Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย.2564

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย.2564

Published by KroorachaneChanel, 2021-07-08 07:42:48

Description: หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พุทธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดับประถมศึกษา กลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๓ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารวิชาการลำดบั ท่ี ๐๑1/๒๕๖4  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ คำนำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้จัดทำหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ฉบับน้ี ซึ่งเป็น เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2564 ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551 เพ่อื เป็นเป้าหมายในการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน และกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการจดั การเรยี นการสอน ให้ตรงตามมาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยพิจารณาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช 2564 ซ่งึ มอี งคป์ ระกอบดงั นี้ - วิสัยทศั น์ หลกั การ จดุ หมาย - สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน - คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ - คณุ ภาพผ้เู รียน - ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง - รายวิชาท่ีเปดิ - คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน - โครงสรา้ งรายวิชาพนื้ ฐาน - ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ - การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ขอขอบคุณคณะครูและคณะผู้ที่เกี่ยวข้องและมีส่วนร่วมในการจัดทำทุกฝ่าย คณะกรรมการ สถานศึกษา นักเรยี น และผปู้ กครองนักเรียน ท่ที ำให้การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านพลวง (พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยสำเร็จได้ดว้ ยดี คณะผู้จัดทำ กลุ่มงานบริหารวิชาการ  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 1 1 สารบัญ 1 2 คำนำ 3 สารบัญ 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 5 บทนำ 5 ทำไมต้องเรียนภาษาไทย 7 สาระสำคญั ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 7 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 7 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 13 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 17 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ภาษาไทย 22 คุณภาพผู้เรยี น 26 โครงสร้างเวลาเรยี น 29 ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง 36 113 สาระท่ี 1 การอ่าน 114 สาระที่ 2 การเขียน 124 สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพดู 132 สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย 133 สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม 133 คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน โครงสร้างรายวิชา ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ อภธิ านศพั ท์ บรรณานกุ รม ภาคผนวก คณะผจู้ ัดทำ  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย บทนำ โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ได้นำหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และกรอบหลักสูตรท้องถิ่นของสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ มาใช้เป็น กรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนของ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จาเป็นสำหรับการดำรงชีวิต ในสังคมทีม่ กี ารเปล่ยี นแปลง และแสวงหาความรเู้ พื่อพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต ทำไมตอ้ งเรยี นภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความ เข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกันใ นสังคม ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนา อาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณีและสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรียนรู้อนุรักษ์ และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทย ตลอดไป สาระสำคญั ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และเพ่ือนำไปใชใ้ นชีวิตจริง • การอ่าน การอ่านออกเสยี งคำ ประโยค การอา่ นบทร้อยแก้ว คำประพันธ์ชนิดตา่ งๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ความรูจ้ ากสิ่งที่อ่าน เพื่อนำไป ปรับ ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั • การเขียน การเขยี นสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสอื่ สาร โดยใชถ้ ้อยคำและรูปแบบต่างๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ และเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ • การฟัง การดู และการพูด การฟงั และดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ การพดู แสดงความคิดเหน็ ความรู้สกึ พดู ลำดบั เร่อื งราวต่างๆ อยา่ งเปน็ เหตุเป็นผล การพดู ในโอกาสต่างๆ ทั้งเป็นทางการและไม่ เป็นทางการ และการพดู เพอ่ื โน้มนา้ วใจ • หลกั การใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑข์ องภาษาไทย การใช้ภาษาใหถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศใน ภาษาไทย • วรรณคดแี ละวรรณกรรม วเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพอื่ ศึกษาข้อมลู แนวความคดิ คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียม ประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซึ้งและภูมิใจ ใน บรรพบรุ ุษท่ไี ด้สั่งสมสบื ทอดมาจนถงึ ปัจจบุ ัน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซึ่งการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดนั้นจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถา่ ยทอดความคดิ ความรูค้ วามเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพ่ือแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจั ด และลดปัญหาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้ มูลข่าวสารดว้ ยหลกั เหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการสือ่ สารที่มปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่มี ตี ่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสูก่ ารสร้างองคค์ วามร้หู รอื สารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆ ที่ เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสมั พนั ธแ์ ละการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรมู้ าใช้ใน การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อตนเอง สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดรี ะหวา่ งบคุ คล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ สี่ ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถ อยู่รว่ มกบั ผูอ้ ่ืนในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในฐานเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๑.๑ ร่วมกิจกรรมแสดงความรักชาติ เช่น เชิญธง ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ รกั ษาช่ือเสียง และหวงแหนสมบัตขิ องชาติ ๑.๒ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา และปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา เช่น รักษาศีล ปฏบิ ัตธิ รรม ๑.๓ รว่ มกจิ กรรมเพอื่ แสดงความจงรักภักดีตอ่ พระมหากษตั ริย์ ๒. ซ่ือสัตยส์ ุจริต ๒.๑ ให้ขอ้ มลู ท่ถี กู ต้องและเปน็ จรงิ ไม่โกหก ๒.๒ ไม่ถอื เอาสง่ิ ของหรอื ผลงานของผอู้ ื่นมาเปน็ ของตนเอง ไมล่ กั ขโมย ๒.๓ ไมห่ าผลประโยชนใ์ นทางท่ไี ม่ถูกต้อง ไม่คดโกง ๓. มวี ินัย ๓.๑ ปฏิบตั ิตนตามข้อตกลง กฎระเบียบของครอบครวั โรงเรียนและสงั คม ๓.๒ ตรงตอ่ เวลาและรบั ผดิ ชอบในการเรียน การปฏิบัตงิ าน ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ ต้งั ใจ เพียรพยายามในการเรียน สนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ๔.๒ แสวงหา ศึกษา คน้ คว้าความรู้จากแหลง่ การเรยี นรูต้ า่ ง ๆ ๔.๓ บันทกึ ความรวู้ ิเคราะห์ตรวจสอบ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ๕. อยู่อยา่ งพอเพียง ๕.๑ ใช้ทรัพย์สินของตนเองและของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า รวมทั้งใช้เวลาอย่าง เหมาะสม ๕.๒ ปฏิบตั ิตนและตดั สนิ ใจดว้ ยความรอบคอบมีเหตุผล ๕.๓ วางแผนการเรียนการทำงานบนพืน้ ฐานของความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสาร มีภูมิคุ้มกันใน ตัวท่ีดี  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ๖. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน ๖.๑ ต้ังใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๖.๒ ทุ่มเททำงาน อดทนไม่ยอ่ ท้อตอ่ ปัญหาและอุปสรรค ๖.๓ ปรับปรุงพฒั นาการทำงานและผลงานด้วยตนเอง ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๗.๑ ปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย ๗.๒ ใช้ภาษาไทย เลขไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถูกต้อง ๗.๓ รว่ มกิจกรรมท่เี ก่ยี วข้องกับภูมปิ ญั ญาไทย นำมาใช้ใหเ้ หมาะสมในวิถชี ีวิต ๘. มีจิตสาธารณะ ๘.๑ ชว่ ยเหลือผอู้ นื่ แบง่ ปันสิ่งของ อาสาทำงานให้ดว้ ยความเต็มใจ ไมห่ วังผลตอบแทน ๘.๒ เข้าร่วมกจิ กรรมทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ชมุ ชนและสังคม ๘.๓ ดูแลรกั ษาสาธารณสมบตั แิ ละส่ิงแวดลอ้ มด้วย ความเต็มใจ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยน้อมนำหลักเศรษฐกจิ พอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ➢ ห่วงท่ี 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือ ว่าน้อยจนเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง หรือผ้อู ่นื ให้เดือดรอ้ น ➢ ห่วงท่ี 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง การ ตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจาก เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ อย่าง รอบคอบ ➢ ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านการต่างๆ ที่จะ เกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของ สถานการณต์ ่างๆ ที่คาดวา่ จะเกิดขึ้นในอนาคต ท้ังใกล้และไกล  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความร้แู ละความคดิ เพอื่ นำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ ดำเนนิ ชีวติ และมนี สิ ยั รกั การอ่าน สาระท่ี 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสอ่ื สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่อื งราวใน รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่าง มี ประสทิ ธิภาพ สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และ ความร้สู กึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์ สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ ค่า และนำมาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจรงิ คณุ ภาพผู้เรยี น จบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 • อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคำและข้อความที่อ่าน ตั้งคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคำสั่ง คำอธิบายจากเรื่องที่อ่านได้ เขา้ ใจความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ อ่านหนงั สอื อยา่ งสมำ่ เสมอ และมมี ารยาท ในการอ่าน • มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจำวัน เขียน จดหมายลาครู เขยี นเรื่องเก่ยี วกับประสบการณ์ เขยี นเร่อื งตามจินตนาการและมมี ารยาทในการเขยี น • เล่ารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิด ความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนำ หรือพูดเชิญชวนให้ผู้อ่ืน ปฏบิ ัติตาม และมมี ารยาทในการฟัง ดู และพูด • สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ ความแตกต่างของคำและพยางค์ หน้าที่ของคำ ใน ประโยค มีทกั ษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคงา่ ยๆ แตง่ คำคล้อง จอง แตง่ คำขวัญ และเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ  ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ • เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซึ่งเป็น วัฒนธรรมของท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจำบทอาขยานและบทร้อยกรอง ที่มี คุณคา่ ตามความสนใจได้ จบชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 • อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนัยของคำ ประโยค ข้อความ สำนวนโวหาร จากเรื่องที่อ่าน เข้าใจ คำแนะนำ คำอธิบายในค่มู ือต่างๆ แยกแยะขอ้ คดิ เห็นและข้อเทจ็ จริง รวมทัง้ จับใจความสำคญั ของเรื่อง ที่อ่านและนำความรู้ความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตได้ มีมารยาทและมี นสิ ยั รกั การอา่ น และเหน็ คณุ คา่ สิง่ ทอ่ี า่ น • มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคำ แต่งประโยค และเขียนข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเรื่องและ แผนภาพความคิด เพอ่ื พัฒนางานเขียน เขียนเรยี งความ ย่อความ จดหมายส่วนตวั กรอกแบบรายการ ต่างๆ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเหน็ เขียนเรอ่ื งตามจินตนาการอยา่ งสร้างสรรค์ และมีมารยาท ในการเขยี น • พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเรื่องที่ฟังและดู ต้ังคำถาม ตอบคำถามจากเรือ่ งท่ีฟงั และดู รวมทั้งประเมนิ ความน่าเชื่อถอื จากการฟงั และดโู ฆษณาอย่างมี เหตุผล พูดตามลำดับขัน้ ตอนเร่ืองต่างๆ อยา่ งชัดเจน พดู รายงานหรือประเดน็ คน้ คว้าจาก การฟัง การ ดู การสนทนา และพดู โนม้ น้าวได้อย่างมเี หตุผล รวมทง้ั มีมารยาทในการดูและพูด • สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจชนิดและ หน้าที่ของคำในประโยค ชนิดของประโยค และคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชาศัพท์และ คำสุภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพย์ ยานี 11 • เข้าใจและเหน็ คุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่าน เล่านทิ านพื้นบ้าน ร้องเพลงพื้นบา้ นของ ทอ้ งถ่นิ นำขอ้ คดิ เห็นจากเรือ่ งทีอ่ ่านไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริง และท่องจำบทอาขยานตามทกี่ ำหนดได้  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๗ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โครงสร้างเวลาเรยี น กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ระดบั ชั้น รหสั วชิ า ช่อื รายวชิ า จำนวนช่ัวโมง/ปี/ภาค ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระท่ี 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพือ่ นำไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ัญหาในการ ดำเนินชีวติ และมีนสิ ยั รกั การอา่ น ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.1 1. อา่ นออกเสยี งคำ คำคล้องจอง  การอา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคำ และข้อความส้นั ๆ คลอ้ งจอง และข้อความทป่ี ระกอบดว้ ย คำพ้ืนฐาน คือ คำทใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน 2. บอกความหมายของคำ และ ไมน่ ้อยกว่า 600 คำ รวมท้งั คำที่ใช้เรียนรู้ ข้อความท่อี ่าน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ประกอบด้วย - คำที่มีรูปวรรณยุกต์และไมม่ ีรปู วรรณยกุ ต์ - คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา - คำท่ีมพี ยัญชนะควบกล้ำ - คำท่มี อี ักษรนำ 3. ตอบคำถามเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอ่าน  การอ่านจับใจความจากส่ือต่างๆ เชน่ 4. เล่าเร่อื งย่อจากเร่ืองท่ีอา่ น - นทิ าน 5. คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรื่องที่ - เรื่องส้ันๆ อา่ น - บทร้องเล่นและบทเพลง  ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๘ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง - เร่อื งราวจากบทเรยี นในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ นื่ 6. อ่านหนงั สือตามความสนใจ  การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ เชน่ อย่างสมำ่ เสมอและนำเสนอเรื่องที่ - หนังสือท่นี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย อา่ น - หนังสือทคี่ รูและนักเรยี นกำหนดร่วมกัน 7. บอกความหมายของเคร่ืองหมาย  การอา่ นเคร่ืองหมายหรอื สัญลกั ษณ์ หรือสัญลกั ษณส์ ำคญั ท่ีมกั พบเหน็ ประกอบดว้ ย ในชวี ติ ประจำวัน - เคร่อื งหมายสัญลักษณ์ต่างๆ ทพ่ี บเห็นใน ชวี ิตประจำวัน - เครือ่ งหมายแสดงความปลอดภัยและแสดง อนั ตราย 8. มมี ารยาท ในการอา่ น มารยาทในการอ่าน เช่น - ไม่อ่านเสยี งดังรบกวนผ้อู ่ืน - ไมเ่ ล่นกนั ขณะทอ่ี ่าน ป.2 1. อ่านออกเสยี งคำ คำคล้องจอง  การอ่านออกเสียงและการบอกวามหมายของ ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่ายๆ คำ คำคลอ้ งจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง ได้ถูกตอ้ ง งา่ ย ๆ ทปี่ ระกอบด้วยคำพ้ืนฐานเพ่ิมจาก ป. 2. อธบิ ายความหมายของคำและ 1 ไมน่ ้อยกว่า 800 คำ รวมทั้งคำท่ีใช้เรยี นรู้ ขอ้ ความทอ่ี ่าน ในกลุ่มสาระการเรยี นร้อู ื่น ประกอบด้วย - คำที่มรี ูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยกุ ต์ - คำท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา - คำทีม่ ีพยัญชนะควบกล้ำ - คำท่มี ีอักษรนำ - คำที่มตี ัวการันต์ - คำที่มี รร - คำที่มีพยัญชนะและสระที่ไมอ่ อกเสียง 3. ต้ังคำถามและตอบคำถามเกย่ี วกบั การอ่านจับใจความจากสื่อตา่ ง ๆ เช่น เรอ่ื งท่ีอ่าน - นิทาน 4. ระบใุ จความสำคญั และ - เรอ่ื งเล่าส้นั ๆ รายละเอียดจากเรอ่ื งท่ีอ่าน - บทเพลงและบทร้อยกรองงา่ ยๆ  ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๙ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 5. แสดงความคดิ เหน็ และคาดคะเน - เรื่องราวจากบทเรยี นในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เหตกุ ารณ์จากเรือ่ งทอ่ี ่าน ภาษาไทย และกลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่นื - ข่าวและเหตุการณ์ประจำวนั 6. อ่านหนงั สือตามความสนใจอย่าง  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เชน่ สมำ่ เสมอและนำเสนอเร่ืองที่อ่าน - หนังสือที่นกั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั - หนังสือทค่ี รูและนักเรียนกำหนดร่วมกนั 7. อา่ นขอ้ เขยี นเชิงอธิบาย และ  การอา่ นข้อเขียนเชงิ อธิบาย และปฏบิ ตั ิตาม ปฏิบตั ิตามคำสงั่ หรือข้อแนะนำ คำสง่ั หรือข้อแนะนำ - การใช้สถานท่สี าธารณะ - คำแนะนำการใช้เครื่องใช้ท่ีจำเป็นในบา้ น และในโรงเรียน 8. มมี ารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอา่ น เชน่ - ไมอ่ ่านเสียงดงั รบกวนผอู้ ่ืน - ไมเ่ ลน่ กันขณะทอ่ี ่าน - ไมท่ ำลายหนังสอื - ไม่ควรแยง่ อ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะที่ ผูอ้ ื่นกำลังอ่านอยู่ ป.3 1. อา่ นออกเสียงคำ ข้อความ เรื่อง การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของ สน้ั ๆ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ ได้ คำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง ถูกต้อง คลอ่ งแคลว่ ง่าย ๆ ท่ีประกอบดว้ ยคำพ้นื ฐานเพ่ิมจาก ป. 2. อธิบายความหมายของคำและ 2 ไมน่ ้อยกว่า 1,200 คำ รวมท้ังคำทเี่ รียนรู้ ข้อความทอ่ี ่าน ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้อื่น ประกอบดว้ ย - คำท่มี ีตัวการนั ต์ - คำทม่ี ี รร - คำท่ีมีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง - คำพอ้ ง - คำพเิ ศษอื่น ๆ เชน่ คำที่ใช้ ฑ ฤ ฤๅ 3. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชงิ การอา่ นจบั ใจความจากส่ือต่างๆ เช่น เหตผุ ลเกี่ยวกบั เรือ่ งที่อ่าน - นิทานหรือเรอื่ งเกยี่ วกบั ท้องถนิ่  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 4. ลำดับเหตุการณ์และคาดคะเน - เร่ืองเล่าสั้นๆ เหตกุ ารณ์จากเร่ืองทอี่ ่านโดยระบุ - บทเพลงและบทรอ้ ยกรอง เหตผุ ลประกอบ - บทเรียนในกลุม่ สาระการเรียนร้อู ่นื 5. สรปุ ความรู้และข้อคดิ จากเรื่องท่ี - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ในชีวิตประจำวนั ใน อา่ นเพื่อนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน ท้องถนิ่ และชุมชน 6. อ่านหนงั สอื ตามความสนใจอยา่ ง การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เชน่ สม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องท่ีอ่าน - หนังสอื ทน่ี กั เรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสอื ทคี่ รแู ละนักเรยี นกำหนดร่วมกัน 7. อา่ นขอ้ เขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติ การอ่านขอ้ เขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตาม ตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ คำสั่งหรือข้อแนะนำ - คำแนะนำตา่ งๆ ในชีวติ ประจำวัน - ประกาศ ป้ายโฆษณา และคำขวัญ 8. อธบิ ายความหมายของข้อมลู จาก การอ่านข้อมลู จากแผนภาพ แผนท่ี แผนภาพ แผนท่ี และแผนภมู ิ และแผนภมู ิ 9. มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน เช่น - ไม่อา่ นเสียงดังรบกวนผู้อน่ื - ไมท่ ำลายหนงั สือ - ไมค่ วรแยง่ อา่ นหรอื ชะโงกหน้าไปอา่ นขณะท่ี ผู้อน่ื กำลงั อา่ น ป.4 1. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของ บทรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ ง บทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองที่ประกอบดว้ ย 2. อธิบายความหมายของคำ - คำทม่ี ี ร ล เปน็ พยัญชนะตน้ ประโยค และสำนวนจากเรื่องที่ - คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ อา่ น - คำทีม่ อี ักษรนำ - คำประสม - อักษรย่อและเคร่ืองหมายวรรคตอน - ประโยคทม่ี ีสำนวนเป็นคำพังเพย สุภาษติ ปรศิ นาคำทาย และเคร่ืองหมายวรรคตอน การอ่านบทร้อยกรองเปน็ ทำนองเสนาะ  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง 3. อ่านเรอื่ งสัน้ ๆ ตามเวลาที่  การอ่านจับใจความจากส่ือต่าง ๆ เช่น กำหนดและตอบคำถามจากเร่ืองท่ี - เรือ่ งสนั้ ๆ อ่าน - เรอ่ื งเล่าจากประสบการณ์ 4. แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเหน็ - นิทานชาดก จากเรื่องทีอ่ า่ น - บทความ 5. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่ - บทโฆษณา อ่านโดยระบเุ หตผุ ลประกอบ - งานเขียนประเภทโน้มนา้ วใจ 6. สรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ จากเร่ืองท่ี - ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจำวัน อ่านเพ่ือนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั - สารคดีและบนั เทิงคดี 7. อา่ นหนงั สือทม่ี คี ุณค่าตามความ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เช่น สนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความ - หนงั สอื ที่นักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย คดิ เห็นเก่ยี วกบั เรอ่ื งท่ีอ่าน - หนงั สอื ทีค่ รูและนักเรียนกำหนดรว่ มกัน 8. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน - ไม่อ่านเสยี งดังรบกวนผู้อ่นื - ไม่ทำลายหนังสอื - ไมค่ วรแย่งอา่ นหรอื ชะโงกหนา้ ไปอา่ น ขณะทผ่ี ู้อน่ื กำลงั อ่าน ป.5 1. อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และ การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของ บทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกต้อง บทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองทป่ี ระกอบดว้ ย 2. อธิบายความหมายของคำ - คำทม่ี ีพยัญชนะควบกล้ำ ประโยคและขอ้ ความท่ีเป็นการ - คำท่มี ีอักษรนำ บรรยาย และการ - คำท่มี ีตวั การันต์ พรรณนา - อกั ษรย่อและเครอื่ งหมายวรรคตอน 3. อธิบายความหมายโดยนัย จาก - ข้อความที่เป็นการบรรยายและพรรณนา เรอื่ งที่อ่านอย่างหลากหลาย - ขอ้ ความที่มคี วามหมายโดยนัย การอา่ นบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ 4. แยกข้อเท็จจรงิ และขอ้ คิดเห็นจาก การอา่ นจบั ใจความจากส่ือตา่ ง ๆ เชน่ เร่อื งท่ีอ่าน - วรรณคดใี นบทเรียน 5. วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น - บทความ เกย่ี วกบั เรือ่ งที่อ่านเพื่อนำไปใช้ - บทโฆษณา ในการดำเนนิ ชีวิต - งานเขยี นประเภทโน้มน้าวใจ  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - ขา่ วและเหตุการณป์ ระจำวัน 6. อา่ นงานเขียนเชงิ อธบิ าย คำสง่ั การอา่ นงานเขียนเชงิ อธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบตั ิตาม ข้อแนะนำ และปฏิบัตติ าม เชน่ - การใชพ้ จนานกุ รม - การใช้วสั ดุอปุ กรณ์ - การอา่ นฉลากยา - คูม่ ือและเอกสารของโรงเรียนท่ีเกีย่ วข้องกับ นักเรยี น - ขา่ วสารทางราชการ 7. อา่ นหนงั สือท่ีมีคุณค่าตามความ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่ สนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดง - หนงั สือทนี่ กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั เร่ืองท่ีอ่าน - หนงั สือท่คี รูและนักเรียนกำหนดรว่ มกัน 8. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น ป.6 1. อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และ การอ่านออกเสยี งและการบอกความหมายของ บทร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง บทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง ประกอบดว้ ย 2. อธิบายความหมายของคำ - คำทม่ี พี ยัญชนะควบกล้ำ ประโยคและข้อความที่เป็นโวหาร - คำทม่ี ีอักษรนำ - คำที่มีตัวการนั ต์ - คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ - อักษรย่อและเครอ่ื งหมายวรรคตอน - วนั เดอื น ปแี บบไทย - ข้อความท่ีเปน็ โวหารตา่ งๆ - สำนวนเปรียบเทียบ การอา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็ ทำนองเสนาะ 3. อา่ นเร่ืองสนั้ ๆ อยา่ งหลากหลาย การอ่านจับใจความจากส่ือตา่ ง ๆ เชน่ โดยจบั เวลาแลว้ ถามเก่ียวกบั เรอ่ื ง - เรือ่ งสัน้ ๆ ทอี่ ่าน - นทิ านและเพลงพื้นบ้าน 4. แยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เห็นจาก - บทความ เร่ืองท่ีอ่าน  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 5. อธบิ ายการนำความร้แู ละความคิด - พระบรมราโชวาท จากเร่อื งท่อี ่านไปตัดสินใจ - สารคดี แก้ปญั หา ในการดำเนนิ ชวี ติ - เรือ่ งสัน้ - งานเขยี นประเภทโนม้ น้าว - บทโฆษณา - ขา่ ว และเหตุการณส์ ำคญั การอ่านเรว็ 6. อา่ นงานเขยี นเชิงอธบิ าย คำส่ัง การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสงั่ ขอ้ แนะนำ และปฏบิ ตั ติ าม ข้อแนะนำ และปฏิบตั ิตาม - การใชพ้ จนานุกรม - การปฏบิ ัติตนในการอย่รู ่วมกนั ในสังคม - ขอ้ ตกลงในการอยูร่ ว่ มกันในโรงเรยี น และ การใช้สถานทสี่ าธารณะในชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ 7. อธบิ ายความหมายของข้อมูล การอา่ นขอ้ มลู จากแผนผงั แผนที่ แผนภมู ิ จากการอา่ นแผนผัง แผนท่ี และกราฟ แผนภมู ิ และกราฟ 8. อา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ และ  การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เชน่ อธิบายคุณคา่ ท่ีได้รบั - หนงั สือที่นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสืออา่ นที่ครูและนักเรยี นกำหนดร่วมกัน สาระท่ี 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอ่ื งราวใน รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.1 1. คดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตาม รปู แบบการเขียนตัวอกั ษรไทย 2. เขยี นสอื่ สารดว้ ยคำและประโยค การเขยี นสอ่ื สาร ง่าย ๆ - คำทใ่ี ช้ในชวี ิตประจำวัน - คำพ้ืนฐานในบทเรียน - คำคลอ้ งจอง  ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - ประโยคง่ายๆ 3. มมี ารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น เช่น - เขยี นให้อา่ นง่าย สะอาด ไมข่ ีดฆา่ - ไม่ขดี เขียนในทีส่ าธารณะ - ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล ป.2 1. คดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั การคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดตาม รปู แบบการเขียนตวั อกั ษรไทย 2. เขียนเรอ่ื งสั้น ๆ เก่ียวกับ การเขยี นเรื่องส้ัน ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ ประสบการณ์ 3. เขยี นเรื่องสนั้ ๆ ตามจินตนาการ การเขียนเร่ืองสนั้ ๆ ตามจินตนาการ 4. มมี ารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น เช่น - เขยี นใหอ้ า่ นง่าย สะอาด ไมข่ ดี ฆา่ - ไมข่ ดี เขยี นในทส่ี าธารณะ - ใชภ้ าษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และบคุ คล - ไม่เขยี นลอ้ เลยี นผู้อน่ื หรอื ทำใหผ้ อู้ ่นื เสยี หาย ป.3 1. คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัด การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดตาม รปู แบบการเขียน ตัวอักษรไทย 2 เขยี นบรรยายเกย่ี วกับสิง่ ใดสิ่งหน่ึง การเขยี นบรรยายเกี่ยวกับลักษณะของ คน ได้อยา่ งชดั เจน สัตว์ สง่ิ ของ สถานท่ี 3. เขยี นบันทึกประจำวนั การเขียนบนั ทึกประจำวนั 4. เขียนจดหมายลาครู การเขียนจดหมายลาครู 5. เขียนเรือ่ งตามจินตนาการ การเขยี นเร่ืองตามจินตนาการจากคำ ภาพ และหัวขอ้ ที่กำหนด 6. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขยี น เชน่ - เขยี นให้อ่านงา่ ย สะอาด ไมข่ ดี ฆ่า - ไม่ขีดเขียนในท่สี าธารณะ - ใชภ้ าษาเขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสูตรโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ไมเ่ ขยี นลอ้ เลียนผู้อน่ื หรือทำใหผ้ อู้ นื่ เสียหาย ป.4 1. คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั และ การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบ ครง่ึ บรรทดั การเขียนตัวอักษรไทย 2. เขียนส่อื สารโดยใช้คำได้ถูกตอ้ ง การเขยี นสอื่ สาร เช่น ชดั เจน และเหมาะสม - คำขวญั - คำแนะนำ 3. เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและ การนำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ แผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางาน ความคิดไปพัฒนางานเขียน เขยี น 4. เขียนยอ่ ความจากเร่ืองสนั้ ๆ  การเขียนย่อความจากส่ือต่าง ๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภทตา่ ง ๆ ประกาศ จดหมาย คำสอน 5. เขียนจดหมายถึงเพ่ือนและบิดา การเขียนจดหมายถงึ เพ่ือนและบดิ ามารดา มารดา  การเขยี นบนั ทึกและเขยี นรายงานจาก 6. เขยี นบนั ทกึ และเขียนรายงานจาก การศกึ ษาคน้ ควา้ การศึกษาคน้ คว้า  การเขยี นเรือ่ งตามจนิ ตนาการ 7. เขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ 8. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น ป.5 1. คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั  การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและ และคร่งึ บรรทัด ครึ่งบรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตวั อักษรไทย 2. เขยี นส่ือสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง  การเขียนส่ือสาร เช่น ชัดเจน และเหมาะสม - คำขวัญ - คำอวยพร 3. เขยี นแผนภาพโครงเรื่องและ - คำแนะนำและคำอธบิ ายแสดงขนั้ ตอน แผนภาพความคิดเพ่ือใช้พฒั นางาน เขยี น  การนำแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ 4. เขียนย่อความจากเร่ืองท่อี ่าน ความคิดไปพัฒนางานเขยี น การเขียนย่อความจากส่อื ต่าง ๆ เชน่ นทิ าน ความเรียงประเภทตา่ ง ๆ ประกาศ แจ้ง ความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 5. เขียนจดหมายถึงผปู้ กครองและ การเขยี นจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ ญาติ 6. เขียนแสดงความรสู้ ึกและความ การเขียนแสดงความรู้สกึ และความคิดเหน็ คดิ เห็นได้ตรงตามเจตนา 7. กรอกแบบรายการต่าง ๆ การกรอกแบบรายการ - ใบฝากเงนิ และใบถอนเงนิ - ธนาณัติ - แบบฝากส่งพัสดุไปรษณียภัณฑ์ 8. เขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการ การเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ 9. มมี ารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขียน ป.6 1. คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดและ และครึ่งบรรทัด ครง่ึ บรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย 2. เขยี นสอื่ สารโดยใช้คำได้ถูกต้อง การเขียนส่ือสาร เชน่ ชัดเจน และเหมาะสม - คำขวญั - คำอวยพร - ประกาศ 3. เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและ การเขียนแผนภาพโครงเรือ่ งและแผนภาพ แผนภาพความคิดเพื่อใช้พฒั นางาน ความคดิ เขยี น 4. เขียนเรยี งความ การเขยี นเรียงความ 5. เขยี นยอ่ ความจากเร่ืองทอี่ ่าน การเขยี นย่อความจากสื่อต่าง ๆ เชน่ นิทาน ความเรยี งประเภทตา่ ง ๆ ประกาศ แจ้ง ความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบยี บ คำสัง่ 6. เขียนจดหมายสว่ นตวั การเขยี นจดหมายส่วนตัว - จดหมายขอโทษ - จดหมายแสดงความขอบคุณ - จดหมายแสดงความเห็นใจ - จดหมายแสดงความยินดี  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 7. กรอกแบบรายการต่างๆ การกรอกแบบรายการ 8. เขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการและ - แบบคำร้องต่างๆ สร้างสรรค์ - ใบสมคั รศกึ ษาต่อ - แบบฝากส่งพสั ดุและไปรษณยี ภัณฑ์ การเขียนเรื่องตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์ สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงั และดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรสู้ ึกใน โอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.1 1. ฟังคำแนะนำ คำสัง่ ง่ายๆ และปฏบิ ัติ การฟังและปฏิบัตติ ามคำแนะนำ คำส่งั งา่ ย ๆ ตาม 2. ตอบคำถามและเลา่ เร่ืองท่ีฟังและดู การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ท้งั ทีเ่ ปน็ ความรู้และความบันเทิง ความรู้สึกจากเรื่องท่ีฟังและดู ทงั้ ทีเ่ ป็น 3. พดู แสดงความคิดเห็นและ ความรูแ้ ละความบันเทงิ เช่น ความร้สู กึ จากเรื่องที่ฟงั และดู - เรื่องเลา่ และสารคดีสำหรบั เดก็ - นิทาน - การต์ ูน - เร่ืองขบขนั 4. พดู ส่อื สารได้ตามวัตถุประสงค์ การพดู ส่ือสารในชีวติ ประจำวนั เชน่ - การแนะนำตนเอง - การขอความชว่ ยเหลอื - การกล่าวคำขอบคุณ - การกลา่ วคำขอโทษ 5. มมี ารยาทในการฟัง การดู และ มารยาทในการฟงั เช่น การพูด - ตงั้ ใจฟัง ตามองผู้พูด - ไม่รบกวนผอู้ น่ื ขณะท่ีฟัง  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๘ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - ไม่ควรนำอาหารหรือเครื่องด่ืมไป รับประทานขณะที่ฟัง - ให้เกยี รตผิ ู้พูดดว้ ยการปรบมอื - ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะท่ีฟัง มารยาทในการดู เช่น - ตง้ั ใจดู - ไมส่ ่งเสยี งดงั หรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผู้อ่ืน มารยาทในการพดู เชน่ - ใชถ้ ้อยคำและกริ ิยาทส่ี ุภาพ เหมาะสมกับ กาลเทศะ - ใช้น้ำเสียงนุ่มนวล - ไม่พูดสอดแทรกในขณะท่ีผู้อ่นื กำลงั พดู ป.2 1. ฟังคำแนะนำ คำส่งั ท่ีซับซ้อน และ การฟังและปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำ คำสั่งที่ ปฏิบัตติ าม ซับซ้อน 2. เล่าเรอื่ งที่ฟงั และดทู ้ังทีเ่ ป็นความรู้ การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น และความบันเทิง ความรสู้ กึ จากเร่ืองที่ฟังและดู ทัง้ ท่ีเปน็ 3. บอกสาระสำคัญของเรอื่ งทีฟ่ ังและดู ความรู้และความบันเทงิ เช่น 4. ต้ังคำถามและตอบคำถามเกยี่ วกับ - เร่ืองเล่าและสารคดีสำหรบั เดก็ เร่ืองที่ฟังและดู - นิทาน การต์ ูน และเร่ืองขบขัน 5. พดู แสดงความคิดเห็นและ - รายการสำหรับเด็ก ความรูส้ กึ จากเรื่องที่ฟงั และดู - ขา่ วและเหตุการณ์ประจำวัน - เพลง 6. พูดส่อื สารได้ชัดเจนตรงตาม การพูดสื่อสารในชีวติ ประจำวัน เชน่ วัตถปุ ระสงค์ - การแนะนำตนเอง - การขอความช่วยเหลอื - การกลา่ วคำขอบคุณ - การกลา่ วคำขอโทษ - การพดู ขอร้องในโอกาสตา่ งๆ - การเล่าประสบการณใ์ นชีวติ ประจำวนั  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๑๙ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง 7. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการ มารยาทในการฟัง เชน่ พูด - ต้งั ใจฟัง ตามองผู้พูด - ไม่รบกวนผู้อ่ืนขณะที่ฟัง - ไม่ควรนำอาหารหรือเคร่ืองดืม่ ไป รับประทานขณะที่ฟัง - ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะที่ฟงั มารยาทในการดู เชน่ - ตง้ั ใจดู - ไมส่ ่งเสยี งดังหรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผู้อนื่ มารยาทในการพูด เชน่ - ใช้ถ้อยคำและกิรยิ าที่สุภาพ เหมาะสมกับ กาลเทศะ - ใช้น้ำเสยี งนุ่มนวล - ไม่พูดสอดแทรกในขณะท่ผี ู้อื่นกำลงั พูด - ไมพ่ ูดล้อเลยี นให้ผอู้ ืน่ ไดร้ ับความอบั อาย หรือเสียหาย ป.3 1. เล่ารายละเอียดเก่ียวกับเรื่องที่ฟงั การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็นและ และดทู ้งั ที่เปน็ ความรู้และความ ความรสู้ ึกจากเรื่องที่ฟังและดูท้ังทเี่ ปน็ ความรู้ บันเทิง และความบนั เทิง เชน่ 2. บอกสาระสำคัญจากการฟังและการ - เร่ืองเล่าและสารคดีสำหรับเด็ก ดู - นทิ าน การ์ตนู เรอ่ื งขบขนั 3. ตั้งคำถามและตอบคำถามเกย่ี วกบั - รายการสำหรบั เด็ก เรือ่ งที่ฟงั และดู - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ในชีวติ ประจำวัน 4. พดู แสดงความคิดเหน็ และ - เพลง ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟงั และดู 5. พูดสอื่ สารได้ชดั เจนตรงตาม การพดู ส่ือสารในชีวติ ประจำวนั เช่น วตั ถุประสงค์ - การแนะนำตนเอง - การแนะนำสถานท่ีในโรงเรียนและในชมุ ชน  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - การแนะนำ/เชิญชวนเกย่ี วกับการปฏบิ ตั ติ น ในดา้ นต่างๆ เชน่ การรกั ษาความสะอาด ของรา่ งกาย - การเลา่ ประสบการณ์ในชีวิตประจำวนั - การพดู ในโอกาสต่าง ๆ เช่น การพดู ขอร้อง การพดู ทักทาย การกลา่ วขอบคุณ และขอโทษ การพดู ปฏิเสธ และการพดู ชกั ถาม 6. มมี ารยาทในการฟัง การดู และ มารยาทในการฟัง เช่น การพูด - ต้งั ใจฟัง ตามองผูพ้ ูด - ไม่รบกวนผู้อืน่ ขณะที่ฟัง - ไม่ควรนำอาหารหรือเคร่ืองด่มื ไป รบั ประทานขณะที่ฟัง - ไมแ่ สดงกริ ิยาทีไ่ มเ่ หมาะสม เชน่ โห่ ฮา หาว - ใหเ้ กียรติผพู้ ดู ดว้ ยการปรบมือ - ไม่พดู สอดแทรกขณะทฟ่ี ัง มารยาทในการดู เชน่ - ต้ังใจดู - ไมส่ ่งเสียงดังหรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผู้อนื่ มารยาทในการพูด เช่น - ใช้ถ้อยคำและกิริยาท่สี ุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใชน้ ้ำเสียงน่มุ นวล - ไมพ่ ูดสอดแทรกในขณะที่ผู้อ่นื กำลังพดู - ไม่พูดล้อเลยี นใหผ้ อู้ นื่ ได้รับความอบั อาย หรือเสยี หาย ป.4 1. จำแนกข้อเทจ็ จริงและขอ้ คิดเหน็ การจำแนกขอ้ เท็จจริงและข้อคิดเหน็ จากเร่ือง จากเร่อื งท่ฟี ังและดู ทฟ่ี ังและดู ในชีวติ ประจำวนั 2. พดู สรุปความจากการฟังและดู  ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๑ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3. พูดแสดงความรู้ ความคิดเหน็ การจับใจความ และการพดู แสดงความรู้ และความรูส้ ึกเกี่ยวกบั เรื่องท่ีฟงั ความคิดในเร่ืองที่ฟงั และดู จากส่อื ต่าง ๆ และดู เช่น 4. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิง - เรื่องเล่า เหตุผลจากเรอื่ งที่ฟังและดู - บทความสนั้ ๆ - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ประจำวัน - โฆษณา - สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ - เรอ่ื งราวจากบทเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อน่ื 5. รายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ทศ่ี ึกษา การรายงาน เชน่ ค้นควา้ จากการฟัง การดู และการ - การพดู ลำดบั ข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน สนทนา - การพดู ลำดบั เหตุการณ์ 6. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการ มารยาทในการฟัง การดู และการพดู พูด ป.5 1. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้ และความรสู้ ึกจากเรื่องท่ีฟังและดู ความคดิ ในเรื่องที่ฟงั และดูจากส่ือต่าง ๆ 2. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชิง เชน่ เหตุผลจากเร่อื งท่ีฟงั และดู - เรอื่ งเลา่ 3. วเิ คราะห์ความนา่ เช่อื ถือจากเร่อื ง - บทความ ทีฟ่ ังและดูอย่างมีเหตุผล - ขา่ วและเหตุการณ์ประจำวัน - โฆษณา - สื่อสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ การวเิ คราะห์ความน่าเชอื่ ถือจากเร่ืองท่ีฟงั และดใู นชวี ติ ประจำวนั 4. พดู รายงานเร่อื งหรือประเดน็ ที่ การรายงาน เช่น ศกึ ษาค้นคว้าจากการฟัง การดู - การพดู ลำดบั ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน และการสนทนา - การพดู ลำดบั เหตุการณ์ 5. มมี ารยาทในการฟงั การดู และ มารยาทในการฟงั การดู และการพูด การพูด  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ชั้น ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.6 1. พูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจ การพูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจใน จดุ ประสงค์ของเรื่องที่ฟงั และดู จดุ ประสงคข์ องเร่ืองท่ีฟังและดจู ากสือ่ ตา่ ง ๆ 2. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชิง ไดแ้ ก่ เหตุผลจากเรือ่ งที่ฟังและดู - สื่อสิ่งพิมพ์ - สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ 3. วิเคราะหค์ วามน่าเชือ่ ถือจากการฟัง การวิเคราะห์ความนา่ เชือ่ ถือจากการฟงั และดู และดสู ่ือโฆษณาอยา่ งมีเหตุผล ส่ือโฆษณาการรายงาน เช่น 4. พดู รายงานเรอ่ื งหรือประเดน็ ท่ี - การพูดลำดบั ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน ศกึ ษาค้นคว้าจากการฟังการดูและ - การพดู ลำดบั เหตุการณ์ การสนทนา 5. พดู โนม้ นา้ วอย่างมเี หตผุ ล และ การพดู โนม้ นา้ วในสถานการณต์ ่างๆ เช่น น่าเช่ือถือ - การเลอื กตัง้ กรรมการนกั เรียน - การรณรงค์ดา้ นต่างๆ - การโต้วาที 6. มมี ารยาทในการฟัง การดูและการ มารยาทในการฟัง การดูและการพูด พูด สาระที่ 4 หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.1 1. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ พยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ วรรณยุกต์ และเลขไทย เลขไทย 2. เขยี นสะกดคำและบอกความหมาย การสะกดคำ การแจกลูก และการอ่านเป็นคำ ของคำ มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตราและไมต่ รง ตามมาตรา การผนั คำ ความหมายของคำ 3. เรยี บเรียงคำเปน็ ประโยคง่าย ๆ การแต่งประโยค 4. ตอ่ คำคลอ้ งจองงา่ ยๆ คำคลอ้ งจอง  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.2 1. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ วรรณยุกต์ และเลขไทย เลขไทย 2. เขียนสะกดคำและบอกความหมาย การสะกดคำ การแจกลกู และการอา่ นเปน็ คำ ของคำ มาตราตัวสะกดทต่ี รงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา การผันอกั ษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ คำที่มีตวั การันต์ คำทม่ี ีพยัญชนะควบกล้ำ คำท่ีมีอักษรนำ คำที่มีความหมายตรงข้ามกัน คำที่มี รร ความหมายของคำ 3. เรยี บเรยี งคำเปน็ ประโยคไดต้ รงตาม การแตง่ ประโยค เจตนาของการส่อื สาร การเรยี บเรียงประโยคเปน็ ข้อความสน้ั ๆ 4. บอกลกั ษณะคำคลอ้ งจอง คำคล้องจอง 5. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถ่นิ ไดเ้ หมาะสมกับ ภาษาถนิ่ กาลเทศะ ป.3 1. เขยี นสะกดคำและบอกความหมาย การสะกดคำ การแจกลูก และการอา่ นเป็นคำ ของคำ มาตราตวั สะกดท่ตี รงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา การผนั อักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ คำทม่ี ีพยัญชนะควบกลำ้ คำทม่ี ีอกั ษรนำ คำทป่ี ระวิสรรชนียแ์ ละคำท่ีไม่ประวิสรรชนีย์ คำที่มี ฤ ฤๅ คำที่ใช้ บนั บรร คำทใ่ี ช้ รร คำท่มี ตี วั การันต์ ความหมายของคำ  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. ระบชุ นดิ และหนา้ ทีข่ องคำใน ชนดิ ของคำ ไดแ้ ก่ ประโยค - คำนาม - คำสรรพนาม 4. ใชพ้ จนานกุ รมค้นหาความหมาย - คำกริยา ของคำ การใช้พจนานุกรม 5. แต่งประโยคง่ายๆ การแตง่ ประโยคเพ่ือการส่อื สาร ได้แก่ - ประโยคบอกเล่า - ประโยคปฏเิ สธ - ประโยคคำถาม - ประโยคขอร้อง - ประโยคคำสง่ั 6. แตง่ คำคล้องจองและคำขวญั คำคลอ้ งจอง คำขวัญ 7. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ ภาษาถ่ิน ป.4 1. สะกดคำและบอกความหมายของคำ คำในแม่ ก กา ในบรบิ ทต่าง ๆ มาตราตัวสะกด การผนั อักษร คำเป็นคำตาย คำพ้อง 2. ระบชุ นิดและหนา้ ที่ของคำใน ชนดิ ของคำ ไดแ้ ก่ ประโยค - คำนาม - คำสรรพนาม 3 ใช้พจนานกุ รมค้นหาความหมาย - คำกริยา ของคำ - คำวเิ ศษณ์ 4. แต่งประโยคได้ถกู ต้องตาม การใช้พจนานุกรม หลกั ภาษา ประโยคสามัญ - สว่ นประกอบของประโยค - ประโยค 2 สว่ น - ประโยค 3 สว่ น  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 5. แต่งบทรอ้ ยกรองและคำขวญั กลอนส่ี คำขวัญ 6. บอกความหมายของสำนวน สำนวนที่เป็นคำพงั เพยและสภุ าษติ 7. เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถ่ินได้ ภาษาถิ่น ป.5 1. ระบุชนิดและหนา้ ท่ีของคำใน ชนดิ ของคำ ได้แก่ ประโยค - คำบุพบท - คำสนั ธาน - คำอุทาน 2. จำแนกสว่ นประกอบของ ประโยคและส่วนประกอบของประโยค ประโยค 3. เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถนิ่ ภาษาถิ่น 4. ใช้คำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์ 5. บอกคำภาษาต่างประเทศใน คำทีม่ าจากภาษาตา่ งประเทศ ภาษาไทย 6. แต่งบทรอ้ ยกรอง กาพย์ยานี 11 7. ใชส้ ำนวนได้ถูกตอ้ ง สำนวนท่ีเปน็ คำพงั เพยและสภุ าษติ ป.6 1. วเิ คราะห์ชนิดและหนา้ ทข่ี องคำใน ชนดิ ของคำ ประโยค - คำนาม - คำสรรพนาม - คำกริยา - คำวเิ ศษณ์ - คำบุพบท - คำเชอื่ ม - คำอทุ าน 2. ใชค้ ำได้เหมาะสมกบั กาลเทศะและ คำราชาศพั ท์ บคุ คล ระดับภาษา ภาษาถิ่น  ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๖ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3. รวบรวมและบอกความหมายของคำ คำทีม่ าจากภาษาต่างประเทศ ภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย 4. ระบุลักษณะของประโยค กลุม่ คำหรือวลี ประโยคสามญั ประโยครวม ประโยคซ้อน 5. แต่งบทรอ้ ยกรอง กลอนสุภาพ 6. วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทียบสำนวนที่ สำนวนท่ีเปน็ คำพังเพย และสุภาษติ เปน็ คำพังเพย และสภุ าษติ สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณคา่ และ นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.1 1. บอกข้อคดิ ทีไ่ ด้จากการอ่านหรือการ วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองสำหรับเด็ก ฟังวรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อย เชน่ กรองสำหรบั เด็ก - นิทาน - เรอ่ื งสั้นงา่ ยๆ - ปรศิ นาคำทาย - บทรอ้ งเลน่ - บทอาขยาน - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน 2. ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง และบทร้อยกรองตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ป.2 1. ระบุข้อคิดทีไ่ ดจ้ ากการอ่านหรือ วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรบั เด็ก การฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก เชน่ เพ่อื นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน - นิทาน - เร่ืองส้ันง่ายๆ - ปรศิ นาคำทาย - บทอาขยาน  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๗ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - บทรอ้ ยกรอง 2. ร้องบทร้องเลน่ สำหรับเด็กใน - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น ทอ้ งถ่นิ บทร้องเล่นท่ีมีคณุ ค่า - บทร้องเลน่ ในท้องถ่ิน - บทรอ้ งเลน่ ในการละเล่นของเด็กไทย 3. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี ีคณุ คา่ และบทร้อยกรองที่มคี ณุ ค่าตาม - บทอาขยานตามท่ีกำหนด ความสนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ป.3 1. ระบุข้อคิดที่ไดจ้ ากการอา่ น วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพนื้ บา้ น วรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ใน - นิทานหรือเรอื่ งในท้องถ่ิน ชวี ิตประจำวนั - เรือ่ งสนั้ งา่ ยๆ ปรศิ นาคำทาย 2. รู้จกั เพลงพ้ืนบา้ นและเพลงกล่อม - บทรอ้ ยกรอง เดก็ เพ่ือปลูกฝังความชนื่ ชม - เพลงพน้ื บา้ น วัฒนธรรมท้องถ่ิน - เพลงกล่อมเดก็ 3. แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับวรรณคดี - วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรยี นและ ที่อา่ น ตามความสนใจ 4. ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี ีคุณค่า และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตาม - บทอาขยานตามท่ีกำหนด ความสนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ ป.4 1. ระบุข้อคิดจากนิทานพ้นื บ้านหรือ วรรณคดีและวรรณกรรม เชน่ นิทานคติธรรม - นทิ านพ้นื บ้าน 2. อธิบายข้อคิดจากการอา่ นเพอื่ - นทิ านคติธรรม นำไปใชใ้ นชีวิตจรงิ - เพลงพนื้ บา้ น - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียนและ ตามความสนใจ 3. รอ้ งเพลงพื้นบ้าน เพลงพ้นื บ้าน 4. ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคณุ ค่า และบทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่าตามความ - บทอาขยานตามที่กำหนด สนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.5 1. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือ วรรณคดแี ละวรรณกรรม เชน่ วรรณกรรมที่อ่าน - นิทานพื้นบา้ น 2. ระบคุ วามรู้และข้อคิดจากการอ่าน - นิทานคตธิ รรม วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่สี ามารถ - เพลงพนื้ บา้ น นำไปใชใ้ นชวี ิตจริง - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียนและ 3. อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดีและ ตามความสนใจ วรรณกรรม 4. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองที่มีคุณค่า และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามท่ีกำหนด สนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ป.6 1. แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดี วรรณคดแี ละวรรณกรรม เช่น หรือวรรณกรรมท่ีอ่าน - นทิ านพน้ื บ้านท้องถน่ิ ตนเองและท้องถ่ินอืน่ 2. เลา่ นทิ านพื้นบ้านท้องถ่นิ ตนเอง - นิทานคตธิ รรม และนทิ านพืน้ บ้านของท้องถ่ินอ่นื - เพลงพ้ืนบ้าน 3. อธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดี และ - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี นและ วรรณกรรมที่อ่านและนำไป ตามความสนใจ ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จริง 4. ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทมี่ ีคุณค่า และบทร้อยกรองที่มคี ุณค่าตามความ - บทอาขยานตามที่กำหนด สนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๒๙ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ คำอธบิ ายรายวิชา คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน รหสั วิชา ท๑๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐๐ ชั่วโมง ศึกษาการอ่านและเขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ตัวเลขไทย การสะกด การอ่านแบบแจก ลูกและการอ่านเป็นคำ การอ่านและการเขียนตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา การผั น วรรณยุกต์และความหมายของคำ ข้อความ และประโยค คำที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์ เรื่อง สั้นวิธีอ่านบทร้อยแก้วบทร้อยกรอง บทอาขยานมารยาทในการพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน การฟัง คำแนะนำ คำสง่ั และการปฏิบัติอย่างมีมารยาท การพูดแสดงความคิดเหน็ ตามความเปน็ จริง และใช้ถ้อยคำ อยา่ งสภุ าพต่อส่ิงท่ีฟงั อ่านหรือดู ศกึ ษาการคิดวเิ คราะห์ จากการอ่านหรือฟังวรรณกรรม มีมารยาทในการ อ่านและท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดให้ เขียนเรื่องจากภาพ และบอกข้อคิดเห็นของวรรณกรรมร้อย แกว้ และรอ้ ยกรองสำหรบั เด็ก โดยใช้การฝึกทักษะกระบวนการทางภาษา ทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน ค้นคว้าหา ความรู้จากแหล่งการเรยี นรูต้ ่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ ซักถามและสืบค้นเพื่อหาข้อมูล มีความรอบคอบในการ ทำงาน ใช้ภาษาไทยไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม มมี ารยาทในการพูด การอา่ น การเขยี น และการฟงั รหัสตวั ชีว้ ดั ท๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ,ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ , ป.๑/๖ , ป.๑/๗, ป.๑/๘ ท๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ,ป.๑/๓, ท๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒, ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕, ท๔.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓, ป.๑/๔ , ท๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ รวมทั้งหมด ๒๒ ตวั ชวี้ ัด  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ท๑๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐๐ ชั่วโมง ศึกษาการอ่านและเขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ตัวเลขไทย การสะกด การอ่านแบบแจก ลูกและการอ่านเป็นคำ การอ่านและการเขียนตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา การผัน วรรณยุกต์และความหมายของคำ ข้อความ และประโยค คำที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์ เรื่อง สั้น การเลือกการอ่านตามความสนใจวิธีอ่านบทร้อยแก้วบทร้อยกรอง บทอาขยาน การลำดับเหตุการณ์ และการคาดคะเน การสรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตาม คำสั่งหรือข้อแนะนำมารยาทในการพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน การฟังคำแนะนำ คำสั่งและการปฏิบัติ อย่างมีมารยาท การพดู แสดงความคดิ เหน็ ตามความเป็นจรงิ และใชถ้ ้อยคำอยา่ งสภุ าพต่อส่งิ ทฟ่ี งั อา่ นหรือดู ศึกษาการคิดวิเคราะห์ จากการอ่านหรือฟังวรรณกรรม มีมารยาทในการอ่านและท่องจำบท อาขยานตามที่กำหนดให้ เขียนเรื่องจากภาพ และบอกข้อคิดเห็นของวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรอง สำหรับเด็กโดยใช้การฝึกทักษะกระบวนการทางภาษา ทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ฝึก ทักษะการตั้งคำถามการตอบคำถาม ฝึกทักษะการเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือ โต้แย้งในเร่อื งจากท่ีอ่าน ฟงั ดู เพ่ือให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวชิ าภาษาไทย ตั้งใจเรยี นและมีส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียน ค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ ซักถามและสืบค้นเพื่อหา ข้อมูล มีความรอบคอบในการทำงาน ใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการพูด การอ่าน การเขียน และการฟัง รหสั ตวั ชีว้ ัด ท๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ท๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ท๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ป.๒/๗ ท๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ท๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวมทั้งหมด ๒๗ ตัวชีว้ ัด  ระดับประถมศกึ ษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน รหสั วชิ า ท๑๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓ เวลาเรียน ๒๐๐ ชั่วโมง อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูต้อง คล่องแคล่วอธิบาย ความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน ตั้งคำถาม บอกคำถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านลำดับเหตุการณ์ และคาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่ืองที่อ่านเพือ่ นำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน อ่านหนังสือตามความสนใจอยา่ งสม่ำเสมอและนำเสนอเรือ่ งที่อ่าน อ่านข้อเขียน เชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และ แผนภูมิ คัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัด เขียนบรรยายความ เขียนบันทึกประจำวัน เขียนจดหมายลาครู เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการ สามารถเล่ารายละเอียดเก่ียวกับเรอ่ื งท่ีฟงั และดูท้งั ความรู้และความบันเทิงบอก สาระความสำคัญจากการฟังและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามจากเรื่องที่ฟังและดู พูดแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ เขียนสะกดคำและบอก ความหมายของคำ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่ง ประโยคง่ายๆ แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับ กาลเทศะ ระบุขอ้ คดิ เหน็ ที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้จกั เพลงพื้นบ้านและ เพลงกล่อมเด็กโดยใช้กระบวนการทักษะทางภาษาการอธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน การ ถาม การตอบคำถามเชิงเหตุผลจากการอ่านหนังสือตามความสนใจ จากการฟัง การดูอย่างสม่ำเสมอทั้งท่ี เป็นความรู้ความบันเทิง การเขียนบรรยาย การบันทึกประจำวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องตาม จินตนาการ การศึกษาหาความรู้หลักการใช้ภาษา เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย มี มารยาทที่ดีในการอ่า การเขียน การฟัง การดูและการพูด สร้างนิสัยรักการอ่านอย่างสม่ำเสมอ มีความ รอบคอบในการทำงาน ใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางภาษาอันเป็น เอกลกั ษณแ์ ละมรดกของชาติ รหัสตวั ช้ีวดั ท๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวมทั้งหมด ๓๑ ตัวชวี้ ัด  ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน รหสั วิชา ท๑๔๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลาเรยี น ๑๖๐ ชั่วโมง ศกึ ษาและฝกึ ทักษะทางภาษาผา่ นกระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพดู การอ่าน ออกเสียงบทรอ้ ยแก้วบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและสำนวน อ่านเรอ่ื งส้ันๆ ตามเวลา ที่กำหนด ตอบคำถาม แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุ ผล ประกอบ สรุปความรู้และข้อเท็จจริง คัดลายมือด้วยตัวบรรจง เขียนสื่อสารด้วยแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด ย่อความ เขียนจดหมายส่วนตัว เขียนบันทึก เขียนรายงาน เขียนเรื่องตามจินตนาการ จำแนกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู พูดสรุปความ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและ ความรู้สกึ ตั้งคำถามตอบเชงิ เหตุผล พูดรายงานหรือประเดน็ ที่ศกึ ษา สะกดคำ บอกความหมายของคำ ระบุ ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค การใช้พจนานุกรม แต่งบทร้อยกรอง คำขวัญ และบอกความหมายของ สำนวน เปรียบเทียบภาษาไทยกับภาษาถิ่น พร้อมทั้งระบุข้อคิดเห็นจากนิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรม อธิบายข้อคดิ จากการอ่านเพื่อนำไปใชใ้ นชวี ิตจริง รอ้ งเพลงพื้นบ้าน ท่องจำบทอาขยาน และบทร้อยกรองท่ี มีคุณค่าตามความสนใจ มีนิสัยรักการอ่านมีมารยาทในการอ่าน การเขียน ฟัง ดูและพูดโดยใช้ทักษะ กระบวนการทางภาษา กระบวนการคิด การประเมินค่า เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน ค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ ซักถามและศึกษาเพื่อหาข้อมูล มีความรอบคอบในการทำงาน ใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม มี มารยาทในการอ่าน การเขียน และการฟงั เพ่อื ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธ์ิทางภาษาอนั เป็นเอกลักษณ์และมรดกของ ชาติ รหัสตัวช้วี ดั ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวมทั้งหมด ๓๓ ตัวช้ีวดั  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน รหัสวชิ า ท๑๕๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลาเรียน ๑๖๐ ชั่วโมง การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองประกอบด้วยคำที่มี พยญั ชนะควบกล้ำ คำทม่ี อี กั ษรนำ คำที่มีตัวการันต์ อักษรย่อและเครอื่ งหมายวรรคตอน ข้อความที่เป็นการ บรรยายและพรรณนา ข้อความที่เป็นความหมายโดยนัย การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ การ อา่ นจับใจความเปน็ ส่ือตา่ งๆ เช่นวรรณคดใี นบทเรยี น บทความ บทโฆษณา การอา่ นงานเขยี นประเภทโน้ม น้าวการอ่านงานเขยี นประเภทโน้มนา้ วใจ ขา่ วและเหตกุ ารณ์ประจำวนั การอา่ นงานเขยี นเชิงอธบิ าย คำส่ัง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม เช่น การใช้พจนานุกรม การใช้วัสดุอุปกรณ์ การอ่านหนังสือตามความสนใจ การคดั ลายมือดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทดั ตามรูปแบบ การเขียนสอ่ื สาร เชน่ คำขวัญ คำอวย พร คำแนะนำและคำอธิบายตามขั้นตอน การนำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดไปพัฒนางาน เขียน การเขยี นยอ่ ความจากสอ่ื ตา่ งๆ เชน่ นทิ าน ความเรียงประเภทตา่ งๆ ประกาศ แจง้ ความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย การเขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ การเขียนแสดงความรู้สึก และความคิดเห็นการกรอกแบบรายการใบฝากเงินและใบถอน ธนาณัติแบบฝากส่งไปรษณียภัณฑ์ การ เขียนเรื่องตามจินตนาการ การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้ความคิดในเรื่องที่จะฟังและดูจากส่ือ ต่างๆ เช่น เรื่องเล่า บทความ ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจำวนั โฆษณา สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ การวิเคราะห์ความ น่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและในชีวิตประจำวัน การรายงาน เช่น พูดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน การพูด ลำดับเหตุการณ์ ศึกษาเรื่องชนิดของคำได้แก่ คำบุพบท คำสันธาน คำอุทาน ประโยคและส่วนประกอบของ ประโยค ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถน่ิ คำราชาศัพท์ คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ กาพยย์ าน๑ี ๑ สำนวน ที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรม เช่น นิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรม บท อาขยานตามที่กำหนด บทร้อยกรองตามความสนใจ เพลงพื้นบ้าน วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน และตามความสนใจ บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าโดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษา กระบวนการคิด การประเมินค่า เพื่อให้เกิดเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรียนวชิ าภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมสี ่วนร่วม ในกิจกรรมการเรียน ค้นคว้าหาความรูจ้ ากแหลง่ การเรียนรู้ตา่ งๆ อย่างสม่ำเสมอ ซักถามและศึกษาเพ่อื หา ข้อมูล มีความรอบคอบในการทำงาน ใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม มีมารยาทในการอ่าน การ เขียน และการฟัง เพ่อื ให้เกิดผลสมั ฤทธิท์ างภาษาอันเป็นเอกลกั ษณแ์ ละมรดกของชาติ รหสั ตวั ชี้วดั ท๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ท๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ท๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ท๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ท๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวมท้ังหมด ๓๓ ตัวชวี้ ดั  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ท๑๖๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลาเรียน ๑๖๐ ช่ัวโมง อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำประโยคและข้อความที่เป็น โวหาร อ่านเรื่องสั้นๆ อย่างหลากหลาย โดยจับเวลาแล้วถามเกี่ยวกับเรื่องทั่งอ่าน แยกข้อเท็จจริงและ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน อธิบายความรู้และนำข้อคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนิน ชีวิต อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่าน แผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับจากการอ่าน คัด ลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร คำขวัญ คำอวยพร ประกาศ โดยใช้คำได้ ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียน เรียงความ เขยี นย่อความจากส่ือต่างๆ เช่นนิทาน ความเรยี งประเภทตา่ งๆ ประกาศ แจง้ ความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คำสั่ง เขียนจดหมายส่วนตัว จดหมาย แสดงความขอบคุณ แสดงความขอโทษ จดหมายแสดงความเห็นใจ แสดงความยินดี กรอกแบบรายการ ต่างๆ แบบคำรอ้ งต่างๆ ใบสมคั รศกึ ษาต่อ แบบฝากสง่ พสั ดุและไปรษณยี ภัณฑ์ เขียนเร่ืองตามจินตนาการ และสรา้ งสรรค์ การพูดแสดงความรู้ความเขา้ ใจจุดประสงค์ของเร่ืองที่ฟังและดู ต้ังคำถามและตอบคำถาม เชงิ เหตผุ ลจากเรื่องท่ีฟังและดู จากส่ือต่างๆ ไดแ้ ก่ ส่ือส่งิ พมิ พ์ สือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ วเิ คราะห์ความน่าเช่ือถือ จากการฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดรายงานหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และ การสนทนา ได้แก่ การพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน การพูดลำดับเหตุการณ์ พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผล และน่าเชื่อถือในสถานการณ์ต่างๆ เช่น การเลือกตั้งกรรมการนักเรียน การรณรงค์ด้านต่างๆ การโต้วาที การตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองทีฟ่ ังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟังและดสู ่ือ โฆษณา พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า พูดโน้มน้าวเพื่อให้สามารถเลือกฟังและดูอย่างมี วิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคิดและแสดงความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและ สรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์ คำบุพบทคำเชื่อม คำ อุทานในประโยค ใชค้ ำราชาศัพท์ ระดบั ภาษา ภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและ บอกความหมายของคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยคตา่ งๆ ได้แก่ กลุ่มคำ หรือวลี ประโยคสามัญ ประโยครวมประโยคซ้อน แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ วิเคราะห์และ เปรียบเทยี บสำนวนทเ่ี ปน็ คำพังเพยและสภุ าษิต แสดงความคดิ เห็นจากวรรณคดหี รือวรรณกรรมที่อ่าน เล่า นทิ านพนื้ บา้ นท้องถิน่ ตนเอง และนทิ านพื้นบ้านของท้องถ่ินอื่น อธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม ที่อ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตาม ความสนใจโดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษา กระบวนการคิด การประเมินค่า เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อ การเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน ค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งการ เรยี นรู้ต่างๆ อยา่ งสม่ำเสมอ ซักถามและศึกษาเพ่ือหาข้อมูล มีความรอบคอบในการทำงาน ใช้ภาษาไทยได้ อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม มีมารยาทในการอ่าน การเขียน และการฟัง เพ่อื ใหเ้ กิดผลสัมฤทธิ์ทางภาษาอันเป็น เอกลกั ษณแ์ ละมรดกของชาติ  ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ รหัสตวั ช้ีวดั ท๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวมท้ังหมด ๓๓ ตัวชีว้ ดั  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โครงสร้างรายวชิ าพ้ืนฐาน โครงสร้างรายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวิชา ท11101 ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 200 ชัว่ โมง ภาษาพาที ลำดบั ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ที่ เรยี นรู้ เรยี นร้/ู ตัวชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน 1 ใบโบก ใบบวั ท1.1 ป.1/1 การออกเสียงและบอกความหมายของคำพนื้ ฐาน 10 2 ป.1/2ป.1/8 มารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม ท2.1 ป.1/1 บรรทัดตามรปู แบบ มารยาทในการเขียน การ ป.1/3 ฟงั คำแนะนำและปฏิบตั ติ ามคำสัง่ งา่ ยๆ การพดู ท3.1 ป.1/1 ส่อื สารตามวตั ถุประสงค์ ป.1/4 ป.1/5 มารยาทในการฟัง ท4.1 ป1/1 พยญั ชนะ ก จ ด ต บ ป อ ข ห ง ม ป.1/2 สระ อา อี อู การสะกดคำการแจกลูกและการอ่านเปน็ คำ 2 ภูผา ท1.1ป.1/1 การออกเสียงและบอกความหมายของคำพ้นื ฐาน 10 3 ป.1/2 ป.1/3 มารยาทในการอา่ น การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็ม ท2.1ป.1/1 บรรทดั ตามรูปแบบ การเขยี นส่อื สาร คำพืน้ ฐาน ป.1/2 ป.1/3 คำในชีวติ ประจำวนั มารยาทในการเขยี น การ ท3.1ป.1/1 ฟงั คำแนะนำและปฏบิ ตั ิตามคำสัง่ ง่ายๆ การพูด ป.1/2ป.1/4 สื่อสารตามวตั ถปุ ระสงค์ การจับใจความพูดแสดง ป.1/5 ความคิดเหน็ มารยาทในการฟงั ท4.1ป.1/1 พยญั ชนะ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ ป.1/2 ข ผ ส ห ง พ ภ ม ร ล สระ อี อู อา เลขไทย ๑ - ๕ การสะกดคำการแจกลูกและการอ่านเปน็ คำ 3 เพื่อนกนั ท1.1ป.1/1 การออกเสียงและบอกความหมายของคำพื้นฐาน 10 3 ป.1/2 ป.1/3 มารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็ม ป.1/8 บรรทัดตามรปู แบบ การเขียนสอื่ สาร คำพื้นฐาน ท2.1ป.1/1 คำในชวี ติ ประจำวนั มารยาทในการเขียน การฟงั  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๗ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภาษาพาที ลำดบั ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ที่ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน ป.1/2 ป.1/3 คำแนะนำและปฏบิ ัติตามคำสั่งง่ายๆ การพูด ท3.1ป.1/2 สื่อสารตามวตั ถุประสงค์ การจบั ใจความพูดแสดง ป.1/4ป.1/5 ความคดิ เห็น ท4.1ป.1/1 มารยาทในการฟัง มารยาทในการดู พดู ป.1/2 วรรณกรรมสำหรบั เดก็ ท5.1ป.1/1 พยญั ชนะ ข ฉ ถ ผ ส ห ง ชพภมร ลว สระ เอ แอ เลขไทย ๖ - ๑๐ การสะกดคำการแจกลูกและการอ่านเปน็ คำ 4 ตามหา ท1.1ป.1/1 การออกเสยี งและบอกความหมายของคำพน้ื ฐาน 10 3 ป.1/2ป.1/3 การอ่านจับใจความมารยาทในการอ่าน การคดั ป.1/4ป.1/5 ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัดตามรปู แบบ การ ท2.1ป.1/1 เขยี นสื่อสาร คำพ้นื ฐาน คำในชวี ิตประจำวัน ป.1/2ป.1/3 มารยาทในการเขียน การฟังคำแนะนำและปฏิบตั ิ ท3.1ป.1/2 ตามคำส่ังง่ายๆ การพูดสื่อสารตามวตั ถปุ ระสงค์ ป.1/4ป.1/5 การจบั ใจความพดู แสดงความคดิ เหน็ มารยาทใน ท4.1ป.1/1 การฟัง มารยาทในการดู พูด ป.1/2 วรรณกรรมสำหรับเดก็ ท5.1ป.1/1 พยัญชนะ ข ฉ ถ ผ ส ห คงชทธนพภมรยว สระ โอ ไอ ใอ เลขไทย๑-๑๐ การสะกดคำการแจกลูกและการอา่ นเปน็ คำ 5 ไปโรงเรียน ท1.1ป.1/1 การออกเสียงและบอกความหมายของคำพื้นฐาน 10 2 ป.1/2 ป.1/3 มารยาทในการอ่าน การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็ม ป.1/8 บรรทัดตามรูปแบบ การเขียนสอื่ สาร คำพ้ืนฐาน ท2.1ป.1/1 คำในชวี ติ ประจำวัน มารยาทในการเขียน การฟัง ป.1/2 ป.1/3 คำแนะนำและปฏบิ ัติตามคำสั่งง่ายๆ การพูด ท3.1ป.1/2 สอื่ สารตามวตั ถปุ ระสงค์ การจับใจความพดู แสดง ป.1/4 ป.1/5 ความคิดเห็น  ระดับประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๘ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภาษาพาที ลำดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ที่ เรยี นรู้ เรียนร้/ู ตวั ช้วี ดั (ชัว่ โมง) คะแนน ท4.1ป.1/1 มารยาทในการฟัง มารยาทในการดู พดู ป.1/2 วรรณกรรมสำหรบั เด็ก ท5.1ป.1/1 พยญั ชนะ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ส ศ ษ ห ง ชพภมร ลว สระ อือ วรรณยุกต์ เอก โท การสะกดคำการแจกลูกและการอา่ นเปน็ คำ การผันวรรณยุกต์ 6 ไปโรงเรยี น ท1.1ป.1/1 การออกเสยี งและบอกความหมายของคำพื้นฐาน 10 3 ป.1/2 ป.1/3 คำคลอ้ งจอง การอา่ นจบั ใจความมารยาทในการ ป.1/4 ป.1/5 อ่าน การคัดลายมือ ตัวบรรจงเต็มบรรทัดตาม ป.1/8 รปู แบบ การเขียนสือ่ สาร คำพนื้ ฐาน คำใน ท2.1ป.1/1 ชีวิตประจำวัน มารยาทในการเขยี น การฟัง ป.1/2 ป.1/3 คำแนะนำและปฏบิ ตั ติ ามคำสั่งง่ายๆ การพูด ท3.1ป.1/1 ส่อื สารตามวตั ถุประสงค์ การจับใจความพูดแสดง ป.1/2 ป.1/3 ความคดิ เหน็ มารยาทในการฟัง มารยาทในการดู ป.1/4 ป.1/5 พูด ท4.1ป.1/1 วรรณกรรมสำหรบั เด็ก ป.1/2 ป1/3 พยัญชนะ ค ง ช ญ ท ธ น พ ฟ ภ ม ป.1/4 ร ย ว ท5.1ป.1/1 สระ เอีย อวั วรรณยุกต์ เอก โท การแต่งประโยค การสะกดคำการแจกลูกและการอา่ นเป็นคำ การผนั วรรณยกุ ต์ 7 เพ่ือนรักเพื่อน ท1.1ป.1/1 การออกเสยี งและบอกความหมายของคำพื้นฐาน 10 3 เล่น ป.1/2 ป.1/3 การอ่านจบั ใจความ มารยาทในการอา่ น การคดั ป.1/4 ป.1/5 ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรปู แบบ การ ป.1/8 เขยี นสอื่ สาร คำพืน้ ฐาน คำในชีวิตประจำวัน ท2.1ป.1/1 มารยาทในการเขียน การฟงั คำแนะนำและปฏบิ ัติ ป.1/2 ป.1/3 ตามคำสัง่ ง่ายๆ การพูดสอื่ สารตามวตั ถุประสงค์  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๓๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภาษาพาที ลำดับ ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ที่ เรยี นรู้ เรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั (ชั่วโมง) คะแนน ท3.1ป.1/2 การจับใจความพดู แสดงความคิดเหน็ มารยาทใน ป.1/4 ป.1/5 การฟงั มารยาทในการดู พูด ท4.1ป.1/1 วรรณกรรมสำหรบั เดก็ ป.1/2 พยัญชนะ ค ง ช ซ ญ ท ธ น พ ฟ ภ ม ท5.1ป.1/1 ย ร ว ล ฮ สระ อะ อิ อึ อุ วรรณยุกต์ ตรี จตั วา การสะกดคำการแจกลูกและการอา่ นเปน็ คำ การผันวรรณยกุ ต์ 8 พูดเพราะ ท1.1ป.1/1 การออกเสียงและบอกความหมายของคำพื้นฐาน 10 3 ป.1/2 ป.1/3 คำคลอ้ งจอง การอา่ นจับใจความ เคร่ืองหมาย ป.1/4 ป.1/5 สัญลักษณม์ ารยาทในการอ่าน การคัดลายมือ ป.1/7 ป.1/8 ตัวบรรจงเตม็ บรรทัดตามรูปแบบ การเขียน ท2.1ป.1/1 สือ่ สาร คำพนื้ ฐาน คำในชีวิตประจำวัน ป.1/2 ป.1/3 มารยาทในการเขยี น การฟงั คำแนะนำและ ท3.1ป.1/1 ปฏิบตั ติ ามคำสัง่ งา่ ยๆ การพดู ส่ือสารตาม ป.1/2 ป.1/3 วตั ถุประสงค์ การจับใจความพดู แสดงความ ป.1/4 ป.1/5 คิดเหน็ มารยาทในการฟัง มารยาทในการดู พูด ท4.1ป.1/1 วรรณกรรมสำหรับเด็ก บทอาขยานบทท่องจำ ป.1/2 ป1/3 พยัญชนะ ค ง ช ญ ท ธ น พ ฟ ภ ม ร ป.1/4 ย ว ท5.1ป.1/1 สระ เอีย อัว ป.1/2 วรรณยกุ ต์ เอก โท การแต่งประโยค การสะกดคำการแจกลูกและการอ่านเปน็ คำ การผันวรรณยกุ ต์ 9 เกอื บไป ท1.1ป.1/1 การออกเสยี งและบอกความหมายของคำพน้ื ฐาน 10 3 ป.1/2 ป.1/3 การอ่านจับใจความ มารยาทในการอ่าน การ ป.1/4 ป.1/5 คัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดตามรปู แบบ การ  ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภาษาพาที ลำดบั ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรียนรู้ เรียนร้/ู ตัวช้ีวดั (ช่ัวโมง) คะแนน ป.1/8 เขยี นสื่อสาร คำพ้ืนฐาน คำในชีวติ ประจำวนั ท2.1ป.1/1 มารยาทในการเขยี น การฟังคำแนะนำและ ป.1/2 ป.1/3 ปฏบิ ัตติ ามคำส่ังง่ายๆ การพดู สอ่ื สารตาม ท3.1ป.1/2 วตั ถปุ ระสงค์ การจบั ใจความพดู แสดงความ ป.1/4 ป.1/5 คิดเห็นมารยาทในการฟงั มารยาทในการดู พดู ท4.1ป.1/1 วรรณกรรมสำหรับเด็กท่องจำบทอาขยาน ป.1/2 บทท่องจำ ท5.1ป.1/1 พยัญชนะ อักษร 3 หมู่ ป.1/2 สระ โอะ เอาะ ออ เออะ วรรณยกุ ต์ เอก โท ตร๊ จตั วา การสะกดคำการแจกลูกและการอา่ นเปน็ คำ การผันวรรณยุกต์ 10 เพ่อื นรู้ใจ ท1.1ป.1/1 การออกเสยี งและบอกความหมายของคำพื้นฐาน 10 3 ป.1/2 ป.1/3 คำคล้องจอง การอ่านจับใจความ เคร่อื งหมาย ป.1/4 ป.1/5 สญั ลกั ษณ์มารยาทในการอ่าน การคัดลายมือ ป.1/7 ป.1/8 ตัวบรรจงเตม็ บรรทัดตามรปู แบบ การเขยี น ท2.1ป.1/1 ส่ือสาร คำพ้นื ฐาน คำในชีวิตประจำวนั ป.1/2 ป.1/3 มารยาทในการเขียน การฟงั คำแนะนำและ ท3.1ป.1/1 ปฏิบัตติ ามคำสัง่ งา่ ยๆ การพูดสอ่ื สารตาม ป.1/2 ป.1/3 วัตถปุ ระสงค์ การจับใจความพดู แสดงความ ป.1/4 ป.1/5 คิดเหน็ มารยาทในการฟงั มารยาทในการดู พดู ท4.1ป.1/1 วรรณกรรมสำหรบั เดก็ บทอาขยานบทท่องจำ ป.1/2 ป1/3 พยัญชนะครบทดุ ตัว ป.1/4 ตวั สะกด แมก่ กา แมก่ ง แม่กน ท5.1ป.1/1 การแตง่ ประโยค ป.1/2 การสะกดคำการแจกลูกและการอ่านเปน็ คำ การผันวรรณยุกต์ 11 ชา้ งน้อยน่ารัก ท1.1ป.1/1 การออกเสียงและบอกความหมายของคำพ้ืนฐาน 12 3 ป.1/2 ป.1/3  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภาษาพาที ลำดับ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ที่ เรยี นรู้ เรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด (ชัว่ โมง) คะแนน ป.1/4 ป.1/5 การอ่านจับใจความ เครื่องหมายสญั ลักษณ์ ป1/6 ป.1/7 มารยาทในการอ่าน การคัดลายมอื ตัวบรรจงเต็ม ป.1/8 บรรทัดตามรปู แบบ การเขยี นสื่อสาร คำพนื้ ฐาน ท2.1ป.1/1 คำในชวี ติ ประจำวัน มารยาทในการเขียน การ ป.1/2 ป.1/3 ฟงั คำแนะนำและปฏบิ ตั ติ ามคำส่งั งา่ ยๆ การตอบ ท3.1ป.1/2 คำถาม การจบั ใจความพดู แสดงความคดิ เหน็ ป.1/3 มารยาทในการฟัง มารยาทในการดู พดู ท4.1ป.1/1 วรรณกรรมสำหรับเดก็ ท่องจำบทอาขยาน ป.1/2 บทท่องจำ ท5.1ป.1/1 พยญั ชนะ อักษร 3 หมู่ ป.1/2 วรรณยุกต์ เอก โท ตร๊ จตั วา ตงั สะกด แม่กม แมเ่ กย แม่เกอว การสะกดคำการแจกลูกและการอ่านเป็นคำ 12 วนั สงกรานต์ ท1.1ป.1/1 การออกเสยี งและบอกความหมายของคำพื้นฐาน 10 3 ป.1/2 ป.1/3 คำคล้องจอง การอ่านจับใจความ เครือ่ งหมาย ป.1/4 ป.1/5 สญั ลักษณ์มารยาทในการอ่าน การคดั ลายมือ ป.1/6 ป.1/7 ตัวบรรจงเต็มบรรทดั ตามรปู แบบ การเขยี น ป.1/8 สื่อสาร คำพ้นื ฐาน คำในชีวิตประจำวัน ท2.1ป.1/1 มารยาทในการเขียน การฟงั คำแนะนำและ ป.1/2 ป.1/3 ปฏบิ ตั ิตามคำส่งั งา่ ยๆ การจบั ใจความพดู แสดง ท3.1ป.1/1 ความคดิ เหน็ ตอบคำถาม มารยาทในการฟงั ป.1/2 ป.1/3 มารยาทในการดู พดู ป.1/4 ป.1/5 วรรณกรรมสำหรบั เดก็ บทอาขยานบทท่องจำ ท4.1ป.1/1 พยญั ชนะครบทุกตัว ป1/2 ตวั สะกด แม่ กก กด กบ การแตง่ ประโยค ท5.1ป.1/1 การสะกดคำการแจกลูกและการอา่ นเปน็ คำ ป.1/2 การผันวรรณยกุ ต์  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ วรรณคดลี ำนำ ลำดับ ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ท่ี การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ช้ีวัด (ช่วั โมง) คะแนน 1 เจา้ ท1.1ป.1/3 การอา่ นจับใจความ 10 3 เน้ืออ่อน ป.1/4ป.1/5 การคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดตามรูปแบบการ ท2.1ป.1/1 เขยี นตัวอักษรไทย ท3.1ป.1/2 การจบั ใจความการตอบคำถามและการพดู แสดงความ ป.1/3 คดิ เห็น ท5.1ป.1/1 วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสำหรับเด็ก ป.1/2 เพลงกล่อมเด็ก เจ้าเนอ้ื อ่อน 2 มาเลน่ กัน ท1.1ป.1/3 การอา่ นจับใจความ 10 3 ไหม ป.1/4ป.1/5 การจับใจความการตอบคำถามและการพดู แสดงความ ท2.1ป.1/1 คดิ เห็น ท3.1ป.1/2 การคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรปู แบบการ ป.1/3 เขียนตัวอักษรไทย ท5.1ป.1/1 วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรบั เด็ก ป.1/2 เพลงรอ้ งเล่นกุ๊ก กุ๊กไก่ แม่งูเอย๋ 3 ของเธอ ท1.1ป.1/3 การอา่ นจบั ใจความ 10 3 3 ของฉัน ป.1/4ป.1/5 การจบั ใจความการตอบคำถามและการพูดแสดงความ ท2.1ป.1/1 คิดเห็น ท3.1ป.1/2 การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการ ป.1/3 เขยี นตัวอกั ษรไทย ท5.1ป.1/1 วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก ป.1/2 บทอาขยาน บทเลือก น่ี ของ ของเธอ บทเพลงขอบใจ 4 ฝนตก ท1.1ป.1/3 การอ่านจับใจความ 10 แดดออก ป.1/4ป.1/5 การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการ ท2.1ป.1/1 เขยี นตวั อักษรไทย ท3.1ป.1/2 การจบั ใจความการตอบคำถามและการพูดแสดงความ ป.1/3 คิดเห็น  ระดับประถมศึกษา

หลกั สูตรโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ วรรณคดลี ำนำ ลำดับ ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ที่ การเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั (ชั่วโมง) คะแนน ท5.1ป.1/1 วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสำหรับเด็ก ป.1/2 บทอาขยานบทหลกั ฝนตกแดดออก 5 เรารกั ท1.1ป.1/3 การอา่ นจับใจความ 10 3 เมืองไทย ป.1/4ป.1/5 การจบั ใจความการตอบคำถามและการพูดแสดงความ ท2.1ป.1/1 คิดเหน็ ท3.1ป.1/2 การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการ ป.1/3 เขียนตวั อกั ษรไทย ท5.1ป.1/1 วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสำหรบั เด็ก ป.1/2 บทอาขยานบทเลือก รกั เมืองไทย 6 ตั้งไข่ ลม้ ท1.1ป.1/3 การอ่านจบั ใจความ 10 3 ตม้ ไข่กิน ป.1/4 ป.1/5 การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ ป.1/6 การจับใจความการตอบคำถามและการพูดแสดงความ ท2.1ป.1/1 คดิ เห็น ท3.1ป.1/2 การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการ ป.1/3 เขยี นตัวอกั ษรไทย ท5.1ป.1/1 วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสำหรับเด็ก ป.1/2 บทอาขยาน บทเลอื ก ตง้ั เอ๋ยตั้งไข่ 7 แมวเหมยี ว ท1.1ป.1/3ป. การอ่านจบั ใจความ 10 3 1/4ป.1/5 การอ่านหนังสือตามความสนใจ ป.1/6 การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรปู แบบการ ท2.1ป.1/1 เขยี นตัวอกั ษรไทย ท3.1ป.1/2 การจับใจความการตอบคำถามและการพูดแสดงความ ป.1/3 คดิ เห็น ท5.1ป.1/1 วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองสำหรับเด็ก ป.1/2 บทอาขยานบทหลกั แมวเอย๋ แมวเหมยี ว 8 กระตา่ ย ท1.1ป.1/3 การอ่านจับใจความ 63 กับเตา่ ป.1/4ป.1/5 การอ่านหนังสือตามความสนใจ ป.1/6 การจบั ใจความการตอบคำถามและการพดู แสดงความ ท2.1ป.1/1 คดิ เหน็  ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ เวลา น้ำหนัก (ชัว่ โมง) คะแนน วรรณคดลี ำนำ ลำดบั ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ ท่ี การเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตัวชีว้ ัด ท3.1ป.1/2 การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดตามรูปแบบการ ป.1/3 เขียนตวั อกั ษรไทย ท5.1ป.1/1 วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรองสำหรบั เด็ก ป.1/2 นทิ านกระตา่ ยกบั เตา่ สอบกลางปี 1 10 สอบปลายปี 1 30 200 100 รวม  ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ รหัสวิชา ท12101 โครงสร้างรายวชิ าพน้ื ฐาน ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิชาภาษาไทย เวลาเรียน 200 ช่วั โมง หนว่ ย ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก เรียน คะแนน ท่ี การเรียนรู้ ตวั ช้วี ัด ชวั่ โมง 5 1 โรงเรยี นตน้ ไม้ มาตรฐาน ท 3.1 การตั้งคำถามและตอบคำถามจาก 1 5 ท 3.1 ป 2/ เรื่องที่ฟังและดเู ปน็ การฝกึ วเิ คราะห์เร่ืองราวเพ่ือให้ได้ข้อเทจ็ จริง มาตรฐาน ท 1.1 การอ่านออกเสียงเป็นการอ่านทใี่ ห้ 2 ท 1.1 ป 2/1 ผอู้ น่ื ไดย้ ินเสียงดัง ผ้อู า่ นต้องอ่านให้ เสียงดงั ฟงั ชดั และถูกต้องตาม อกั ขรวิธี มาตรฐาน ท1.1 การตง้ั คำถามและตอบคำถามจาก 2 ท 1.1 ป 2/ เร่ืองท่ีอ่านเป็นการใชค้ วามคิดอย่างมี เหตผุ ล มาตรฐาน ท4.1 การเขยี นการสะกดคำและทราบ 2 ท 4.1 ป 2/2 ความหมายของคำเป็นพน้ื ฐานของการ อา่ น มาตรฐาน ท 1.1 การอา่ นออกเสียงเปน็ การอา่ นที่ให้ 2 ท 1.1 ป 2/1 ผู้อืน่ ได้ยินเสียงดังผอู้ า่ นต้องอ่านให้ เสยี งดงั ฟงั ชดั และถกู ต้องตามอักขรวิธี มาตรฐาน ท 2.1 การคัดลายมือเปน็ การฝกึ เขยี น 2 ท 2.1 ป 2/1 รูปแบบอกั ษรไทยอย่างถูกต้อง สวยงามและสะอาด มาตรฐาน ท 4.1 คำคลอ้ งจองเปน็ พน้ื ฐานในการอา่ น 2 ท 4.1 ป 2/4 บทร้อยกรอง 2 ภาษาไทย มาตรฐาน ท 3.1 การตั้งคำถามและตอบคำถามจาก 1 ร่ายรำ ท 3.1 ป 2/4 เร่อื งท่ีฟังและดเู ป็นการฝึก วิเคราะหเ์ รื่องราวเพื่อใหไ้ ด้ขอ้ เท็จจรงิ มาตรฐาน ท 1.1 การอ่านออกเสยี งเปน็ การอา่ นท่ีให้ 1 ท 1.1 ป 2/1 ผอู้ ื่นได้ยนิ เสยี งดังผูอ้ า่ นต้องอ่านให้ เสยี งดังฟังชัดและถูกตอ้ งตาม อกั ขรวธิ ี  ระดับประถมศึกษา

หลักสตู รโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ หนา้ ๔๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ หน่วย ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้ / สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก เรียน คะแนน ที่ การเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั ช่ัวโมง มาตรฐาน ท 1.1 การตั้งคำถามและตอบคำถามจาก 2 ท 1.1 ป 2/3 เร่อื งท่ีอ่านเป็นการใช้ความคิดอยา่ งมี เหตผุ ล มาตรฐาน ท 4.1 การเขยี นการสะกดคำและทราบ 2 ท 4.1 ป 2/2 ความหมายของคำเป็นพน้ื ฐานของการ อ่าน มาตรฐาน ท 4.1 การสอ่ื สารเป็นส่ิงจำเป็นในการ 2 ท 4.1 ป 2/3 ดำรงชีวิตการทำความเขา้ ใจเนอ้ื หา ของสารและ เจตนาของผู้สง่ สารจะเป็นประโยชนใ์ น การส่อื สาร มาตรฐาน ท 2.1 การเขยี นประสบการณ์เปน็ เร่ืองราว 2 5 ท 2.1 ป 2/2 สนั้ ๆ เปน็ การฝึกการเขียนและการ 2 เขียนนนั้ ตอ้ งถกู ต้อง มาตรฐาน ท 2.1 ตามหลักการเขียน 1 ท 2.1 ป 2/3 การเขียนเรื่องส้นั ตามจนิ ตนาการ มาตรฐาน ท 1.1 นอกจากจะเปน็ การฝึกการเขียนแลว้ ท 1.1 ป 2/1 ยงั เปน็ การชว่ ยให้นักเรยี นมีความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรคด์ ว้ ย 3 ลำนำของ มาตรฐาน ท 3.1 คุณตา ท 3.1 ป 2/3 การอ่านออกเสยี งเปน็ การอ่านท่ใี ห้ ผ้อู น่ื ไดย้ ินเสียงดังผู้อ่านต้องอ่านให้ เสียงดังฟังชดั และถูกต้องตาม อกั ขรวิธี การบอกสาระสำคัญจากเรื่องท่ีฟงั และ ดูเปน็ การฝึกวเิ คราะห์เร่ืองราวเพ่อื ให้ ได้ข้อเท็จจรงิ มาตรฐาน ท 1.1 การอ่านออกเสยี งเปน็ การอ่านท่ีให้ 1 ท 1.1 ป 2/1 ผอู้ ่นื ได้ยนิ เสียงดังผู้อา่ นต้องอ่านให้ 1 เสียงดงั ฟงั ชดั และถูกต้องตาม มาตรฐาน ท 1.1 อกั ขรวิธี ท 1.1 ป 2/3 การตัง้ คำถามและตอบคำถามจาก เรอื่ งที่อ่านเป็นการใชค้ วามคิดอยา่ งมี เหตุผล  ระดบั ประถมศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook