ด้วย ตนเองในทกุ ขั้นตอน ไดแ้ ก่ การศกึ ษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบตั ิตามแผนประเมนิ และปรบั ปรงุ การทำงาน เน้น การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียนและบริบทของ สถานศึกษาและท้องถ่นิ กิจกรรมนักเรียนประกอบดว้ ย 2.1 กจิ กรรมลูกเสือเนตรนารี 2.2 กจิ กรรมชมุ นุม 3. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่น ตามความ สนใจในลักษณะอาสาสมคั ร เพือ่ แสดงถึงความรับผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสยี สละ ตอ่ สังคม และการมจี ิต สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพฒั นาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรคส์ งั คม (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551) โครงสร้างกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น โครงสร้างเวลาการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุง ราษฎร์) พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560) กิจกรรม ชั้นประถมศกึ ษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 1. กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 40 40 40 2. กจิ กรรมนกั เรยี น 40 40 40 40 40 40 40 40 40 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตร นารี 30 30 30 30 30 30 30 30 30 10 10 10 10 10 10 10 10 10 2.2 กิจกรรมชมุ นุม 3. กิจกรรมเพือ่ สังคมและ 120 120 120 120 120 120 120 120 120 43 สาธารณประโยชน์ รวม

แผนการปรับปรุงและพัฒนาหลกั สตู ร โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ไดจ้ ดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นโดยมุง่ ให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้จาก ประสบการณ์ตรง ได้ฝึกปฏิบัติจริงและค้นพบความถนัดของตนเอง สามารถค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมตาม ความสนใจจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย บำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม มีทักษะในการดำเนินงาน ส่งเสริมให้มี วฒุ ภิ าวะทางอารมณ์ สังคม ศลี ธรรม จริยธรรม ให้ผเู้ รยี นรจู้ ักและเข้าใจตนเอง สามารถวางแผนชวี ิตและอาชีพ ได้อย่างเหมาะสม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาการเรียนรู้อย่าง รอบด้านเพื่อความเปน็ มนุษย์ทส่ี มบูรณ์ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสงั คม เสรมิ สร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังให้สร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามรถจักการตนเองได้และ อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน โดยแบ่ง ออกเปน็ 3 ลกั ษณะ ดังน้ี 1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรบั ตนได้ อยา่ งเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครรู ู้จักและเขา้ ใจผู้เรยี น ทัง้ ยังเปน็ กิจกรรมท่ีชว่ ยเหลือและใหค้ ำปรกึ ษาแก่ ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน โดยนักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว 40 ชั่วโมงต่อปี การศึกษา 2. กจิ กรรมนกั เรียน เป็นกจิ กรรมทม่ี ่งุ พัฒนาระเบยี บวินัย ความเป็นผู้นำ ผู้ตามทดี่ ี ความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกัน รู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันเอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติ ด้วยตนเองในทุกข้นั ตอน ได้แก่ การศึกษาวเิ คราะห์ วางแผน ปฏิบตั ิตามแผนประเมินและปรับปรงุ การทำงาน เน้นการทำงานรวมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียนและบริบทของ สถานศกึ ษาและท้องถิน่ กจิ กรรมนกั เรียน ประกอบดว้ ย กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี นกั เรียนทุกคนต้องเข้า ร่วม กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี 40 ชั่งโมงต่อปีการศึกษา กิจกรรมชุมนุม นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วม กิจกรรมชุมนมุ 30 ชง่ั โมงตอ่ ปีการศึกษา 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ต่อสังคม ชุมชนและท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละการมีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่างๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม นกั เรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ชวั่ โมงตอ่ ปกี ารศึกษา 44

แผนการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลกั สูตร 6.เกณฑ์การจบการศึกษา เป็นส่วนที่สถานศึกษากำหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะจบการศึกษาในแต่ละ ระดับโดยพัฒนาเกณฑ์ดังกล่าวให้สอดคล้องสัมพันธ์กับเกณฑ์การจบหลักสูตรตามหลักสูตรแกนกลางแล สถานศึกษาจะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนเพื่อใช้ควบคู่กับหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดเกณฑ์กลางสำหรับการจบการศึกษาเป็น 2 ระดับ คือ ระดับ ประถมศึกษา และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 6.1 เกณฑก์ ารจบระดับประถมศกึ ษา 1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเตมิ โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ตามโครงสร้าง เวลาเรียนที่หลักสูตรแกนลางการศึกษาขั้นพื้นฐานก ำหนดและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตา มที่ สถานศึกษากำหนด 2) ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ รายวิชาพนื้ ฐาน ผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษากำหนด 4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศกึ ษากำหนด 5) ผเู้ รยี นเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นและมีผลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา กำหนด 6.2 เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น 1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชา เพ่มิ เติมตามทส่ี ถานศึกษากำหนด 2) ผู้เรียนต้องไดห้ น่วยกติ ตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกวา่ 77 หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวชิ าพน้ื ฐาน 66 หนว่ ย กติ และรายวชิ าเพม่ิ เติมไม่น้อยกว่า 11 หนว่ ยกติ 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากำหนด 4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษา 5) ผู้เรยี นเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี นและมผี ลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา กำหนด 45

แผนการปรับปรงุ และพัฒนาหลักสตู ร 7. การออกแบบการจดั การเรยี นการสอน ควรออกแบบการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดมุ่งหมายและประสบความสำเร็จ โดยพิจารณา หลักการในการออกแบบการเรียนการสอน คือ 1. กำหนดกลมุ่ เป้าหมาย 2. ต้องการให้ผู้เรียนเรียนอะไร มีความรู้ความเข้าใจ และ/หรือ มีความสามารถอะไร ผู้สอน จงึ ตอ้ งกำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนให้ชัดเจน 3. ใช้วิธกี ารและกิจกรรมการเรียนรู้อะไรที่จะช่วยใหผ้ ู้เรียนเรียนรูเ้ นื้อหาวิชานั้น ๆ ได้ดีที่สุด เพ่อื ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ ทกั ษะวิชาการ – ความร้พู น้ื ฐาน ทกั ษะชีวติ – ทกั ษะงาน ทกั ษะอาชีพ - ความรู้ เฉพาะทาง 4. มกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผเู้ รียน เพ่ือทำให้ทราบผลของการจดั การเรียนการ สอนบรรลุจดุ มุ่งหมายทวี่ างไว้หรือไม่ 8. โครงสร้างรายวชิ า ในระดับชั้นเรียนครูผู้สอนแต่ละคนมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำโครงสร้างรายวิชา และออกแบบ หนว่ ยการเรยี นรู้ ซึ่งในทางปฏิบัติแลว้ หากรายวชิ าใดมผี สู้ อนมากกวา่ หนง่ึ คน ครูอาจรว่ มมือกนั ทำงานเป็นทีม เพ่ือวางแผนและออกแบบการเรยี นการสอนใหม้ ีคุณภาพและประสิทธภิ าพ การจัดทำโครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ าแตล่ ะรายวิชาน้ันประกอบดว้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้หลายหนว่ ย ซึง่ ไดว้ างแผนและออกแบบไว้เพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเป้าหมายดังนั้นเพื่อที่จะช่วยให้ผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องเห็นภาพรวมของแต่ละ รายวิชา จำเป็นต้องมกี ารจัดทำโครงสร้างรายวิชา เพื่อให้ได้ทราบว่ารายวิชานั้นประกอบด้วยหน่วยการเรยี นรู้ จำนวนเทา่ ใด เรอ่ื งใดบ้าง แต่ละหนว่ ยพฒั นาให้ผู้เรียนบรรลุตวั ช้วี ัดใด โดยใชเ้ วลาในการจัดการเรียนการสอน เท่าใดสดั สว่ นการเก็บคะแนนของรายวชิ านนั้ เปน็ อย่างไร ตวั อยา่ งโครงสร้างรายวชิ า รำยวิชำ ...................................................................................... กลมุ่ สำระ ................................................................................... ชนั้ ........................................................ ภำคเรียนท่ี ........................................ จำนวน ....................................... หนว่ ยกติ หน่วยท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐาน สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน /ตวั ชว้ี ดั (ชม.) รวมท้ังส้ิน 46

แผนการปรับปรงุ และพฒั นาหลักสูตร 9. การวิจยั และติดตามผลการใช้หลกั สูตรสถานศึกษา การวิจัยจะเป็นที่มาของข้อมูลข่าวสารที่แม่นตรงแสดงจุดแข็ง จุดอ่อน ปัญหา สาเหตุ และแนวทาง ปรับปรุงพฒั นาให้สถานศึกษาสามารถจดั หลักสูตรการเรียนการสอนได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ดงั นั้นสถานศึกษา ควรดำเนนิ การ ดงั น้ี การวิจัยพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มุ่งเน้นการวิจัยเพื่อนำผลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง หลกั สูตรสถานศกึ ษาให้เหมาะสมสอดคลอ้ งกับผเู้ รยี น และความต้องการของผ้ปู กครองชุมชน 1) การประเมินความตอ้ งการจำเปน็ ในการศกึ ษาต่อ และการประกอบอาชพี ของผเู้ รยี นในอนาคต เพื่อ นำมาใช้กำหนดโครงการเรยี นรู้ และเวลาเรยี น 2) การประเมินความต้องการของพ่อแม่ผู้ปกครอง และชุมชนในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อนำมาใช้ กำหนดโปรแกรมการเรยี น และโครงการตา่ ง ๆ 3) การประเมินผลหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีหัวข้อในการพิจารณา เช่น ความครบถ้วนของ องค์ประกอบหลักสูตร ความสอดคล้องของแต่ละองค์ประกอบสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางฯ และกรอบ หลักสตู รระดับทอ้ งถ่ิน สอดคล้องกบั ความต้องการของผเู้ รียน พอ่ แม่ ผู้ปกครองและชมุ ชน ความเหมาะสมของ แนวทางการจดั การเรียนรู้ การจัดกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน และระบบการวดั และประเมนิ ผล เปน็ ตน้ การวิจัยประเมนิ ผลการใช้หลักสตู ร การประเมินผลการใช้หลักสูตรเป็นส่วนสำคัญ ส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ซ่ึง สถานศึกษาจะต้องมีความตระหนักในการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นหลักประกันว่า ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทั้งด้านสติปัญญา ร่างกาย คุณธรรม บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ระดับชาติและ สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข กระบวนการประเมินผลการใช้หลักสูตรสามารถดำเนินการ ได้ ทั้งระหว่างการใช้หลักสูตร และเม่ือนำหลักสูตรไปใช้เรียบร้อยแล้ว หรือการติดตามจากผลผลิตของหลักสูตร คือ ผู้เรียนที่จบการศึกษาตามหลักสูตรเพื่อให้การประเมินผลการใช้หลักสูตรบรรลุเป้าหมายของการควบคุม คุณภาพ สถานศึกษาควรจดั ใหม้ ีการประเมินทัง้ ระบบ คือ 1) กำหนดให้มกี ารประเมินการใชห้ ลกั สูตร เป็นกิจกรรมหลักของสถานศึกษา 2) สรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกับการประเมินการใช้หลักสูตรด้วยตนเองให้เกิดข้นึ กบั คณะครู 3) วางระบบเครือข่ายการทำงานและมอบหมายงานการประเมินให้คณะผู้ปฏิบัติงานแต่ละคณะ ดำเนินการประเมนิ เป็นระยะๆ โดยกำหนดให้ชดั เจนวา่ คณะใดต้องประเมนิ รายการใดบ้าง 4) สรุปผลการประเมิน และนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการ ประเมินผลการใช้หลักสูตรมีแนวทางการดำเนินการที่สำคัญ คือ พิจารณาองค์ประกอบของหลักสูตรที่จะ ประเมิน พิจารณาหลักเกณฑ์ที่จะใช้ในการประเมิน ออกแบบการจัดเก็บข้อมูล ดำเนินการก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อใช้พิจารณาตัดสินใจในการปรับปรุงหลักสูตรต่อไป สำหรับประเด็นในการประเมินนั้น สามารถประเมินได้ท้งั เรื่องปัจจยั ที่มผี ลต่อการใชห้ ลักสูตร กระบวนการใช้หลกั สูตร และผลจากการใช้หลักสูตร อย่างไรก็ตาม สถานศึกษาควรมุ่งเน้นการประเมินส่วนที่เกี่ยวข้องต่อคุณภาพของผู้เรียนเป็ นสำคัญและควร 47

แผนการปรับปรงุ และพฒั นาหลักสูตร คำนึงถึงทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องให้ ความสำคัญ โดยนำผลการประเมินระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ มาพิจารณาท้ัง ผลการประเมินในภาพรวม และผลการประเมินที่แยกรายวิชา และแยกรายมาตรฐาน หากผลการประเมินไม่ เป็นไปตามเป้าหมายที่คาดหวัง ควรศึกษาวิเคราะห์เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริง ซึ่งสาเหตุย่อมเกิดมาจากปัจจยั และกระบวนการใชห้ ลักสูตรสถานศกึ ษาน้นั เอง จากนัน้ จงึ หาวิธแี ก้ปญั หาเพื่อพฒั นาคุณภาพตอ่ ไป ประเด็นเก่ียวข้องในการประเมินผลการใช้หลกั สูตร นอกจากนั้นสถานศึกษาควรสนับสนุนส่งเสริมให้ครูทำวิจัยปฏิบัติการ (Action research) เพื่อ แก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเอง โดยการวิจัยนั้นอาจเริ่มต้นจากการเลือกปัญหาการ วิจัยที่มีความสำคัญและส่งผลกระทบต่อผู้เรียนมากที่สุด และที่มาของปัญหาการวิจัยอาจเกิดจากผู้เรียน เช่น ปัญหาพฤติกรรม ปัญหาการเรียนรู้ เป็นต้น หรืออาจเกิดจากการจัดการเรียนรู้ของครูไม่เหมาะสมสอดคล้อง กับผูเ้ รยี นรายคน เม่อื ไดป้ ัญหาการวจิ ัยแลว้ จึงดำเนินการตามข้นั ตอนการวจิ ยั ต่อไป ภาระงานสถานศึกษา 1) หลักสตู รสถานศึกษา 2) หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 48

แผนการปรบั ปรุงและพฒั นาหลกั สตู ร 3) แผนการจดั การเรยี นรู้ วิธกี าร เทคนคิ การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่หลากหลาย เช่น Active Learning PBL Lesson Study เปน็ ตน้ 4) ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรยี น 5) วิจยั และตดิ ตามผลการใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษา 6) แนวทางการจัดกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน 7) หลักสตู รท้องถิน่ / สาระท้องถนิ่ 8) การนิเทศ ตดิ ตาม การใชห้ ลักสูตร 49

แผนการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลักสตู ร ส่วนท่ี 5 ภาคผนวก/คำสั่ง 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook