Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย.2564

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย.2564

Published by KroorachaneChanel, 2021-07-08 07:42:48

Description: หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๙๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั (ช.ม.) คะแนน ที่ เรียนรู้ ตวั ชว้ี ดั 11 ตระหนักคำ ท 1.1 รูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การ 11 7 ปริศนา ป 5/1/3/4/7 ( ผูส้ านตอ่ เจตนา ท 2.1 เขยี นสือ่ สาร เช่น คำขวญั คำอวยพร ปรศิ นาโพธส์ าม ป.5/1/3/7/8 ตน้ ) ท 3.1 คำแนะนำและคำอธิบายแสดง ป.5/3/4/5 ท 4.1 ขั้นตอน ป.5/1/4/5/6/7 การเขียนแสดงความรู้สึกและ ท 5.1 ป.5/2/4 ความคิดเห็น การจับใจความ และ การพดู แสดงความรู้ ความคิดในเรือ่ ง ที่ฟังและดู จากสื่อต่างๆ เรื่องเล่า บทคว าม ข่าว และเหตุการณ์ ป ร ะ จ ำ ว ั น โ ฆ ษ ณ า ส ื ่ อ ส่ื อ อิเล็กทรอนิกส์ * ประโยคและ ส่วนประกอบของประโยค คำราชา ศัพท์กาพย์ยานี 11 สำนวนที่เป็น คำพงั เพยและสภุ าษิต ระบุความรู้และข้อคิดจากการ อ ่ า น ว ร ร ณ ค ด ี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ท่ี สามารถนำไปใชใ้ นชีวิตจรงิ การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้วและบท ร้อยกรอง การอ่านบทร้อยกรอง เป็นทำนองเสนาะ นิทาน ปริศนา คำทาย หรือเรื่องราวในท้องถิ่น เพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก แยก ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ี อ่าน การอ่านหนังสือตามความ สนใจ เช่น หนังสือที่นักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับวยั หนังสอื ท่ีครแู ละนักเรยี นกำหนด ร่วมกัน การคัดลายมือตัวบรรจง เต็มบรรทัดและ ครึ่งบรรทัดตาม รูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การ นำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๙๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก (ช.ม.) คะแนน ที่ เรยี นรู้ ตัวช้ีวดั 12 เหตุการณ์ในบ้าน ท 1.1 ความคิดไปพัฒนางานเขียน การ 11 7 สวน ป 5/1/4/6 กรอกแบบรายการ การเขียนเรื่อง ท 2.1 ตามจินตนาการ การวิเคราะห์ความ ป.5/2/7/8 น่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูใน ท 3.1 ชีวิตประจำวัน การรายงาน ป.5/1/3/4 มารยาทในการฟัง การดู และการ ท 4.1 พูด ชนดิ ของคำ ป.5/1/6/7 ท 5.1 คำราชาศัพท์ คำที่มาจาก ป.5/2/4 ภาษาต่างประเทศ กาพย์ยานี 11 สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่าน วรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ นำไปใช้ในชีวิตจริง บทอาขยานและ บทร้อยกรองท่ีมีคุณคา่ การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้วและบท ร้อยกรอง การอา่ นจับใจความจาก สื่อต่างๆวรรณคดีในบทเรียน บทความ บทโฆษณา งานเขียน ประเภทโน้มน้าวใจ ข่าวและ เหตุการณ์ประจำวันการอ่านงาน เขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏบิ ตั ิตามการเขยี นส่ือสาร เช่น คำขวัญ คำอวยพร คำแนะนำ และคำอธิบายแสดงขั้นตอน การ กรอกแบบรายการ การเขียนเรื่อง ตามจินตนาการ การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้ ความคิดใน เรื่องท่ีฟังและดู จากสอื่ ตา่ งๆ การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจาก เรื่องที่ฟังและดูในชีวิตประจำวัน การรายงาน ชนิดของคำ กาพย์ ยานี 11สำนวนที่เป็นคำพังเพยและ สุภาษิตระบุความรู้และข้อคิดจาก  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๙๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดบั ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั (ช.ม.) คะแนน ที่ เรียนรู้ ตวั ช้ีวดั 13 หยาดฟ้าวัยใส ท 1.1 การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมท่ี 11 7 ( หยาดฝนชโลม ป 5/1/2/3/4/7 สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง ระบุ 11 6 ใจ วยั ใสวยั สร้าง) ท 2.1 ความรู้และข้อคิดจากการอ่าน ป.5/2/3/4/8 วรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ ท 3.1 นำไปใชใ้ นชวี ติ จริง ป.5/3 ท 4.1 การอ่านออกเสียงและการบอก ป.5/1/2/4/6/7 ท 5.1 ความหมายของบทร้อยแก้วและบท ป.5/1/2 ร้อยกรอง การอ่านบทร้อยกรอง 14 ดว้ ยไทยล้วน ท 1.1 หมาย รักสามัคคี ป 5/3/4/5 เป็นทำนองเสนาะ นิทาน ปริศนาคำทาย หรือ เรื่องราวในท้องถิ่น เพลงพื้นบ้าน เพลงกลอ่ มเด็ก แยกข้อเทจ็ จริงและ ข้อคิดเห็นจากเรือ่ งที่อ่าน การอ่าน หนังสือตามความสนใจ หนังสือท่ี นักเรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั หนังสอื ที่ครแู ละนักเรยี นกำหนด รว่ มกนั การเขยี นส่ือสาร การนำ แผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดไปพัฒนางานเขียน การ เขียนย่อความจากสื่อต่างๆ การ เขียนเรื่องตามจินตนาการ การ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ ฟังและดูในชีวิตประจำวัน ชนิด ของคำ ประโยคและส่วนประกอบ ของประโยค คำราชาศัพท์ กาพย์ ยานี 11 สำนวนที่เป็นคำพังเพย และสุภาษิต วรรณคดีและ วรรณกรรม เช่น นิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรม เพลงพื้นบ้าน วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน และตามความสนใจ อธบิ ายความหมายโดยนยั จากเร่ือง ที่อ่านอย่างหลากหลาย การอ่าน  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก (ช.ม.) คะแนน ที่ เรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั ท 2.1 จับใจความจากสื่อต่างๆ วรรณคดี ป.5/2/6 ในบทเรียน บทความ บทโฆษณา ท 3.1 งานเขียนประเภทโนม้ น้าวใจ ป.5/2/3 ท 4.1 ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน ป.5/3/4/7 การเขยี นสอื่ สาร เช่น คำขวญั ท 5.1 คำอวยพร คำแนะนำและคำอธิบาย ป.5/2/4 แสดงขั้นตอน การเขียนแสดงความรู้สึกและความ สอบกลางปี คิดเห็น สอบปลายปี ตงั้ คำถามและตอบคำถาม รวม เชิงเหตุผลจากเรือ่ งทฟี่ งั และดู การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจาก เรื่องที่ฟังและดูในชีวิตประจำวัน ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น คำราชาศัพท์ สำนวนที่เป็นคำ พังเพยและสภุ าษติ ระบุความรู้และข้อคิดจากการ อ ่ า น ว ร ร ณ ค ด ี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม ท่ี สามารถนำไปใช้ในชวี ติ จริง บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ี มีคุณคา่ - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ 1 10 1 30 160 100 โครงสร้างรายวิชาพนื้ ฐาน รหัสวิชา ท16101 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิชาภาษาไทย  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลาเรียน 160 ช่ัวโมง ลำดับ ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด (ช.ม.) คะแนน 1 ชมรมคนรกั ท 1.1 การอ่านออกเสียงและการบอก 12 7.5 วรรณคดี ป 6/1/7/8/9 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ ท 2.1 บทร้อยกรอง ประกอบด้วย การอ่าน ป.6/1/2/3/6 บทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะการ ท 3.1 อ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ ป.6/1/3 แผนภูมิ และกราฟ การอ่าน ท 4.1 หนังสือตามความสนใจ เช่น หนังสือ ป.6/2 ที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย ท 5.1 หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียน ป.6/4 กำหนดร่วมกันมารยาทในการอา่ น การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ การเขียนตัวอักษรไทย การเขียน ส่ือสาร การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด การเขียน จดหมายส่วนตัวการพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ของเร่ืองที่ ฟงั และดูจากสื่อตา่ งๆ การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ จากการฟังและดูสื่อโฆษณาใช้คำได้ เหมาะสมกบั กาลเทศะและ บุคคล - บทอาขยานและบทร้อยกรอง ทมี่ คี ณุ ค่า - บทอาขยานตามท่กี ำหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรยี นรู้ เรียนร้/ู ตวั ชีว้ ัด (ช.ม.) คะแนน 2 ปัญหาพาย้อนคิด ท 1.1 (ดูละครย้อนคิด ป 6/1/3/5 การอ่านออกเสียงและการบอก 12 7.5 เศรษฐเี ฒ่าเจ้า ท 2.1 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ 12 7.5 ปัญญา) ป.6/1/2/3/5 บทร้อยกรอง ประกอบด้วยอ่านเรื่อง ท 3.1 สั้นๆ อย่างหลากหลาย โดยจับ 3 นักสืบทองอิน ป.6/3/4/6 เวลาแล้วถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ท 4.1 พระบรมราโชวาท สารคดี เร่อื งส้ัน ป.6/1/2/5 งานเขียนประเภทโน้มน้าว บท ท 5.1 โฆษณา ข่าว และเหตุการณ์สำคัญ ป.6/1/2/3/4 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ ท 1.1 เขียนตัวอักษรไทย การเขียนสื่อสาร ป 6/1/4/5/8/9 การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและ ท 2.1 แผนภาพความคิด การเขียนย่อ ป.6/1/2/3/8/9 ความจากสื่อต่างๆ การวิเคราะห์ ท 3.1 ความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูสื่อ โฆษณา การรายงาน มารยาทในการ ฟัง การดู และการพูด ชนิดของคำ คำราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษาถิ่น คำราชาศัพท์ กลอนสุภาพ แสดง ความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือ วรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทาน พื้นบ้านท้องถิ่นตนเอง และนิทาน พื้นบ้านของท้องถิ่นอื่น อธิบาย คุณคา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรม ที่อ่านและนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิต จรงิ บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมี คุณค่า - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ การอา่ นออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแกว้ และบท ร้อยกรอง ประกอบด้วยการอ่านบท ร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ แยก ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ี  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรียนรู้ เรียนร/ู้ ตัวชวี้ ดั (ช.ม.) คะแนน ป6./1/3/5/6 อ่าน พระบรมราโชวาท สารคดี ท 4.1 เรื่องสั้นงานเขียนประเภทโน้มน้าว ป.6/1/2/3/4 บทโฆษณา ข่าว และเหตุการณ์ ท 5.1 สำคัญ การอ่านหนังสือตามความ ป.6/2/3/4 สนใจ มารยาทในการอ่าน การคัด ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึง่ บ ร ร ท ั ด ต า ม ร ู ป แ บ บ ก า ร เ ข ี ย น ตั ว อักษรไทย การเขียนสื่อสาร การ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคิด การเขียนเรื่อง ตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มารยาทในการเขียน การพูดแสดง ความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ ของเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆการ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง และดูสื่อโฆษณา การพูดโน้มน้าวในสถานการณ์ ต่างๆ มารยาทในการฟัง การดู และ การพูด ชนิดของคำ คำราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษาถิ่น คำที่มาจาก ภาษาต่างประเทศ กลุ่มคำหรือวลี ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยค ซ้อนวรรณคดีและวรรณกรรมใน บทเรียนและตามความสนใจ บท ร้องเล่นในท้องถิ่น นิทานหรือเรื่อง ในท้องถิ่นบทอาขยานและบทร้อย กรองท่ีมคี ุณคา่ 4 สาระการอา่ นกับ ท 1.1 การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนอง 12 7.5 เร่ืองกล้วยๆ ป 6/2/3/4/5/ เสนาะ การอ่านจับใจความจากสื่อ (อ่านป้ายได้ สาระ 7/9 ต่างๆ แยกข้อเท็จจริงและขอ้ คิดเหน็ เรือ่ งกลว้ ยๆ) ท 2.1 จากเรื่องทอ่ี ่าน พระบรมราโชวาท ป.6/1/2/3/8/9  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรยี นรู้ เรยี นรู้/ตวั ชี้วัด (ช.ม.) คะแนน ท 3.1 5 การเดินทางของ ป.6/1/2/4/6 สารคดี เรื่องสั้น งานเขียน 12 7.5 พลายน้อย ท 4.1 ประเภทโน้มน้าว บทโฆษณา ข่าว ป.6/1/2/3/4/5 และเหตุการณ์สำคัญ การอ่าน ท 5.1 ข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ ป.6/1/3/4 และกราฟ มีมารยาทในการเขียน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ท 1.1 และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ ป 6/1/2/3/8 เขยี นตัวอกั ษรไทย การเขียนส่อื สาร ท 2.1 การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและ ป.6/1/4/8 แผนภาพความคิด การเขียนเรื่อง ท 3.1 ตามจินตนาการและสร้างสรรค์ ป.6/3/4 มารยาทในการเขียน การพูดแสดง ท 4.1 ความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ ป.6/2/3/5 ของเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ การรายงาน มารยาทในการฟัง การดูและการพูด ชนิดของคำ ใช้ คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและ บคุ คล คำทีมาจากภาษาตา่ งประเทศ กลุ่มคำหรือวลี ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน กลอน สุภาพ แสดงความคิดเห็นจาก วรรณคดี หรือวรรณกรรมที่อ่าน อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และ วรรณกรรมที่อ่านและนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง บทอาขยาน และบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ ค่า การอ่านออกเสียงและการ บอกความหมายของบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง ประกอบด้วย การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนอง เสนาะ อ่านเรื่องสั้นๆ อย่าง หลากหลาย โดยจับเวลาแล้วถาม เก่ยี วกับเร่อื งทอ่ี า่ น  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ดั (ช.ม.) คะแนน ท 5.1 อ่านการอ่านหนังสอื ตามความ ป.6/2/3/4 สนใจ เช่น หนังสือที่นักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับวัย หนังสืออ่านท่ี 6 เสวนาภาษา ท 1.1 ครูและนักเรียนกำหนดร่วมกัน 12 7.5 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ทันสมัย ป 6/1/2/7 และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ เขียนตัวอักษรไทย การเขียน (เสวนานาที เพื่อน ท 2.1 เรียงความ การเขียนเรื่องตาม จนิ ตนาการและสร้างสรรค์ ส่ีภาค ป.6/1/2 การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ ภาษาทนั สมัยใน ท 3.1 จากการฟังและดูสื่อโฆษณา การ เทคโนโลยี) ป.6/5/6 รายงาน การพูดลำดับขั้นตอนการ ท 4.1 ปฏิบัติงาน การพูดลำดับเหตุการณ์ ป.6/1/2/3/4 คำราชาศัพท์ ระดบั ภาษา ภาษาถ่ิน ท 5.1 คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ กลอนสุภาพเล่านิทานพื้นบ้ าน ท้องถิ่นตนเอง และนิทานพื้นบ้าน ท้องถิ่นอื่น อธิบายคุณค่าของ วรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่านและ นำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง บท อาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า บทอาขยานตามที่กำหนด บทร้อย กรองตามความสนใจ การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง ประกอบด้วย การ อ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ การอ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภมู ิ และกราฟ การคดั ลายมือ ต ั ว บ ร ร จ ง เ ต ็ ม บ ร ร ท ั ด แ ล ะ ค ร่ึ ง บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว อกั ษรไทย  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๖ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดบั ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวช้วี ัด (ช.ม.) คะแนน ป.6/2 7 กลอนกานทจ์ าก การเขียนสื่อสาร เช่น คำขวัญ 11 7 ความฝัน ท 1.1 คำอวยพร ประกาศ การพูดโน้ม (กลอนกานทจ์ าก ป 6/1/2/5/7/8 น้าวในสถานการณ์ต่างๆ เช่น การ บ้าสวน ความฝนั ท 2.1 เลือกตั้งกรรมการนักเรียน การ ของขวัญ) ป.6/1/2/3/5/8 รณรงค์ด้านต่างๆ การโต้วาที ท 3.1 มารยาทในการฟัง การดู และการ ป.6/1/4 พูด ชนิดของคำ คำราชาศัพท์ ท 4.1 ระดับภาษา ภาษาถิ่นคำที่มาจาก ป.6/1/2/4/5 ภาษาต่างประเทศ กลุ่มคำหรือวลี ท 5.1 ประโยคสามัญ ประโยครวม ป.6/1/2/3 ประโยคซ้อน เล่านิทานพื้นบ้าน ท้องถิ่นตนเอง และนิทานพื้นบ้าน ของท้องถนิ่ อ่นื วรรณคดีและวรรณกรรม นิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและ ทอ้ งถนิ่ อื่น การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้ว และ บทรอ้ ยกรอง ประกอบด้วย การอ่าน บทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ พระบรมราโชวาท สารคดี เรื่องส้ัน งานเขยี นประเภทโนม้ น้าว การอ่าน ข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ การอ่านหนังสือตาม ความสนใจ การคัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนสอ่ื สาร การเขียนแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิด การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ การเขียนเรื่องตามจินตนาการและ สร้างสรรค์ การพูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจในจุดประสงค์ของเรื่องที่ ฟังและดูจากสื่อต่างๆ การรายงาน  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๗ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ลำดบั ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรยี นรู้ เรยี นรู/้ ตวั ช้วี ัด (ช.ม.) คะแนน 8 อย่าชิงสกุ ก่อนหา่ ม ท 1.1 ชนิดของคำ ใช้คำได้เหมาะสมกับ 11 7 กาลเทศะและบคุ คล กลมุ่ คำหรอื วลี ไมง่ ามดี ป 6/1/2/3/4/8 ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน กลอนสุภาพ วรรณคดี ท 2.1 และวรรณกรรม นิทานพื้นบ้าน ท ้ อ ง ถ ิ ่ น ต น เ อ ง แ ล ะ ท ้ อ ง ถ ิ ่ น อ่ื น ป.6/1/2/4/8 วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน และตามความสนใจ บทร้องเล่นใน ท 3.1 ท้องถนิ่ วรรณกรรมเก่ียวกับศาสนา ประเพณี ป.6/4/5 การอ่านออกเสียงและการบอก ท 4.1 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง ประกอบด้วย การ ป.6/2/6 อ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ การอ่านจับใจความจากส่อื ต่างๆ ท 5.1 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจาก เรื่องที่อ่าน การอ่านหนังสือตาม ป.6/2 ความสนใจ การคัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขยี นตวั อักษรไทย การเขียนสื่อสาร การเขียน เรียงความ การเขียนเรื่องตาม จินตนาการและสร้างสรรค์ การ รายงาน การพูดโน้มน้าวใน สถานการณ์ต่างๆ คำราชาศัพท์ ระดบั ภาษา ภาษาถ่นิ สำนวนทเ่ี ป็น คำพังเพย และสุภาษิต เล่านิทาน พื้นบ้านท้องถิ่นตนเอง และนิทาน พื้นบ้านของท้องถิ่นอื่น วรรณคดี และวรรณกรรม นิทานพื้นบ้าน ทอ้ งถิ่นตนเองและท้องถนิ่ อ่ืน  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดบั ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ที่ เรยี นรู้ เรียนรู/้ ตัวชวี้ ัด (ช.ม.) คะแนน 9 สุขภาพกบั ท 1.1 การอ่านออกเสียงและการบอก 11 7 เสียงเพลง ป 6/1/4/5 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ (ครนื้ เครงเพลง ท 2.1 บทรอ้ ยกรองประกอบดว้ ย แยก พืน้ บา้ น ป.6/1/2/3 ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ี ชอ้ นกลางสร้าง ท 3.1 อ่าน พระบรมราโชวาท สารคดี สุขภาพ) ป.6/1 เรื่องสั้น งานเขียนประเภทโน้มน้าว ท 4.1 บทโฆษณา ข่าว และเหตุการณ์ ป.6/1/2/5 สำคัญ การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม ท 5.1 บรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ ป.6/1/2/3 การเขียนตัวอกั ษรไทย การเขียนสื่อสาร เช่น คำขวัญ คำอวยพร ประกาศ การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด* การพูด แสดงความรู้ ความเข้าใจใน จุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดูจาก สื่อต่างๆ ชนิดของคำ คำนาม คำ สรรพนามคำกริยา คำวเิ ศษณ์ คำบุพ บท คำเช่ือม คำอุทาน ภาษาถิ่น คำราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษา ถนิ่ กลอนสภุ าพ วรรณคดีและ วรรณกรรม นิทานพื้นบ้านท้องถ่ิน ตนเองและท้องถิ่นอื่น นิทานคติ ธรรม เพลงพื้นบ้าน วรรณคดีและ วรรณกรรมในบทเรียนและตาม ความสนใจ บทร้องเล่นในท้องถิ่น นิทานหรือเรื่องในท้องถิ่น เพลง กล่อมเด็ก ข่าวและเหตุการณ์ใน ชีวิตประจำวันในท้องถิ่นและชุมชน วรรณกรรมเกี่ยวกับศาสนา ประเพณีพิธีกรรม สุภาษิต คำสอน เหตุการณใ์ นประวตั ศิ าสตร์  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ลำดบั ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรียนรู้ เรียนร/ู้ ตัวชี้วดั (ช.ม.) คะแนน 10 ศึกสายเลือด ท 1.1ป - การอ่านออกเสียงและการบอก 11 7 11 7 6/1/2/7/8 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ ท 2.1 ป. บทรอ้ ยกรอง ประกอบด้วย 6/1/2/3/6 - การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนอง ท 3.1 ป. เสนาะ 6/1/4/5 - การอ่านขอ้ มลู จากแผนผงั แผนที่ ท 4.1 ป. แผนภูมิ และกราฟการอ่านหนังสือ 6/1/2/5 ตามความสนใจการคัดลายมือตัว ท 5.1 ป.6/1/3 บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนสื่อสารการเขียนแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิดการ เขียนจดหมายส่วนตัว การพูดแสดง ความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ ของเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ การรายงาน การพูดโน้มน้าวใน สถานการณ์ต่างๆชนิดของคำ คำ ราชาศพั ท์ ระดับภาษา ภาษาถน่ิ กลอนสุภาพ วรรณคดีและ วรรณกรรม นิทานพื้นบ้านท้องถ่ิน ตนเองและท้องถิ่นอื่น นิทานคติ ธรรม เพลงพื้นบ้าน วรรณคดีและ วรรณกรรมในบทเรียนและตาม ความสนใจ บทร้องเล่นในท้องถ่ิน นิทานหรือเรื่องในท้องถิ่น เพลง กล่อมเด็ก ข่าวและเหตุการณ์ใน ชีวิตประจำวันในท้องถิ่นและชุมชน วรรณกรรมเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คำ สอน 11 เสกสรรภาษาจาก ท 1.1ป 6/1/4/7 - การอ่านออกเสียงและการบอก ผาแตม้ ท 2.1 ป. (จากผาแต้มสู่ 6/1/2/3/8/9 ความหมายของบทร้อยแก้ว และ อยี ิปต์ เสกสรรค์ บทร้อยกรอง ประกอบด้วย แยก  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลำดบั ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรยี นรู้ เรยี นร้/ู ตวั ชี้วัด (ช.ม.) คะแนน ภาษาโฆษณาจูงใจ) ท 3.1 ป. ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ี 6/1/3/4/5 ท 4.1 ป. อ่าน การอ่านขอ้ มูลจากแผนผัง แผน 6/1/2/3 ท 5.1 ป.6/1 ที่ แผนภมู ิ และกราฟ การคัดลายมือ 12 สมุดมิตรภาพ ท 1.1 ต ั ว บ ร ร จ ง เ ต ็ ม บ ร ร ท ั ด แ ล ะ ค รึ่ ง 11 7 ป 6/1/4/5/8 ท 2.1 บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว ป.6/1/2/5 ท 3.1 อักษรไทย การเขียนสื่อสาร การ ป.6/1/3/4/6 ท 4.1 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและ ป.6/1/2/3 ท 5.1 แผนภาพความคิด การเขียนเร่ือง ป.6/1/3 ตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มารยาทในการเขียน การพูดแสดง ความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ ของเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจาก การฟังและดูสื่อโฆษณา การ รายงาน การพูดโน้มน้าวใน สถานการณ์ต่างๆ ชนิดของคำ คำ ราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษาถิ่น คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมท่อี า่ น การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง แยกข้อเท็จจริงและ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน พระบรม ราโชวาท สารคดี เรอ่ื งสน้ั งานเขียนประเภทโน้มน้าว บท โฆษณา ขา่ ว และเหตกุ ารณ์สำคัญ การอ่านหนังสือตามความสนใจ การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ เขียนตวั อกั ษรไทย การเขยี นสื่อสาร  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ท่ี เรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ช้วี ดั (ช.ม.) คะแนน 14 จากหลกั นคราสู่ ท 1.1 ประกาศ การเขียนย่อความจากสื่อ 11 7 นิทาน ป 6/1/2/3 ต่างๆ การพูดแสดงความรู้ ความ (นิทานแสนสนุก ท 2.1 เข้าใจในจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟัง สถาบนั หลกั นครา) ป.6/1/3/5/8 และดูจากสื่อต่างๆ การวิเคราะห์ ท 3.1 ความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูสื่อ ป.6/1/3/4 โฆษณา การรายงาน มารยาทในการ ท 4.1 ฟัง การดู และการพูด ชนิดของคำ ป.6/1/2 คำราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษา ท 5.1 ถิ่น คำที่มาจากภาษาตา่ งประเทศ ป.6/1/3 วรรณคดีและวรรณกรรม นิทาน พื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและท้องถ่ิน อื่น วรรณคดีและวรรณกรรมใน บทเรียนและตามความสนใจ บทรอ้ ง เล่นในท้องถิ่นนิทานหรือเรื่องใน ท้องถิ่น เพลงกล่อมเด็ก ข่าวและ เหตุการณ์ในชีวิตประจำวันใน ท้องถิ่นและชุดวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรมสุภาษติ คำสอน เหตกุ ารณ์ในประวัตศิ าสตร์ การอ่านออกเสียงและการบอก ความหมายของบทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง ประกอบด้วย การ อ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ การอา่ นจับใจความจากส่อื ตา่ งๆ การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ เขียน ตัวอักษรไทยการเขียน แผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ ความคิดการเขียนย่อความจากสื่อ ต่างๆการเขียนเรื่องตามจินตนาการ และสรา้ งสรรค์ *การพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจ ในจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู จากสือ่ ตา่ งๆ การวเิ คราะห์ความ  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ที่ เรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัด (ช.ม.) คะแนน น ่ า เ ช ื ่ อ ถ ื อ จ า ก ก า ร ฟ ั ง แ ล ะ ด ู สื่ อ 1 10 โฆษณา การรายงาน เช่นการพูด 1 30 ลำดับข้ันตอนการปฏิบัติงาน การ 160 100 พูดลำดับเหตุการณ์ ชนิดของคำ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์ คำบุพบท คำเชื่อม คำ อุทาน ภาษาถิ่น คำราชาศัพท์ ระดับภาษาวรรณคดีและ วรรณกรรมในบทเรียนและตามวาม สนใจบทรอ้ งเล่น ในทอ้ งถ่นิ นทิ าน หรือเรื่องในท้องถิ่นเพลงกล่อมเด็ก ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ในทอ้ งถน่ิ และชมุ ชน สอบกลางปี สอบปลายปี รวม  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไดจ้ ัดทำสอื่ และจดั ให้มแี หล่งเรียนรู้ ตามหลักการและนโยบายของ การจดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ดังน้ี สื่อการเรยี นรู้เป็นเครื่องมือสง่ เสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรยี นรู้ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มี หลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติส่ือสิง่ พิมพ์ส่ือเทคโนโลยีและเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีในท้องถ่นิ การเลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายของ ผู้เรียนการจัดหาส่อื การเรยี นรู้ผู้เรียนและผูส้ อนสามารถจัดทำและพัฒนาข้ึนเอง หรอื ปรับปรุงเลือกใช้อย่าง มีคุณภาพจากสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและ สื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการ เรียนรู้อย่างแท้จริงสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน ควรดำเนินการ ดงั นี้ 1. จัดให้มีแหล่งการเรยี นร้ศู ูนย์ส่อื การเรยี นรรู้ ะบบสารสนเทศการเรยี นรูแ้ ละเครอื ข่ายการเรียนรู้ท่ี มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชมุ ชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลีย่ นประสบการณ์การ เรยี นรู้ระหว่างสถานศึกษา ทอ้ งถ่นิ ชมุ ชน สังคมโลก 2. จัดทำและจัดหาส่อื การเรียนรสู้ ำหรบั การศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสรมิ ความรใู้ ห้ผู้สอน รวมท้งั จดั หาสิง่ ที่มีอยู่ในทอ้ งถิ่นมาประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ สอ่ื การเรียนรู้ 3. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้องกับ วิธกี ารเรยี นรธู้ รรมชาตขิ องสาระการเรยี นรแู้ ละความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผู้เรียน 4. ประเมนิ คุณภาพของสอ่ื การเรยี นรทู้ ี่เลือกใช้อยา่ งเปน็ ระบบ 5. ศกึ ษาค้นควา้ วิจัย เพอ่ื พัฒนาส่อื การเรยี นรู้ใหส้ อดคล้องกบั กระบวนการเรยี นรูข้ องผู้เรียน 6. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้สื่อการ เรยี นรเู้ ป็นระยะ ๆ และสม่ำเสมอ ในการจัดทำการเลือกใช้และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษาควรค ำนึงถึง หลักการสำคัญของสื่อการเรียนรู้เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้การออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามคี วามถูกต้องและทันสมยั ไม่กระทบความม่ันคง ของชาตไิ มข่ ัดตอ่ ศลี ธรรม มีการใช้ภาษาทถ่ี ูกตอ้ ง รูปแบบการนำเสนอท่ีเขา้ ใจง่าย และน่าสนใจ  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. อตั ราสว่ นคะแนน (ระดบั ประถมศึกษา) คะแนนระหวา่ งปกี ารศกึ ษา : สอบปลายปีการศกึ ษา = 70 : 30 รายการวดั คะแนน ❖ระหว่างภาค (70) 55 การวดั และประเมินผล ดงั นี้ 1. คะแนนระหวา่ งปีการศึกษา 1.1 วดั โดยใชแ้ บบทดสอบ 1.2 วัดทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ (เลือกวดั ตามแผนการจดั การเรยี นรู้) 1.2.1 ภาระงานท่ีมอบหมาย - การทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/สมดุ งาน - การศึกษาค้นคว้า/การนำเสนองาน - การร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ 1.2.2 ทกั ษะการส่ือสารทางภาษาไทย และสมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น - การอา่ น - การเขยี น - การฟัง ดู พูด 1.3 วดั คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 2. คะแนนสอบกลางปีการศึกษา 15 การวดั และประเมนิ ผลโดยใชแ้ บบทดสอบ ❖ คะแนนสอบปลายปกี ารศึกษา (30) การวัดและประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบ รวมท้งั ภาคเรยี น 100 . 2. เกณฑ์การวดั ผลประเมินผล 1. การวดั และประเมนิ ผลโดยใช้แบบทดสอบกำหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแตล่ ะแบบทดสอบ ดงั น้ี 1.1 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเลือกตอบ พิจารณาจากความถูกผิดของการ เลอื กตอบ ตอบถูกให้1 คะแนน ตอบผดิ ให้ 0 คะแนน 1.2 เกณฑใ์ หค้ ะแนนแบบทดสอบแบบถกู ผิด พจิ ารณาจากความถกู ผดิ ของคาํ ตอบ ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน 1.3 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเติมคาํ พิจารณาจากความถกู ผดิ ของคาํ ตอบ ตอบถกู ให้ 1 คะแนน ตอบผดิ ให้ 0 คะแนน  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ 1.4 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเขียนตอบ พิจารณาจากคําตอบในภาพรวม ท้งั หมด โดยกำหนดระดับคะแนนเปน็ 4 ระดับ ดังน้ี ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน 4 ตอบได้ถูกต้อง และสามารถอธิบายเหตุผลได้อย่างชัดเจน พร้อมทั้งแสดงแนวคิดเชิง เปรยี บเทยี บ 3 ตอบไดถ้ ูกตอ้ ง และสามารถอธบิ ายเหตุผลได้อยา่ งชดั เจน 2 ตอบไดถ้ ูกตอ้ ง และสามารถอธบิ ายเหตผุ ลได้เปน็ บางสว่ น แตย่ งั ไม่อยา่ งชดั เจน 1 ตอบไดถ้ ูกต้อง แต่ไม่สามารถอธิบายเหตผุ ลได้ 0 ตอบได้ถกู ต้อง และไมส่ ามารถอธบิ ายเหตผุ ลได้ 2. การวัดและประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ 2.1 ภาระงานทีม่ อบหมาย ดงั นี้ - ใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะ กำหนดเกณฑ์การประเมนิ ผลของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะ เป็น 4 ระดับ ดงั นี้ ระดับคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 4 - ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝกึ ทกั ษะครบถ้วนและเสร็จตามกำหนดเวลา (ดมี าก) - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะได้ถูกตอ้ ง - แสดงลำดับขัน้ ตอนของการทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะชัดเจนเหมาะสม 3 - ทำใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝกึ ทักษะครบถ้วนและเสรจ็ ตามกำหนดเวลา (ดี) - ทำใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝึกทักษะได้ถูกตอ้ ง - สลับข้ันตอนของการทำใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝกึ ทักษะ หรอื ไม่ระบขุ ้นั ตอนของการ - ทำใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝึกทักษะ 2 - ทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝกึ ทักษะครบถ้วน แต่เสรจ็ หลังกำหนดเวลาเลก็ นอ้ ย (พอใช้) - ทำใบงาน/แบบฝกึ หดั /แบบฝกึ ทักษะข้อไมถ่ ูกต้อง - สลับข้ันตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะ หรอื ไม่ระบขุ ้นั ตอนของการ - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะ 1 - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะไม่ครบถ้วน หรือไมเ่ สรจ็ ตามกำหนดเวลาเล็ก (ต้องปรับปรุง) - ทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะไมถ่ ูกตอ้ ง - แสดงลำดับขั้นตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะไม่สัมพันธ์กับโจทย์ หรอื ไม่แสดงลำดบั ข้ันตอน  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 2.2 ทกั ษะการสอื่ สารทางภาษาไทย และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - การวดั และประเมินผลการเรยี นภาษาไทย การวดั ผลและประเมินการเรียนรู้ด้านภาษาเปน็ งานท่ยี ากซ่งึ ต้องการความเข้าใจท่ีถูกต้อง เก่ียวกบั การพัฒนาทางภาษา ดงั น้นั ผูป้ ฏิบัติหน้าที่วดั ผลการเรียนรู้ดา้ นภาษาจำเปน็ ต้องเข้าใจหลักการของ การเรยี นรภู้ าษาไทย เพอ่ื เป็นพ้ืนฐานการดําเนนิ งานดงั นี้ 1. ทักษะทางภาษาทั้งการฟัง การดูการพูด การอ่าน และการเขียนมีความสำคัญเท่า ๆ กันและ ทกั ษะเหล่านจี้ ะบรู ณาการกันในการเรยี นการสอนจะไม่แยกฝึกทักษะทลี ะอยา่ งจะต้องฝึกทักษะไปพร้อม ๆ กนั และทักษะทางภาษาทกั ษะหนึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาทกั ษะทางภาษาอ่ืน ๆ ดัวย 2. ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษาพร้อมกับการพัฒนาความคิดเพราะภาษา เป็นสอ่ื ของความคดิ ผ้ทู มี่ ีทักษะและความสามารถในการใชภ้ าษาจะช่วยใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถในการคิด ด้วยขณะเดยี วกันการเรียนภาษาจะเรียนรว่ มกันกบั ผู้อื่น มกี ารติดต่อส่อื สาร ใชภ้ าษาในการติดต่อกับเพ่ือน กับครูจึงเป็นการฝึกทักษะทางสังคมด้วย เมื่อผู้เรียนได้ใช้ภาษาในสถานการณ์จริงทั้งในบริบททางวิชาการ ในห้องเรยี นและในชุมชนจะทำใหผ้ เู้ รียนได้ใชภ้ าษาและไดฝ้ ึกทักษะทางสงั คมในสถานการณ์จรงิ 3. ผู้เรียนต้องเรียนรู้การใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนอย่างถูกต้องด้วยการฝึกการใช้ภาษามิใช่ เรียนรู้กฎเกณฑ์ทางภาษาแต่เพียงอย่างเดียว การเรียนภาษาจะต้องเรียนรู้ไวยากรณ์หรือหลักภาษาการ สะกดคํา การใชเ้ ครื่องหมายวรรคตอน และนำความร้ดู ังกล่าวไปใช้ในการฝึกฝนการเขยี นพฒั นาทักษะทาง ภาษาของตน 4. ผู้เรียนทุกคนจะได้รับการพัฒนาทักษะทางภาษาเท่ากัน แต่การพัฒนาทางภาษาจะไม่เท่ากัน และวธิ กี ารเรียนรจู้ ะต่างกนั 5. ภาษากบั วัฒนธรรมมีความสมั พันธ์กันอย่างใกลช้ ดิ หลักสูตรจะต้องให้ความสำคัญและใช้ความ เคารพและเห็นคุณค่าของเชื้อชาติจัดกิจกรรมภูมิหลังของภาษาและการใช้ภาษาถิ่นของผู้เรียนและช่วยให้ ผู้เรียนพัฒนาภาษาไทยของตน และพัฒนาความรู้สึกที่ดีเกี่ยวกับภาษาไทยและกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถ เรยี นภาษาไทยดว้ ยความสขุ 6. ภาษาไทยเป็นเครื่องมือของการเรียนรู้และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะต้องใช้ภาษาไทยเป็น เครื่องมือการสื่อสารและการแสวงหาความรู้การเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะใช้ภาษาในการหลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) คิดวิเคราะห์การคิดสร้างสรรค์การ อภิปราย การเขยี นรายงาน การเขียนโครงการ การตอบคาํ ถามการตอบข้อทดสอบ ดังน้ันครูทุกคนไม่ว่าจะ สอนวิชาใดก็ตามจะต้องใช้ภาษาที่เป็นแบบแผน เป็นตัวอย่างที่ดีแก่นักเรียน และต้องสอนการใช้ภาษาแก่ ผู้เรียนดว้ ยเสมอ วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ้ มูลผลการเรียนของผเู้ รียน วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลท่ถี ูกนำมาใชใ้ นการประเมินโดยทั่วไป ได้แก่ การสังเกตการตรวจงานหรือ ผลงาน การทดสอบความรู้การตรวจสอบการปฏิบัติและการแสดงออกอย่างไรก็ตาม มีการนำเสนอแนว ทางการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยพิจารณาจากเปูาประสงค์ของการประเมินที่เฉพาะเจาะจงในรายละเอียด เพอ่ื ขอ้ มลู ทีไ่ ด้จะสามารถนำมาใช้ประโยชน์ตอ่ การปรับปรุงพฒั นากระบวนการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งแท้จริงดังน้ี 1. การให้ตอบแบบทดสอบ ทั้งในลักษณะที่เป็นแบบเลือกคําตอบ ได้แก่ ข้อสอบแบบเลือกตอบ ถูกผิด จับคู่ และข้อสอบชนิดให้ผู้สอบสร้างคําตอบ ได้แก่ เติมข้อความในช่องว่างคําตอบสั้นเป็นประโยค เป็นข้อความ แผนภูมิการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวีการนี้เหมาะกับการวัดความรู้เกีย่ วกับข้อเท็จจริง ความรู้  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ เกี่ยวกับกระบวนการ ซึ่งมีข้อดีที่ใช้เวลาในการดำเนินการน้อย ง่าย และสะดวกต่อการนำไปใช้ให้ผลการ ประเมินที่ตรงไปตรงมา เนื่องจากมีเกณฑ์การประเมนิ ชัดเจน แต่ไม่เหมาะกับการนำไปใช้กบั ผลการเรียนรู้ ท่ีเปน็ เจตคตคิ ่านยิ ม 2. การพจิ ารณาจากผลงาน เช่น เรยี งความ รายงานการวิจยั บันทึกประจำวนั รายงานการทดลอง บทละครบทร้อยกรอง แฟูมผลงาน เป็นต้น ผลงานจะเป็นตัวแสดงให้เห็นการนำความรู้และทักษะไปใช้ใน การปฏิบัติงานของผู้เรียน จุดเด่นของการประเมินโดยดูจากผลงานนี้คือจะแสดงให้เห็นสิ่งที่นักเรียน สามารถทำได้มีการกำหนดเกณฑ์การประเมิน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประเมินตนเองได้เพื่อการปรับปรุง พัฒนาตนเองของผู้เรียน เพื่อนก็สามารถใช้เกณฑ์ในการประเมินผลงานของผู้เรียนได้เช่นกัน จุดด่อนของ การประเมินจากผลงานคือ ต้องมีการกำหนดเกณฑ์การประเมินร่วมกัน ต้องใช้เวลาในการประเมินมาก รวมทงั้ ตัวแปรภายนอกอาจเขา้ มามีอทิ ธิพลตอ่ การประเมนิ ได้งา่ ย 3. พิจารณาการปฏิบัติโดยผู้สอนสามารถสังเกตการนำทักษะและความรู้ไปใช้ได้โดยตรงในสถาน กรณที ่ใี หป้ ฏิบัติจริง วธิ ีการน้ีถกู นำไปใช้อย่างกว้างขวางในการประเมิน มีคณุ คา่ มาก หากผู้เรียนได้นำไปใช้ ในการประเมินตนเองเพื่อสร้างแรงจูงใจในการปรับปรุงพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น ในกระบวนการประเมินจะมี เครื่องมือประกอบการดำเนินการคือ แบบสํารวจรายการ ประมาณค่า และเกณฑ์การให้ระดับคะแนน (scoring rubic ) 4. พิจารณากระบวนการ วิธีการนี้จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้กระบวนการคิดของผู้เรียน มากกวา่ ที่จะดผู ลงานหรอื การปฏบิ ัติซึง่ จะทำให้เขา้ ใจกระบวนการคิดท่ีผเู้ รียนใช้วธิ ีการที่ครูผูส้ อนใชอ้ ยู่เป็น ประจำในกระบวนการเรียนการสอน คือ การให้นักเรียนคิดดัง ๆ การตั้งคําถามให้นักเรียนตอบ โดยครูจะ เป็นผ้สู งั เกตวิธีการคดิ ของผู้เรยี น วิธกี ารเชน่ นเ้ี ปน็ กระบวนการทีจ่ ะให้ข้อมูลเพ่ือการวนิ ิจฉัย และเปน็ ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน โดย การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเหมาะกับการประเมินพัฒนาการด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ลักษณะนิสัยจากแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินผลการเรียนรู้ดังกล่าวข้างต้นสามารถ นำมาพจิ ารณากำหนดแนวทางการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทักษะทางภาษาไดโ้ ดยการสงั เกตผ่านพฤติกรรมการ ปฏิบัติต่าง ๆ ของผู้เรียน เช่น การเล่าเรื่อง การให้คําชี้แจง การเล่าประสบการณ์การร่วมกิจกรรมต่าง ๆ การปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มหรือบุคคล หากผลการเรียนรู้ที่ต้องการจากการเรียนคือความรู้ความคิดเกี่ยวกับ กฎเกณฑ์ของภาษา การใช้ภาษา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินที่เหมาะสม คือ การใช้ข้อสอบ ซึ่งอาจเป็นแบบ เลือกตอบหรือให้สร้างคําตอบการประเมินด้วยการกำหนดประเด็นการประเมินทีแ่ จกแจงระดับการปฏบิ ัติ (Rubric)Rubric เป็นเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ที่กําลังได้รับการยอมรับและถูกนำมาใช้ในการ ประเมินผลการเรียนอย่างกว้างขวาง เนือ่ งจากผลการประเมินท่ไี ดม้ ีคณุ ค่าตอ่ การปรับปรุงพัฒนาการเรียนรู้ ของผู้เรียนมากกว่าตัวเลขคะแนน และมีประสิทธิภาพสำหรับการประเมินการปฏิบัติหรือผลงานที่ไม่มี คําตอบถูกเพียงคําตอบเดียวหรือการแก้ปัญหาทางเดียว แต่จะมีคําตอบที่หลากหลายการตัดสินผลการ ประเมินจำเป็นต้องมีเกณฑ์การประเมินที่แสดงระดับคุณภาพที่ต้องการการประเมินความสามารถหรือ ทักษะทางภาษา เครื่องมือประเภทนี้น่าจะเป็นเครื่องมือที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างสอดคล้อง แต่เนื่องจาก สรา้ งยากแตห่ ากสามารถพัฒนาขน้ึ ใช้ไดจ้ ะชว่ ยให้ผลการประเมินเทย่ี งตรง เชือ่ ถือได้และยตุ ธิ รรม รวมทั้งมี คุณค่าต่อการปรับปรุงและพัฒนาตนเองของผู้เรียน เนื่องจากระบุความคาดหวังของการปฏิบัติไว้อย่าง ชัดเจน  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑๘ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 3.การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กำหนดเป็นผ่านและไม่ผ่าน ในการผ่านกำหนดเกณฑ์ การตัดสินเปน็ ดีเยยี่ ม ดี และผ่าน และความหมายของแตล่ ะระดบั ดังน้ี ระดบั คุณภาพ ความหมาย (3) ดเี ยีย่ ม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตนตามสมรรถนะจนเป็นนิสัย และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม ดี จำนวน 3-5 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดไดผ้ ลการประเมนิ ตำ่ กวา่ ระดบั ดี (1) หมายถงึ ผูเ้ รยี นมสี มรรถนะในการปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑ์ เพ่ือให้เปน็ การยอมรบั ของ ผา่ น สงั คม โดยพจิ ารณาจาก (0) 1. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดีเย่ยี ม จำนวน 1-2 สมรรถนะ และไม่มี ไมผ่ ่าน สมรรถนะใดไดผ้ ลการประเมินต่ำกว่าระดับดี หรือ 2. ได้ผลการประเมินระดับดเี ยย่ี ม จำนวน 2 สมรรถนะ และ ไม่มี สมรรถนะใดได้ผลการประเมินตำ่ กว่าระดับผา่ น หรือ 3. ได้ผลการประเมินระดับดี จำนวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มสี มรรถนะ ใดไดผ้ ลการประเมินต่ำกว่าระดบั ผ่าน หมายถงึ ผู้เรยี นรบั รู้และปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์และเง่ือนไขท่ีสถานศึกษากำหนด โดย พิจารณาจาก 1.ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จำนวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มี คณุ ลักษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ตำ่ กว่าระดบั ผ่าน หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี จำนวน 2 สมรรถนะ และ ไมม่ สี มรรถนะใด ไดผ้ ลการประเมินตำ่ กว่าระดับผ่าน หมายถงึ ผูเ้ รยี นรับรู้และปฏิบัตไิ ด้ไมค่ รบตามกฎเกณฑ์และเง่อื นไขท่ีกำหนด โดย พิจารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ไม่ผา่ น ตงั้ แต่ 1 สมรรถนะ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพ ให้ 3 คะแนน ดีเย่ียม - พฤตกิ รรมท่ปี ฏบิ ตั ชิ ดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ดี - พฤติกรรมทีป่ ฏิบัติชัดเจนและบอ่ ยคร้งั ให้ 1 คะแนน ผา่ น - พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบัติบางครง้ั ให้ 0 คะแนน ไม่ผา่ น - ไมเ่ คยปฏบิ ตั พิ ฤติกรรม เกณฑ์การสรปุ ผล ดีเยยี่ ม 13-15 คะแนน ดี 9-12 คะแนน ผ่าน 1-8 คะแนน ไมผ่ า่ น 0 คะแนน  ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑๙ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๔.การประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กำหนดเป็นผ่านและไม่ผ่าน ในการผ่านกำหนด เกณฑก์ ารตัดสินเปน็ ดีเยีย่ ม ดี และผา่ น และความหมายของแต่ละระดบั ดังน้ี ระดับคุณภาพ ความหมาย (3) ดีเยยี่ ม ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัยและนําไปใช้ในชีวิตประจ ำวันเพ่ือ (2) ประโยชนส์ ุขของตนเองและสงั คม โดยพิจารณาจากผลการประเมนิ ท้งั 8 คุณลักษณะ ดี คือ ไดร้ ะดับ 3 จำนวน 5-8 คณุ ลักษณะ และไม่มคี ุณลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมินต่ำ กว่าระดับ 2 (1) ผา่ น ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามเกณฑ์ เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของสังคมโดย พจิ ารณาจาก (0) ไมผ่ า่ น 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั 3 จำนวน 1-4 คณุ ลักษณะ และไม่มคี ุณลักษณะ ใดได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดบั 2 หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับ 3 จำนวน 4 คุณลกั ษณะ และไมม่ ีคุณลกั ษณะใด ได้ผลการประเมนิ ต่ำกว่าระดับ 1 หรอื 3. ได้ผลการประเมนิ ระดับ 2 จำนวน 5-8 คุณลกั ษณะ และไม่มคี ุณลักษณะ ใด ไดผ้ ลการประเมินต่ำกว่าระดบั 1 ผูเ้ รียนรับรแู้ ละปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ และเงื่อนไขทีส่ ถานศกึ ษากำหนดโดยพิจารณา จาก 1. ได้ผลการประเมินระดับ 1 จำนวน 5-8 คุณลักษณะ และไม่มคี ุณลกั ษณะ ใดได้ผลการประเมนิ ต่ำกวา่ ระดับ 1 หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมินระดบั 2 จำนวน 4 คณุ ลกั ษณะ และไมม่ ีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับ 1 ผู้เรียนรับรู้และปฏิบตั ิได้ไมค่ รบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีสถานศึกษากำหนด โดย พิจารณาจากผลการประเมินระดับ 0 ตง้ั แต่ 1 คณุ ลักษณะขนึ้ ไป เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ตั ิสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ิบอ่ ยครงั้ ให้ 1 คะแนน พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบัตบิ างคร้งั ให้ 0 คะแนน พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบัติน้อยครงั้  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒๐ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ 5. การตัดสินผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม การตัดสินผลการเรียนให้นำผลการประเมินระหว่างเรียนรวมกับผลการประเมินปลาย ปี โดยใชเ้ กณฑ์ดังนี้ ช่วงคะแนนเปน็ รอ้ ยละ ความหมาย ระดบั ผลการเรียน ๘๐ - ๑๐๐ ผลการเรยี นดเี ย่ยี ม ๔ ๗๕ - ๗๙ ผลการเรียนดมี าก ๓.๕ ๗๐ - ๗๔ ผลการเรยี นดี ๓ ๖๕ - ๖๙ ผลการเรียนคอ่ นขา้ งดี ๒.๕ ๖๐ - ๖๔ ผลการเรยี นปานกลาง ๒ ๕๕ - ๕๙ ผลการเรยี นพอใช้ ๑.๕ ๕๐ - ๕๔ ผลการเรียนผ่านเกณฑข์ ้ันต่ำทก่ี ำหนด ๑ ๐ - ๔๙ ผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ขัน้ ต่ำทีก่ ำหนด ๐ เมอื่ ครผู สู้ อนตัดสินผลการเรียนแลว้ ใหด้ ำเนนิ การดงั น้ี ส่งผลการตัดสินให้อนุกรรมการกลุ่มสาระพิจารณาให้การเห็นชอบ / แก้ไข แล้วส่งให้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพิจารณาเห็นชอบ เพื่อนำเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผล การเรียน ส่งผลการเรียนให้ ครูที่ปรึกษากรอกผลการเรียนลงในแบบ ปพ.๖ และนายทะเบียน วดั ผลกรอกในแบบ ปพ.๑ การให้ผลการเรยี น “ร” 1. การใหผ้ ลการเรียน “ร” หมายถึง ผู้เรยี นท่มี ลี กั ษณะดงั นี้ ๑) ผเู้ รยี นไมไ่ ดร้ บั การประเมิน หรือประเมินแลว้ ไมผ่ ่านเกณฑร์ ะหวา่ งเรยี น ๒) ผู้เรียนไมไ่ ดร้ ับการประเมนิ ปลายภาค 2. วิธีการให้ผลการเรียน “ร” เมื่อผู้สอนพบว่าผู้เรียนไม่ได้เข้ารับการประเมินผล ระหว่างเรียนหรือปลายภาค ให้ผู้สอนรายงานพร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณาเสนอผู้บริหารเพ่ือ อนุมัติผลการเรยี น “ร” แลว้ ประกาศผลให้นกั เรยี นทราบ การให้ผลการเรียน “มส” 1. การให้ผลการเรียน “มส” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลา ทั้งหมด 2. วิธีการให้ผลการเรียน “มส” ให้ผู้สอนรายงานพร้อมแนบเวลาเรียนของผู้เรียน เสนอผบู้ รหิ ารเพ่ืออนุมตั ผิ ลการเรียน “มส” ก่อนประเมินผลปลายภาค ๒ สัปดาห์  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ การแกไ้ ข “๐” 1. ผู้เรียนนำใบแจ้งความจำนงการแก้ไข “๐” พบครผู สู้ อนประจำวิชา 2. ผู้สอนดำเนินการพัฒนาผู้เรียนในผลการเรียนรู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จนผู้เรียนสามารถ บรรลุผลตามเกณฑท์ กี่ ำหนดไว้ โดยให้ผลการเรยี นไม่เกิน “๑” 3. ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแกไ้ ข “๐” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนเพื่อเสนอต่อ ผูบ้ รหิ ารอนุมตั ิ และแจ้งผเู้ กย่ี วขอ้ ง การแก้ไข “ร” 1. ผเู้ รียนนำใบแจ้งความจำนงการแกไ้ ข “ร” พบครผู สู้ อนประจำวชิ า 2. ผู้สอนดำเนินการตามสาเหตุของผลการเรียน “ร” นั้นๆ โดยให้ผลการเรียนตาม เกณฑ์ข้อ ๔ 3. ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “ร” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ กรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการเหน็ ชอบ เพ่อื เสนอต่อผูบ้ รหิ ารอนมุ ตั ิ แล้วแจ้งผู้เก่ียวข้อง การแกไ้ ข “มส” 1. ผเู้ รยี นนำใบแจง้ ความจำนงไปพบครูผู้สอนประจำวิชา 2. ผู้สอนพิจารณาว่าผู้เรียนมีข้อบกพร่องอะไร ให้ดำเนินการพัฒนาแก้ไขในสิ่งนั้นจน บรรลเุ กณฑ์ขน้ั ตำ่ ทีก่ ำหนดไว้ โดยให้ผลการเรยี นไม่เกิน “๑” 3.ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “มส” ส่งงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการเหน็ ชอบ เพื่อเสนอผู้บรหิ ารอนมุ ตั ิ แลว้ แจง้ ผ้เู กยี่ วข้อง การแก้ไข “๐” “ร” และ “มส” ให้ดำเนินการตามประกาศโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุง ราษฎร์) เร่ือง แนวทางการปฏบิ ตั ิการดำเนนิ การสอบแกต้ วั 6. การประเมิน การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น จำนวน ๓ ข้อ คือ ๑. อา่ นและเข้าใจ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ไดอ้ ย่างมีเหตุผลเปน็ ระบบ และ เขยี นเสนอความคดิ ได้ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑ เขียนรายงานเรอื่ งทีศ่ ึกษาค้นควา้ ได้ ตัวบง่ ชี้ที่ ๒ ตอบคำถามจากเร่อื งทศี่ ึกษาค้นคว้าได้ ตวั บ่งชีท้ ่ี ๓ เขียนแสดงความคิดเหน็ จากเรื่องท่อี ่านได้ ตวั บ่งชที้ ่ี ๔ เขยี นสรปุ จากเรอื่ งท่ีอา่ นได้ ๒. นำความรคู้ วามเขา้ ใจท่ีได้จากการอา่ นไปใช้ในการแก้ปัญหา ตดั สินใจ คาดคะเน เรอ่ื งราวหรือเหตุการณ์ และสรุปเป็นแนวปฏบิ ัตไิ ด้ ตวั บ่งชี้ท่ี ๑ ทำโครงงาน / รายงานในเรอื่ งที่สนใจไดต้ ามศักยภาพ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๒ นำเสนอโครงงาน / รายงานได้ตามศกั ยภาพ ตวั บ่งชท้ี ่ี ๓ เนือ้ หาในการทำโครงงาน / รายงานสอดคล้องกับเรื่องที่เรียน ตวั บ่งชท้ี ่ี ๔ เขยี นขน้ั ตอนในการปฏบิ ัติงานได้  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๓. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถเขยี นถา่ ยทอดความคิดเพ่ือการสื่อสารได้ ตัวบง่ ช้ีที่ ๑ เขยี นเรื่องราวเชิงสรา้ งสรรค์ได้ตามศักยภาพ ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๒ เขยี น / วาดภาพจากจินตนาการในเร่ืองทตี่ นสนใจได้ แนวทางและวิธีการประเมิน การประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน โรงเรียนจะใช้แนวทางการวัด และการประเมินจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement) จึงกำหนดแนวทาง และวธิ กี ารประเมินใหค้ รผู ู้สอนทกุ กลุ่มสาระการเรียนรนู้ ำไปใชใ้ นการประเมินดงั น้ี ๑. วธิ กี ารประเมิน ๑.๑ ความสามารถจรงิ ของผูเ้ รยี นในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางการเรยี นรายวชิ าตา่ งๆ ใน ส่วนทเ่ี ก่ียวกบั การอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน โดยการสงั เกตของครู ๑.๒ มอบหมายให้ผู้เรยี นไปศึกษาค้นคว้า แล้วเขียนเป็นรายงาน ๑.๓ ผลงานเชงิ ประจกั ษ์ต่างๆ เกีย่ วกับการอา่ น การคิด การวเิ คราะห์ และเขียนท่ี รวบรวมและนำเสนอในรูปของแฟ้มสะสมงาน ๑.๔ การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบแบบเขยี นตอบ หรอื เขียนเรียงความ ๑.๕ การเขยี นรายงานจากการปฏบิ ัติโครงงาน ๒. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงาน : การเขียนจากการอา่ น คดิ วิเคราะห์ ๒.๑ การใชก้ ระบวนการอา่ นอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๒.๒ การแสดงความคิดเหน็ อย่างมวี ิจารณญาณ ๒.๓ ใช้กระบวนการเขียนสือ่ ความอยา่ งมีประสิทธิภาพ ๓. เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ : การอ่าน ระดบั ดีเยีย่ ม ระบสุ าระของเร่ืองท่ีอา่ นไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น ลำดบั เรอ่ื งท่ีอา่ นได้ถูกต้อง ระบุประเดน็ สำคญั ของเร่ืองที่อ่านได้ถกู ต้อง ระบจุ ุดมุง่ หมาย และเจตคติ ของผเู้ ขียน ดี ระบสุ าระของเร่ืองที่อา่ นได้ถูกตอ้ งครบถว้ น ลำดับเรอื่ งท่ีอ่านได้ถกู ต้อง ระบปุ ระเด็นสำคัญของเรื่องที่อา่ นได้ถกู ต้อง ระบจุ ุดมงุ่ หมาย และเจตคติ ของผ้เู ขียนไม่ครบถว้ น ผ่าน ระบสุ าระของเรื่องท่ีอ่านได้ถูกต้องครบถ้วน ลำดับเรอ่ื งท่ีอ่านค่อนขา้ งถูกตอ้ ง ระบุประเดน็ สำคัญของเร่ืองที่อ่านได้ไมส่ มบูรณ์ ระบุจดุ มุ่งหมาย และเจตคติ ของผู้เขยี นเพยี งเล็กน้อย ไม่ผา่ น ระบสุ าระของเร่ืองที่อา่ นไดไ้ ม่ครบถ้วน ลำดบั เรอ่ื งท่ีอา่ นผิดพลาดเล็กน้อย ระบปุ ระเด็นสำคญั ของเร่ืองท่ีอา่ นไมถ่ ูกต้อง ไมร่ ะบจุ ุดมุ่งหมาย และเจตคติ ของผเู้ ขยี น  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ เกณฑร์ ะดับคุณภาพ : การคดิ วเิ คราะห์ ระดับ ดเี ย่ียม แสดงความคดิ เห็นชัดเจน มีเหตุผลระบขุ อ้ มลู สนบั สนนุ ทน่ี ่าเช่อื ถือมคี วามคิด ทแี่ ปลกใหม่ เป็นประโยชนต์ อ่ สังคมโดยสว่ นรวม ดี แสดงความคิดเห็นค่อนขา้ งชัดเจน มีเหตุผลระบขุ ้อมลู สนับสนุนมีความคดิ ที่เป็นประโยชนต์ อ่ สังคมโดยสงั คมรอบข้างตนเอง ผ่าน แสดงความคดิ เหน็ ทมี่ ีเหตุผลระบขุ ้อมูลสนับสนนุ ทีพ่ อรับได้มีความคดิ ท่เี ป็น ประโยชนต์ ่อตนเอง ไม่ผา่ น แสดงความคิดเห็นมเี หตุผลไม่ชัดเจน ขาดขอ้ มูลสนบั สนุน มีความคิดท่ยี งั มองไม่เห็นประโยชน์ท่ชี ัดเจน เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ : การเขยี น ระดับ ดีเยยี่ ม มีจดุ ประสงค์ในการเขียนชดั เจนไดเ้ น้อื หาสาระ รูปแบบการเขยี นถูกต้องมี ข้นั ตอนการเขยี นชัดเจนง่ายต่อการติดตาม ใชไ้ วยากรณแ์ ละสะกดคำถูกต้อง พัฒนาสำนวนภาษาทสี่ ื่อความหมายได้ชดั เจนกะทัดรดั ดี มจี ดุ ประสงค์ในการเขียนชดั เจนไดเ้ นื้อหาสาระ รูปแบบการเขียนถูกต้องมี ขน้ั ตอนการเขยี นชัดเจนง่ายต่อการตดิ ตาม ใช้ไวยากรณแ์ ละสะกดคำผิดพลาด ไม่เกนิ ๓ แห่ง พัฒนาสำนวนภาษาที่สอ่ื ความหมายได้ชัดเจน ผ่าน มีจดุ ประสงค์ในการเขียนชดั เจนและค่อนข้างไดเ้ นื้อหาสาระ รูปแบบการเขยี น ถูกต้องมีขน้ั ตอนการเขียนชัดเจนง่ายตอ่ การตดิ ตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำ ผิดพลาดมากกว่า ๓ แห่ง ขาดการพัฒนาสำนวนภาษาทสี่ ื่อความหมายได้ ชดั เจน ไม่ผ่าน ขาดจุดประสงค์ในการเขียนและเน้อื หาสาระนอ้ ย ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำ ผิดพลาดมาก ขาดการพัฒนาสำนวนภาษาทส่ี ่อื ความหมาย การสรุปผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน 1. ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ เขียน มาเป็นระดับคุณภาพของแต่ละรายวชิ า 2. ให้คิดค่าฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ของ แตล่ ะรายวชิ า สรุปเปน็ ผลการประเมนิ การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ของผเู้ รียนรายบคุ คล เกณฑก์ ารตัดสนิ ความสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน 1. ระดับปีการศึกษา ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน อยู่ ในระดับคุณภาพ ผ่าน ขนึ้ ไปถือวา่ ผ่าน 2. การเลื่อนชั้น / จบหลักสูตร ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ เขียน ผา่ นทกุ รายภาค  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ อภิธานศัพท์ กระบวนการเขียน กระบวนการเขียนเป็นการคิดเรื่องที่จะเขียนและรวบรวมความรู้ในการเขียน กระบวนการเขียน มี 5 ขนั้ ดังนี้ 1. การเตรยี มการเขียน เปน็ ขนั้ เตรียมพรอ้ มทจ่ี ะเขียนโดยเลอื กหวั ข้อเรอื่ งที่จะเขียนบนพ้ืนฐาน ของประสบการณ์ กำหนดรูปแบบการเขียน รวบรวมความคิดในการเขียน อาจใช้วิธีการอ่านหนังสือ สนทนา จดั หมวดหมคู่ วามคดิ โดยเขียนเป็นแผนภาพความคดิ จดบนั ทึกความคิดท่จี ะเขียนเป็นรูปหัวข้อ เรือ่ งใหญ่ หวั ขอ้ ยอ่ ย และรายละเอยี ดคร่าว ๆ 2. การยกรา่ งข้อเขียน เมื่อเตรยี มหวั ขอ้ เร่ืองและความคิดรูปแบบการเขียนแลว้ ใหน้ ำความคิด มาเขียนตามรูปแบบท่กี ำหนดเปน็ การยกร่างขอ้ เขยี น โดยคำนึงถงึ ว่าจะเขียนใหใ้ ครอา่ น จะใช้ภาษาอย่างไรให้เหมาะสมกับเรื่องและเหมาะกับผู้อื่น จะเริ่มต้นเขียนอย่างไร มีหัวข้อเรื่องอย่างไร ลำดบั ความคดิ อยา่ งไร เชอ่ื มโยงความคิดอย่างไร 3. การปรับปรุงข้อเขียน เมื่อเขียนยกร่างแล้วอ่านทบทวนเรื่องที่เขียน ปรับปรุงเรื่องที่เขียน เพม่ิ เติมความคดิ ใหส้ มบูรณ์ แกไ้ ขภาษา สำนวนโวหาร นำไปใหเ้ พื่อนหรือผ้อู ่ืนอา่ น นำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงอกี ครง้ั 4. การบรรณาธิการกิจ นำขอ้ เขยี นที่ปรบั ปรุงแลว้ มาตรวจทานคำผิด แกไ้ ขใหถ้ ูกต้อง แล้วอา่ นตรวจทานแกไ้ ขขอ้ เขียนอีกครั้ง แกไ้ ขข้อผิดพลาดท้ังภาษา ความคดิ และการเวน้ วรรคตอน 5. การเขยี นให้สมบูรณ์ นำเรือ่ งที่แกไ้ ขปรับปรุงแล้วมาเขยี นเรอื่ งให้สมบูรณ์ จดั พิมพ์ วาดรปู ประกอบ เขยี นใหส้ มบูรณ์ดว้ ยลายมือทสี่ วยงามเป็นระเบียบ เมอื่ พิมพ์หรือเขียนแล้วตรวจทานอีก ครง้ั ให้สมบรู ณก์ ่อนจดั ทำรปู เลม่ กระบวนการคิด การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็นกระบวนการคิด คนที่จะคิดได้ดีต้องเป็นผู้ฟัง ผู้ พูด ผู้อ่าน และผู้เขยี นที่ดี บุคคลที่จะคิดได้ดีจะต้องมคี วามรู้และประสบการณ์พ้ืนฐานในการคิด บุคคล จะมีความสามารถในการรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า จะต้องมี ความรู้และประสบการณ์พื้นฐานที่นำมาช่วยในการคิดทั้งสิ้น การสอนให้คิดควรให้ผู้เรียนรู้จักคัดเลือก ข้อมูล ถ่ายทอด รวบรวม และจำข้อมูลต่าง ๆ สมองของมนุษย์จะเป็นผู้บริโภคข้อมูลข่าวสาร และ สามารถแปลความข้อมูลข่าวสาร และสามารถนำมาใช้อ้างอิง การเป็นผูฟ้ งั ผพู้ ูด ผ้อู ่าน และผู้เขียนที่ดี จะต้องสอนให้เป็นผู้บริโภคข้อมูลข่าวสารที่ดแี ละเป็นนักคิดที่ดีด้วย กระบวนการสอนภาษาจึงต้องสอนให้ ผู้เรียนเป็นผู้รับรู้ข้อมูลข่าวสารและมีทักษะการคิด นำข้อมูลข่าวสารที่ได้จากการฟังและการอ่านนำมาสู่ การฝึกทักษะการคิด การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน มาสอนในรูปแบบบูรณาการทักษะ ตัวอย่างเช่น การเขียนเป็นกระบวนการคิดในการวิเคราะห์ การแยกแยะ การสังเคราะห์ การประเมินค่า การสร้างสรรค์ ผู้เขียนจะนำความรู้และประสบการณ์สู่การคิดและแสดงออกตามความคิดของตนเสมอ ต้องเป็นผ้อู า่ นและผฟู้ งั เพ่ือรบั รู้ขา่ วสารทจ่ี ะนำมาวิเคราะห์และสามารถแสดงทรรศนะได้  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ กระบวนการอา่ น การอ่านเป็นกระบวนการซึ่งผู้อ่านสร้างความหมายหรือพัฒนา การตีความระหว่างการอ่านผู้อ่าน จะตอ้ งรูห้ ัวขอ้ เร่ือง รู้จุดประสงค์ของการอ่าน มีความรทู้ างภาษาที่ใกล้เคียงกบั ภาษาที่ใช้ในหนังสือที่อ่าน โดยใชป้ ระสบการณ์เดมิ เป็นประสบการณ์ทำความเขา้ ใจกับเร่ืองทีอ่ า่ น กระบวน การอ่านมดี ังนี้ 1. การเตรยี มการอ่าน ผ้อู ่านจะต้องอ่านช่ือเรื่อง หวั ขอ้ ย่อยจากสารบญั เรือ่ ง อา่ นคำนำ ให้ทราบจุดมุ่งหมายของหนังสือ ตั้งจุดประสงค์ของการอ่านจะอ่านเพื่อความเพลิดเพลินหรืออ่านเพื่อ หาความรู้ วางแผนการอ่านโดยอ่านหนังสือตอนใดตอนหนึ่งว่าความยากง่ายอย่างไร หนังสือมีความยาก มากน้อยเพยี งใด รปู แบบของหนังสอื เปน็ อยา่ งไร เหมาะกับผูอ้ า่ นประเภทใด เดาความวา่ เปน็ เรือ่ งเกยี่ วกับอะไร เตรียมสมดุ ดนิ สอ สำหรับจดบันทกึ ขอ้ ความหรือเนือ้ เรอ่ื งทส่ี ำคัญขณะอ่าน 2. การอ่าน ผู้อ่านจะอ่านหนงั สือให้ตลอดเล่มหรือเฉพาะตอนที่ต้องการอ่าน ขณะอ่านผู้อ่านจะ ใช้ความรู้จากการอ่านคำ ความหมายของคำมาใชใ้ นการอ่าน รวมทั้งการร้จู กั แบ่งวรรคตอนดว้ ย การอ่าน เร็วจะมีสว่ นช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเรือ่ งได้ดีกวา่ ผอู้ ่านช้า ซ่ึงจะสะกดคำอา่ นหรอื อา่ นย้อนไปย้อนมา ผอู้ ่านจะ ใชบ้ ริบทหรือคำแวดล้อมช่วยในการตีความหมายของคำเพื่อทำความเข้าใจเรื่องที่อ่าน 3. การแสดงความคิดเห็น ผู้อ่านจะจดบันทึกข้อความที่มีความสำคัญ หรือเขียนแสดง ความ คิดเห็น ตีความข้อความที่อ่าน อ่านซ้ำในตอนที่ไม่เข้าใจเพื่อทำความเข้าใจให้ถูกต้องขยายความคิดจาก การอ่าน จับคกู่ บั เพ่ือนสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ตั้งขอ้ สงั เกตจากเรือ่ งที่อ่าน ถา้ เป็นการอ่านบทกลอนจะตอ้ งอา่ นทำนองเสนาะดัง ๆ เพอ่ื ฟังเสียงการอา่ นและเกดิ จนิ ตนาการ 4. การอ่านสำรวจ ผอู้ ่านจะอ่านซำ้ โดยเลอื กอา่ นตอนใดตอนหน่ึง ตรวจสอบคำและภาษา ที่ใช้ สำรวจโครงเรื่องของหนังสือเปรียบเทียบหนังสือที่อ่านกับหนังสือที่เคยอ่าน สำรวจและเชื่อมโยง เหตกุ ารณใ์ นเรือ่ งและการลำดบั เรื่อง และสำรวจคำสำคญั ทใ่ี ช้ในหนงั สือ 5. การขยายความคิด ผู้อ่านจะสะท้อนความเข้าใจในการอ่าน บันทึกข้อคิดเห็น คุณค่าของ เรือ่ ง เชอ่ื มโยงเรอื่ งราวในเรอ่ื งกับชีวิตจรงิ ความร้สู ึกจากการอ่าน จดั ทำโครงงานหลักการอา่ น เช่น วาด ภาพ เขียนบทละคร เขียนบันทึกรายงานการอ่าน อ่านเรื่องอื่น ๆ ที่ผู้เขียนคนเดียวกันแต่ง อ่านเรื่อง เพิม่ เติม เรอื่ งทเี่ กี่ยวโยงกับเรื่องท่ีอ่าน เพ่ือให้ได้ความรทู้ ่ีชดั เจนและกวา้ งขวางข้นึ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ การเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการเขียนโดยใช้ความรู้ ประสบการณ์ และจินตนาการในการเขียน เช่น การเขียนเรียงความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย และบทร้อยกรอง การเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ผู้เขียน จะต้องมีความคิดดี มีจินตนาการดี มีคลังคำอย่างหลากหลาย สามารถนำคำมาใช้ในการเขยี นต้องใช้ เทคนคิ การเขียน และใชถ้ อ้ ยคำอย่างสละสลวย  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒๖ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ การดู การดเู ปน็ การรับสารจากส่อื ภาพและเสยี ง และแสดงทรรศนะไดจ้ ากการรบั รู้สาร ตีความ แปลความ วิเคราะห์ และประเมินคุณค่าสารจากสื่อ เช่น การดูโทรทัศน์ การดูคอมพิวเตอร์ การดู ละคร การดูภาพยนตร์ การดูหนังสือการ์ตูน (แม้ไม่มีเสียงแต่มีถ้อยคำอ่านแทนเสยี งพูด) ผู้ดูจะต้องรับรู้ สาร จากการดูและนำมาวิเคราะห์ ตีความ และประเมินคุณค่าของสารที่เป็นเนื้อเรื่องโดยใช้หลักการ พิจารณาวรรณคดีหรือการวิเคราะห์วรรณคดีเบื้องต้น เช่น แนวคิดของเรื่อง ฉากที่ประกอบเรื่อง สมเหตุสมผล กิริยาท่าทาง และการแสดงออกของตัวละครมีความสมจริงกับบทบาท โครงเรื่อง เพลง แสง สี เสียง ที่ใช้ประกอบการแสดงให้อารมณ์แก่ผู้ดูสมจริงและสอดคล้องกับยุคสมัยของเหตุการณ์ที่ จำลองสูบ่ ทละคร คุณคา่ ทางจริยธรรม คุณธรรม และคุณค่าทางสังคมทม่ี อี ิทธิพลต่อผู้ดหู รือผู้ชม ถา้ เปน็ การดูข่าวและเหตุการณ์ หรือการอภิปราย การใช้ความรู้หรือเรื่องที่เป็นสารคดี การโฆษณาทางส่ือ จะต้องพิจารณาเนื้อหาสาระว่าสมควรเชื่อถือได้หรือไม่ เป็นการโฆษณาชวนเชื่อหรือไม่ ความคิดสำคัญ และมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้มาก และการดูละครเวที ละครโทรทัศน์ ดูข่าวทางโทรทัศน์จะเป็นประโยชน์ ได้รบั ความสนกุ สนาน ตอ้ งดแู ละวิเคราะห์ ประเมินค่า สามารถแสดงทรรศนะของตนไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล การตีความ การตีความเป็นการใช้ความรู้และประสบการณ์ของผู้อ่านและการใช้บริบท ได้แก่ คำที่แวดล้อม ขอ้ ความ ทำความเข้าใจขอ้ ความหรอื กำหนดความหมายของคำให้ถูกต้อง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายว่า การตีความหมาย ชี้หรือกำหนด ความหมาย ใหค้ วามหมายหรืออธิบาย ใช้หรอื ปรบั ให้เขา้ ใจเจตนา และความมุ่งหมาย เพอ่ื ความถูกต้อง การเปลี่ยนแปลงของภาษา ภาษาย่อมมีการเปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลา คำคำหนึ่งในสมยั หนงึ่ เขียนอยา่ งหน่ึง อกี สมยั หนึง่ เขียน อีกอย่างหนึ่ง คำว่า ประเทศ แต่เดิมเขียน ประเทษ คำว่า ปักษ์ใต้ แต่เดิมเขียน ปักใต้ ในปัจจุบัน เขียน ปักษ์ใต้ คำว่า ลุ่มลึก แต่ก่อนเขียน ลุ่มฦก ภาษาจึงมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งความหมายและการ เขยี น บางครั้งคำบางคำ เช่น คำวา่ หลอ่ น เป็นคำสรรพนามแสดงถงึ คำพดู สรรพนามบุรุษที่ 3 ท่เี ปน็ คำสุภาพ แต่เด๋ียวน้ีคำว่า หลอ่ น มคี วามหมายในเชงิ ดูแคลน เปน็ ต้น การสรา้ งสรรค์ การสร้างสรรค์ คือ การรู้จักเลือกความรู้ ประสบการณ์ที่มีอยู่เดิมมาเป็นพื้นฐานในการสร้าง ความรู้ ความคิดใหม่ หรือสิ่งแปลกใหม่ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิม บุคคลที่จะมี ความสามารถในการสร้างสรรค์จะต้องเป็นบุคคลที่มีความคิดอิสระอยู่เสมอ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มอง โลกในแง่ดี คิดไตร่ตรอง ไม่ตัดสินใจสิ่งใดง่ายๆ การสร้างสรรค์ของมนุษย์จะเกี่ยวเนื่องกันกับความคิด การพดู การเขียน และการกระทำเชิงสร้างสรรค์ ซง่ึ จะต้องมกี ารคดิ เชิงสร้างสรรค์เป็นพ้นื ฐาน  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒๗ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ความคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นความคิดที่พัฒนามาจากความรู้และประสบการณ์เดิม ซึ่งเป็น ปจั จยั พ้นื ฐานของการพดู การเขียน และการกระทำเชงิ สร้างสรรค์ การพูดและการเขียนเชิงสร้างสรรค์เป็นการแสดงออกทางภาษาที่ใช้ภาษาขัดเกลาให้ไพเราะ งดงาม เหมาะสม ถูกต้องตามเนือ้ หาที่พูดและเขียน การกระทำเชิงสร้างสรรค์เป็นการกระทำท่ีไม่ซ้ำแบบเดิมและคดิ ค้นใหม่แปลกไปจากเดมิ และเปน็ ประโยชนท์ ส่ี ูงขนึ้ ขอ้ มูลสารสนเทศ ข้อมูลสารสนเทศ หมายถึง เรื่องราว ข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถสื่อ ความหมายด้วยการพูดบอกเล่า บันทึกเป็นเอกสาร รายงาน หนังสือ แผนที่ แผนภาพ ภาพถ่าย บันทึกด้วยเสียงและภาพ บันทึกด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นการเก็บเรื่องราวต่าง ๆ บันทึกไว้เป็น หลักฐานด้วยวธิ ตี ่าง ๆ ความหมายของคำ คำท่ีใชใ้ นการติดต่อส่ือสารมีความหมายแบง่ ได้เปน็ 3 ลกั ษณะ คอื 1. ความหมายโดยตรง เปน็ ความหมายทใ่ี ช้พูดจากันตรงตามความหมาย คำหนงึ่ ๆ น้ัน อาจมี ความหมายได้หลายความหมาย เช่น คำว่า กา อาจมีความหมายถึง ภาชนะใส่น้ำ หรืออาจหมายถึง นกชนิดหนึง่ ตวั สีดำ ร้อง กา กา เป็นความหมายโดยตรง 2. ความหมายแฝง คำอาจมีความหมายแฝงเพิ่มจากความหมายโดยตรง มักเป็นความหมาย เกี่ยวกับความรู้สึก เช่น คำว่า ขี้เหนียว กับ ประหยัด หมายถึง ไม่ใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย เป็ น ความหมายตรงแต่ความรู้สึกตา่ งกัน ประหยัดเปน็ สิ่งดีแตข่ เี้ หนยี วเป็นสงิ่ ไม่ดี 3. ความหมายในบริบท คำบางคำมีความหมายตรงเมื่อร่วมกับคำอื่นจะมีความหมายเพิ่มเติม กว้างขึ้นหรือแคบลงได้ เช่น คำว่า ดี เด็กดี หมายถึง ว่านอนสอนง่าย เสียงดี หมายถึง ไพเราะ ดนิ สอดี หมายถงึ เขียนได้ดี สขุ ภาพดี หมายถงึ ไม่มีโรค ความหมายบรบิ ทเปน็ ความหมายเช่นเดียวกับ ความหมายแฝง คุณค่าของงานประพนั ธ์ เมื่อผู้อ่านอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรมแล้วจะต้องประเมินงานประพันธ์ ให้เห็นคุณค่าของงาน ประพันธ์ ทำให้ผู้อ่านอ่านอย่างสนุก และได้รับประโยชน์จาการอ่านงานประพันธ์ คุณค่าของงาน ประพันธ์แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประการ คือ 1. คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ ถา้ อา่ นบทร้อยกรองกจ็ ะพจิ ารณากลวธิ กี ารแต่ง การเลอื กเฟ้นถ้อยคำ มาใช้ได้ไพเราะ มีความคิดสร้างสรรค์ และให้ความสะเทือนอารมณ์ ถ้าเป็นบทร้อยแก้วประเภทสารคดี รูปแบบการเขียนจะเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง วิธีการนำเสนอน่าสนใจ เนื้อหามีความถูกต้อง ใช้ภาษา สละสลวยชัดเจน การนำเสนอมีความคดิ สร้างสรรค์ ถ้าเป็นรอ้ ยแก้วประเภทบนั เทิงคดี องค์ประกอบของ เรื่องไม่ว่าเรื่องสั้น นวนิยาย นิทาน จะมีแก่นเรื่อง โครงเรื่อง ตัวละครมีความสัมพันธ์กัน กลวิธีการ  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ แต่งแปลกใหม่น่าสนใจ ปมขัดแย้งในการแต่งสร้างความสะเทือนอารมณ์ การใช้ถ้อยคำสร้างภาพได้ ชัดเจน คำพูดในเรือ่ งเหมาะสมกับบคุ ลิกของตวั ละครมีความคดิ สรา้ งสรรคเ์ กย่ี วกบั ชีวิตและสงั คม 2. คุณค่าด้านสังคม เป็นคุณค่าทางด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ ชีวิต ความเป็นอย่ขู องมนุษย์ และคณุ คา่ ทางจรยิ ธรรม คณุ คา่ ด้านสงั คม เปน็ คณุ คา่ ที่ผอู้ ่านจะเข้าใจชีวิต ทั้งในโลกทัศน์และชีวทัศน์ เข้าใจการดำเนินชวี ิตและเข้าใจเพื่อนมนุษย์ดีข้นึ เน้อื หาย่อมเก่ียวข้องกับการ ชว่ ยจรรโลงใจแก่ผูอ้ ่าน ชว่ ยพัฒนาสงั คม ช่วยอนุรกั ษ์สงิ่ มคี ุณค่าของชาติบา้ นเมือง และสนับสนนุ คา่ นยิ ม อันดีงาม โครงงาน โครงงานเป็นการจัดการเรียนร้วู ธิ ีหน่ึงท่สี ่งเสริมให้ผูเ้ รยี นเรียนด้วยการค้นคว้า ลงมือปฏิบัติจริง ใน ลักษณะของการสำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น ผู้เรียนจะรวบรวมข้อมูล นำมาวิเคราะห์ ทดสอบเพ่อื แก้ปัญหาข้องใจ ผเู้ รียนจะนำความรจู้ ากช้นั เรยี นมาบูรณาการในการแก้ปัญหา คน้ หาคำตอบ เป็นกระบวนการค้นพบนำไปสู่การเรียนรู้ ผู้เรียนจะเกิดทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการจัดการ ผูส้ อนจะเข้าใจผ้เู รียน เหน็ รูปแบบการเรียนรู้ การคดิ วิธีการทำงานของผ้เู รียน จากการสงั เกตการทำงาน ของผู้เรียน การเรียนแบบโครงงานเป็นการเรียนแบบศึกษาค้นคว้าวิธีการหนึ่ง แต่เป็นการศึกษาค้นคว้าที่ใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนมีเหตุผล สรุป เรื่องราวอย่างมีกฎเกณฑ์ ทำงานอย่างมีระบบ การเรียนแบบโครงงานไม่ใช่การศึกษาค้นคว้าจั ดทำ รายงานเพยี งอย่างเดียว ต้องมกี ารวิเคราะหข์ อ้ มลู และมีการสรุปผล ทกั ษะการส่อื สาร ทักษะการสื่อสาร ได้แก่ ทักษะการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน ซึ่งเป็นเครื่องมือของ การส่งสารและการรับสาร การส่งสาร ได้แก่ การส่งความรู้ ความเชื่อ ความคิด ความรู้สึกด้วยการพูด และการเขียน สว่ นการรบั สาร ได้แก่ การรบั ความรู้ ความเชอื่ ความคดิ ด้วยการอ่านและการฟัง การ ฝกึ ทักษะการสื่อสารจงึ เป็นการฝึกทักษะการพดู การฟงั การอา่ น และการเขยี น ใหส้ ามารถรับสารและ ส่งสารอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ธรรมชาตขิ องภาษา ธรรมชาติของภาษาเป็นคณุ สมบตั ิของภาษาที่สำคัญ มีคุณสมบัติพอสรุปได้ คือ ประการที่หน่งึ ทุกภาษาจะประกอบด้วยเสียงและความหมาย โดยมีระเบยี บแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ในการใช้ อยา่ งเป็นระบบ ประการที่สอง ภาษามีพลังในการงอกงามมิรู้สิ้นสุด หมายถึง มนุษย์สามารถใช้ภาษา สื่อความหมายได้ โดยไม่สิ้นสุด ประการที่สาม ภาษาเป็นเรื่องของการใช้สัญลักษณ์ร่วมกันหรือสมมติร่วมกัน และมีการ รับรู้สัญลักษณ์หรือสมมติร่วมกนั เพื่อสร้างความเข้าใจตรงกัน ประการที่ส่ี ภาษาสามารถใช้ภาษาพูดใน การติดต่อสื่อสาร ไม่จำกัดเพศของผู้ส่งสาร ไม่ว่าหญิง ชาย เด็ก ผู้ใหญ่ สามารถผลัดกันในการส่งสาร และรบั สารได้ ประการท่ีหา้ ภาษาพูดย่อมใช้ได้  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ท้ังในปจั จบุ ัน อดตี และอนาคต ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ ประการทีห่ ก ภาษาเปน็ เคร่อื งมอื การถ่ายทอด วัฒนธรรม และวชิ าความรูน้ านาประการ ทำให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมและ การสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ แนวคิดในวรรณกรรม แนวคิดในวรรณกรรมหรือแนวเรื่องในวรรณกรรมเป็นความคิดสำคัญในการผูกเรื่องให้ ดำเนิน เรื่องไปตามแนวคิด หรือเป็นความคิดท่ีสอดแทรกในเรื่องใหญ่ แนวคิดย่อมเกี่ยวข้องกับมนุษย์และสังคม เปน็ สารทีผ่ เู้ ขยี นส่งใหผ้ อู้ ่าน เช่น ความดยี อ่ มชนะความชั่ว ทำดีได้ดที ำชว่ั ได้ช่ัว ความยตุ ธิ รรมทำให้โลก สันติสุข คนเราพ้นความตายไปไม่ได้ เป็นต้น ฉะนั้นแนวคิดเป็นสารที่ผู้เขียนต้องการส่งให้ผู้อื่นทราบ เช่น ความดี ความยุติธรรม ความรัก เปน็ ต้น บรบิ ท บริบทเป็นคำที่แวดล้อมข้อความที่อ่าน ผู้อ่านจะใช้ความรู้สึกและประสบการณ์มากำหนด ความหมายหรือความเข้าใจ โดยนำคำแวดล้อมมาช่วยประกอบความรู้และประสบการณ์ เพื่อทำ ความ เข้าใจหรอื ความหมายของคำ พลังของภาษา ภาษาเป็นเครื่องมือในการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึงสามารถเรียนรู้ภาษาเพื่อการดำรงชีวิต เป็นเครื่องมือของการสื่อสารและสามารถพัฒนาภาษาของตนได้ ภาษาช่วยให้คนรู้จักคิดและแสดงออก ของความคิดด้วยการพูด การเขียน และการกระทำซึ่งเป็นผลจากการคิด ถ้าไม่มีภาษา คนจะคิดไม่ได้ ถ้าคนมีภาษาน้อย มีคำศัพท์น้อย ความคิดของคนก็จะแคบไม่กว้างไกล คนที่ใช้ภาษาได้ดีจะมีความคิดดี ด้วย คนจะใช้ความคิดและแสดงออกทางความคิดเป็นภาษา ซึ่งส่งผลไปสู่การกระทำ ผลของการกระทำ ส่งผลไปสู่ความคดิ ซึง่ เปน็ พลังของภาษา ภาษาจงึ มีบทบาทสำคญั ต่อมนุษย์ ชว่ ยใหม้ นษุ ยพ์ ฒั นาความคิด ช่วยดำรงสังคมให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข มีไมตรีต่อกัน ช่วยเหลือกันด้วยการใช้ภาษา ตดิ ต่อส่ือสารกัน ชว่ ยใหค้ นปฏบิ ัตติ นตามกฎเกณฑ์ของสงั คม ภาษาชว่ ยให้มนษุ ย์เกิดการพฒั นา ใช้ภาษา ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายโต้แย้ง เพื่อนำไปสู่ผลสรุป มนุษย์ใช้ภาษาในการเรียนรู้ จด บันทึกความรู้ แสวงหาความรู้ และช่วยจรรโลงใจ ด้วยการอ่านบทกลอน ร้องเพลง ภาษายังมีพลังในตัว ของมันเอง เพราะภาพย่อมประกอบดว้ ยเสยี งและความหมาย การใชภ้ าษาใช้ถ้อยคำทำให้เกิดความรู้สึกต่อ ผู้รับสาร ให้เกิดความจงเกลียดจงชังหรือเกิด ความชื่นชอบ ความรักย่อมเกิดจากภาษาทั้งสิ้น ที่นำไปสู่ ผลสรปุ ทม่ี ีประสิทธภิ าพ  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๓๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภาษาถิน่ ภาษาถิ่นเป็นภาษาพื้นเมืองหรือภาษาที่ใช้ในท้องถิ่น ซึ่งเป็นภาษาดั้งเดิมของชาวพื้นบ้านที่ใช้ พูดจากันในหมู่เหลา่ ของตน บางครั้งจะใช้คำที่มคี วามหมายต่างกันไปเฉพาะถิน่ บางครั้งคำท่ีใช้พดู จากนั เป็นคำเดียว ความหมายต่างกันแล้วยังใช้สำเนียงที่ต่างกัน จึงมีคำกล่าวที่ว่า “สำเนียงบอกภาษา” สำเนียงจะบอกว่าเป็นภาษาอะไร และผู้พูดเป็นคนถิ่นใด อย่างไรก็ตามภาษาถิ่นในประเทศไทยไม่ว่าจะ เปน็ ภาษาถิ่นเหนือ ถนิ่ อสี าน ถนิ่ ใต้ สามารถสอ่ื สารเขา้ ใจกนั ได้ เพียงแตส่ ำเนยี งแตกต่างกันไปเท่านน้ั ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยมาตรฐานหรือบางทีเรยี กว่า ภาษาไทยกลางหรือภาษาราชการ เป็นภาษาทีใ่ ช้ สอื่ สาร กันทั่วประเทศและเป็นภาษาที่ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อให้คนไทยสามารถใช้ภาษาราชการ ในการ ติดต่อสื่อสารสร้างความเป็นชาติไทย ภาษาไทยมาตรฐานก็คือภาษาที่ใช้กันในเมืองหลวง ที่ใช้ติดต่อกันทั้ง ประเทศ มีคำและสำเนียงภาษาที่เป็นมาตรฐาน ต้องพูดให้ชัดถ้อยชัดคำได้ตามมาตรฐานของภาษาไทย ภาษากลางหรอื ภาษาไทยมาตรฐานมคี วามสำคัญในการสรา้ งความเป็นปกึ แผ่น วรรณคดมี กี ารถ่ายทอดกัน มาเป็นวรรณคดีประจำชาติจะใช้ภาษาที่เป็นภาษาไทยมาตรฐานในการสร้างสรรค์ งานประพันธ์ ทำให้ วรรณคดเี ปน็ เคร่ืองมอื ในการศึกษาภาษาไทยมาตรฐานได้ ภาษาพดู กับภาษาเขียน ภาษาพูดเป็นภาษาท่ีใช้พูดจากัน ไมเ่ ป็นแบบแผนภาษา ไมพ่ ิถีพิถนั ในการใช้แต่ใช้ส่ือสารกันได้ดี สร้างความรู้สึกที่เป็นกันเอง ใช้ในหมู่เพื่อนฝูง ในครอบครัว และติดต่อสื่อสารกันอย่างไม่เป็นทางการ การใช้ภาษาพูดจะใช้ภาษาที่เป็นกันเองและสุภาพ ขณะเดียวกันก็คำนึงว่าพูดกับบุคคลที่มีฐานะต่างกัน การใช้ถ้อยคำก็ต่างกันไปดว้ ย ไมค่ ำนึงถึงหลักภาษาหรอื ระเบยี บแบบแผนการใช้ภาษามากนกั ส่วนภาษาเขียนเป็นภาษาที่ใช้เคร่งครัดต่อการใช้ถ้อยคำ และคำนึงถึงหลักภาษา เพื่อใช้ในการ สื่อสารให้ถูกต้องและใช้ในการเขียนมากกว่าพูด ต้องใช้ถ้อยคำที่สุภาพ เขียนให้เป็นประโยค เลือกใช้ ถ้อยคำที่เหมาะสมกับสถานการณ์ในการสื่อสาร เป็นภาษาที่ใช้ในพิธีการต่าง ๆ เช่น การกล่าวรายงาน กล่าวปราศรยั กลา่ วสดุดี การประชุมอภปิ ราย การปาฐกถา จะระมัดระวังการใชค้ ำท่ีไมจ่ ำเป็นหรือ คำ ฟ่มุ เฟือย หรือการเลน่ คำจนกลายเป็นการพดู หรอื เขียนเล่น ๆ ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisdom) บางครั้งเรียกว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นกระบวนทัศน์ (Paradigm) ของคนในท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ เพื่อความอยู่รอด แต่ คนในท้องถิ่นจะสร้างความรู้จากประสบการณ์และจากการปฏิบัติ เป็นความรู้ ความคิด ที่นำมาใช้ใน ทอ้ งถ่ินของตนเพ่ือการดำรงชวี ิตท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติ ผู้รจู้ งึ กลายเปน็ ปราชญ์ชาวบ้านที่ มคี วามร้เู กย่ี วกับภาษา ยารักษาโรคและการดำเนินชวี ติ ในหมู่บา้ นอย่างสงบสขุ  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๓๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษาเป็นความรู้ทางภาษา วรรณกรรมทอ้ งถิ่น บทเพลง สุภาษติ คำพงั เพย ในแต่ละท้องถิ่น ที่ได้ใช้ภาษาในการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในกิจกรรมทางสังคมที่ ต่างกัน โดยนำภูมิปัญญาทางภาษาในการสั่งสอนอบรมพิธีการต่าง ๆ การบันเทิงหรือการละเล่น มีการ แต่งเป็นคำประพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนิทาน นิทานปรัมปรา ตำนาน บทเพลง บทร้องเล่น บทเห่ กล่อม บทสวดตา่ ง ๆ บททำขวัญ เพอื่ ประโยชน์ทางสังคมและเป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมประจำถิ่น ระดับภาษา ภาษาเป็นวัฒนธรรมที่คนในสังคมจะต้องใช้ภาษาให้ถูกต้องกับสถานการณ์และโอกาสที่ใช้ภาษา บุคคลและประชุมชน การใช้ภาษาจึงแบ่งออกเป็นระดับของการใช้ภาษาได้หลายรูปแบบ ตำราแต่ละเลม่ จะแบง่ ระดับภาษาแตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะของสัมพนั ธภาพของบุคคลและสถานการณ์ การแบ่งระดบั ภาษาประมวลได้ดงั นี้ 1. การแบ่งระดับภาษาทเ่ี ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ 1.1 ภาษาที่ไม่เป็นทางการหรือภาษาที่เป็นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการประชุม ในการ กล่าวสนุ ทรพจน์ เป็นต้น 1.2 ภาษาท่ีไมเ่ ปน็ ทางการหรือภาษาท่ไี มเ่ ป็นแบบแผน เช่น การใช้ภาษาในการสนทนา การ ใช้ภาษาในการเขียนจดหมายถึงผคู้ ุน้ เคย การใชภ้ าษาในการเล่าเรื่องหรอื ประสบการณ์ เปน็ ตน้ 2. การแบง่ ระดับภาษาท่ีเปน็ พิธีการกับระดบั ภาษาท่ีไม่เป็นพธิ ีการ การแบ่งภาษาแบบนี้เป็นการ แบง่ ภาษาตามความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคคลเปน็ ระดบั ดังนี้ 2.1 ภาษาระดับพิธกี าร เป็นภาษาแบบแผน 2.2 ภาษาระดับก่ึงพิธีการ เป็นภาษากงึ่ แบบแผน 2.3 ภาษาระดบั ทไี่ ม่เปน็ พิธกี าร เป็นภาษาไม่เป็นแบบแผน 3. การแบ่งระดับภาษาตามสภาพแวดลอ้ ม โดยแบ่งระดบั ภาษาในระดับยอ่ ยเป็น 5 ระดับ คอื 3.1 ภาษาระดับพธิ ีการ เช่น การกลา่ วปราศรยั การกล่าวเปิดงาน 3.2 ภาษาระดับทางการ เช่น การรายงาน การอภิปราย 3.3 ภาษาระดับกง่ึ ทางการ เชน่ การประชมุ อภิปราย การปาฐกถา 3.4 ภาษาระดบั การสนทนา เชน่ การสนทนากับบคุ คลอยา่ งเปน็ ทางการ 3.5 ภาษาระดับกันเอง เชน่ การสนทนาพูดคยุ ในหม่เู พ่ือนฝูงในครอบครวั วจิ ารณญาณ วิจารณญาณ หมายถึง การใช้ความรู้ ความคิด ทำความเข้าใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผล การมีวิจารณญาณต้องอาศัยประสบการณ์ในการพิจารณาตัดสินสารด้วยความรอบคอบ และอย่างชาญฉลาด เปน็ เหตเุ ป็นผล  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๓๒ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ บรรณานกุ รม สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. กรอบแนวทางการปรบั ปรงุ หลักสูตรการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๐. . ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย. กรุงเทพมหานคร: โรง พมิ พ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. . แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตร, ๒๕๕๑. . แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๕๑. . หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๕๑.  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๓๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภาคผนวก คณะผจู้ ดั ทำ คณะที่ปรกึ ษา 1. นายอุดม ภาสดา ศกึ ษานิเทศกส์ ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทรเ์ ขต ๓ 2. นางสมพร พรหนองแสน ศึกษานเิ ทศกส์ ำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์เขต ๓ คณะกรรมการสถานศึกษา ๑. นายมิตร พะงาตนุ ัด ประธานกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน ๒. นางสมบัติ กมิ เลง กรรมการผู้แทนผปู้ กครอง ๓. นายประเสรฐิ ใจกล้า กรรมการผู้แทนครู ๔. นายสวุ รรณ ไกยฝ้าย กรรมการผแู้ ทนองค์กรชมุ ชน ๕. นายเกยี ว พันธเ์ สน กรรมการผูแ้ ทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๖. พระวสิ ุทธ์ วิสุทโธ กรรมการผู้แทนพระภกิ ษุสงฆ์ ๗. นายทวี ปิยไพร กรรมการผูแ้ ทนองคก์ รศาสนา ๘. นายคอย สำราญสุข กรรมการผแู้ ทนศษิ ยเ์ กา่ ๙. นายธนพล คูณสว่าง กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ๑๐. นายถาวร ผกู ดวง กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ ๑๑. นายแถม อดิ ประโคน กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ ๑๒. นายหอม กายดี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๓. นางสภุ าพ หม่นั เท่ียง กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ ๑๔. นายบญั ญัติ โสพิน กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ๑๕. นายศักดิ์ชยั เลิศอรุณรัตน์ กรรมการและเลขานกุ าร คณะทำงาน ๑. นายศกั ด์ชิ ยั เลศิ อรุณรัตน์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ๒. นายประทีป อรา่ มเรือง รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน กรรมการ กรรมการ ๓. นางลัดดา นสิ สัยดี ครชู ำนาญการพิเศษ กรรมการ กรรมการ ๔. นางสาวเอ้ืองนภา คิดสม ครชู ำนาญการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ๕. นางสาวกนกนาถ สุชาติสุนทร ครู กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ ๖. นายราชนพ ลำภู ครูชำนาญการ ๗. นางสาวขนษิ ฐา แกว้ มุงคุณ ครอู ตั ราจา้ ง ๗. นายชนายุทธ ตรงตามคำ ครชู ำนาญการ 8. นางสาวกติ ตยิ า กมิ าวหา ครู  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๓๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ผู้เสนอโครงการ ……………………………………………... (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) คร/ู หัวหน้ากลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ผเู้ หน็ ชอบโครงการ ……………………………………………. (นายศกั ด์ิชัย เลิศอรณุ รัตน์) ผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) ผู้อนมุ ัติโครงการ ……………………………………………. (นายมติ ร พะงาตุนัด) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๓๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔  ระดบั ประถมศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook