Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Published by nithiwan, 2020-05-17 00:11:39

Description: หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

๒๕๖๓ การส่อื สารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ย นธิ ิวรรณ รงุ่ รังษี วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครราชสมี า 05/07/60

บทที่ 1 การสอ่ื สารขอ้ มูล และเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. อธบิ ายความแตกต่างระหวา่ งสญั ญาณแอนะล็อกและสญั ญาณดจิ ิตอลได้ 2. แสดงความรู้เก่ียวกับสว่ นประกอบของระบบการส่อื สารขอ้ มูล 3. บอกคุณสมบัติพน้ื ฐานของการสอื่ สารข้อมูล และทิศทางการส่งขอ้ มูลได้ 4. อธิบายลกั ษณะการทางานของเทคโนโลยีต่างๆ ทีเ่ ก่ียวข้องกบั การส่ือสารโทรคมนาคมได้ 5. บอกความหมาย ประเภท และประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 6. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในระบบเครอื ข่ายแบบ Peer-to-Peer และ Client-Sever 7. บอกเกณฑ์วัดประสิทธิภาพของเครือขา่ ยได้ พน้ื ฐานการส่อื สารข้อมลู การส่อื สารข้อมูลเปน็ การแลกเปล่ียนข้อมูลระหวา่ งสองอุปกรณ์ สาหรบั จุดประสงค์หลกั ของการ ส่อื สารโดยท่ัวไปแลว้ จะเหมือนกนั ก็คอื ต้องการส่งข่าวสารจากท่ีหนงึ่ ไปยงั อีกท่ีหนึง่ ซ่ึงข่าวสารอาจเป็น ข้อมลู ตวั อักษร เสียง หรือรูปภาพ ทถี่ กู จัดเก็บในรูปแบบของขอ้ มลู ดิจติ อลและนามาเข้ารหัสให้อยใู่ น รปู แบบของสญั ญาณคล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้ หรอื คล่นื แสง แล้วสง่ ผ่านไปยงั สื่อกลางส่งข้อมลู เพ่อื ไปยัง ปลายทางท่ตี ้องการ ครน้ั เมื่อปลายทางได้รับข้อมลู แล้วกจ็ ะแปลงคล่นื สัญญาณดงั กล่าวให้กลับมาเปน็ ข้อมลู เหมอื นกบั ตน้ ทางที่สง่ มา ทัง้ น้ีสญั ญาณทส่ี ่งผ่านส่ือกลางน้ันยงั สามารถเป็นได้ทั้งสญั ญาณแอนะล็ อกหรอื สัญญาณดจิ ิตอลกไ็ ด้โดยที่

บทที่ 1 การส่ือสารขอ้ มลู และเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ สัญญาณแอนะล็อก เปน็ สญั ญาณทเี่ ป็นรปู คลน่ื ข้นึ ลงสลับกนั ไปแบบตอ่ เน่ือง สามารถส่งข้อมูล ออกไปได้บนระยะทางท่ีไกล แตม่ ีข้อเสยี คือ จะมสี ญั ญาณรบกวนสงู ตวั อย่างสญั ญาณแอนะลอ็ ก เช่น สัญญาณท่สี ่งไปบนสายโทรศพั ท์ทีส่ นทนาผ่านระบบโทรศพั ท์ตามบ้าน สญั ญาณคล่ืนวทิ ยุ AM/FM เป็น ต้น อยา่ งไรก็ตาม กรณีการส่งสัญญาณระยะไกล จาเป็นตน้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ อมปลิไฟเออร์เพื่อเพ่ิมกาลังส่ง บนระยะทางไกลๆ สัญญาณดจิ ิตอล เป็นสญั ญาณท่มี ีรูปแบบไมต่ ่อเน่ือง รปู แบบของแรงต้นไฟฟา้ จะมีคา่ 0 หรอื 1 เท่านน้ั สาหรบั ข้อดีของสัญญาณชนิดนี้ก็คอื เป็นสญั ญาณที่ทนต่อสญั ญาณรบกวนไดด้ ี สว่ น ข้อเสยี กค็ อื ระยะทางในการส่งผ่าน ซึ่งสญั ญาณแอนะล็อกมคี วามสามารถในการส่งไดใ้ นระยะทางที่ไกล กว่า สาหรบั อุปกรณ์ท่ชี ว่ ยยืดระยะทางของสัญญาณดจิ ิตอลก็คอื รีพตี เตอร์ ซึ่งอุปกรณ์ดังกลา่ วจะทา หน้าทป่ี รบั แรงดนั ไฟฟ้าที่อ่อนตัวให้กลับมาคงรปู เหมือนตน้ ฉบบั เพื่อให้สัญญาณส่งต่อไปได้ไกลยิ่งข้ึน รูปที่ 1.1 ความแตกต่างระหว่างสญั ญาณแอนะลอ็ กและสญั ญาณดิจิตอล

ส่วนประกอบของระบบการสอื่ สารขอ้ มลู ความหมายของการสื่อสารข้อมูลในมุมมองอย่างง่ายก็คือ เปน็ กระบวนการถ่ายโอนข้อมูลจาก แหลง่ กาเนิดข่าวสารผา่ นไปยงั ส่ือกลางเพ่อื ส่งไปยงั จุดหมายปลายทางทต่ี ้องการ แตก่ ารสอื่ สารขอ้ มูลจะ สัมฤทธผ์ิ ลและสมบูรณก์ ็ตอ่ เม่ือครบส่วนประกอบของระบบการสื่อสาร ซง่ึ ประกอบด้วย 1. ข่าวสาร 4. สือ่ กลางส่งขอ้ มลู 2. ผูส้ ่ง (แหล่งกาเนิดข่าวสาร) 5. โพรโทคอล 3. ผรู้ บั (จุดหมายปลายทาง) รปู ท่ี 1.2 องค์ประกอบทง้ั 5 ของระบบการสือ่ สารข้อมลู ข่าวสาร หมายถงึ ข้อมลู หรือสารสนเทศต่างๆ ทีอ่ าจเปน็ ได้ท้งั ข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง และวิดีโอ สาหรบั ข่าวสารที่สง่ ผ่านสื่อกลางน้ัน จะต้องได้รบั การเข้ารหัสกอ่ น ครง้ั เม่ือปลายทางได้รบั ขอ้ มูลกจ็ ะ ถอดรหัสให้กลบั มาเปน็ ขอ้ มูลด้งั เดมิ เชน่ เดยี วกับท่ีส่งมา อยา่ งไรกต็ าม ระหว่างการลาเลียงข่าวสารผ่าน สอื่ กลาง อาจมีสัญญาณรบกวนปะปนมากบั ขา่ วสารกเ็ ป็นได้ ผู้สง่ คอื แหลง่ กาเนิดข่าวสาร ซง่ึ ก็คอื อปุ กรณ์ที่ใชส้ าหรับส่งขา่ วสารน่ันเอง เชน่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เวิร์กสเตชัน โทรศพั ท์ และกลอ้ งวิดโี อ ผรู้ บั คอื จุดหมายปลายทาง ซ่ึงก็คอื อปุ กรณ์ที่ใช้สาหรบั รบั ข่าวสารน่นั เอง เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เวิร์กสเตชัน โทรศัพท์ และโทรทศั น์ สอื่ กลางสง่ ขอ้ มลู หมายถึงเสน้ ทางที่ใชส้ าหรับลาเลียงขา่ วสารจากผู้ส่งไปยงั ผู้รบั เช่น สายโคแอก เชยี ล สายคูบ่ ิดเกลียว สายไฟเบอรอ์ อปติก และคล่ืนวิทยุ โพรโทคอล (Protocol) เป็นกฎเกณฑ์และขอ้ ปฏบิ ตั ิต่างๆ ท่ีถูกกาหนดข้ึนมา เพ่ือนามาใช้เป็นข้อตกลง ร่วมกนั ระหว่างผู้สง่ และผู้รบั เพื่อให้การสื่อสารบรรลุผล แมว้ า่ อปุ กรณ์ท้ังสองฝัง่ จะสามารถเชอ่ื มต่อถงึ กันได้ก็ตาม หากปราศจากโพรโทคอลหรอื ใช้โพรโทคอลไม่ตรงกัน ย่อมไม่สามารถสื่อสารกันได้อย่าง เขา้ ใจ สง่ ผลให้การส่ือสารล้มเหลวในทสี่ ุด ตวั อย่างเชน่ คนหน่ึงพูดภาษาฝรั่งเศส ส่วนอกี คนหนง่ึ พูด ภาษาญี่ป่นุ ทาให้ส่ือสารพดู คุยกนั ไม่รู้เร่ือง คณุ สมบตั พิ ้ืนฐาน 3 ประกอบของการสอ่ื สารข้อมลู เม่ือการส่ือสารขอ้ มูลได้เกิดข้ึน อุปกรณ์การส่อื สารจะต้องถอื เปน็ สว่ นหนงึ่ ของระบบการสือ่ สาร ดว้ ยการรวบส่วนของฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟต์แวรเ์ ข้าไว้ดว้ ยกนั เพื่อใหส้ ามารถส่ือสารได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ทง้ั น้ีผลการดาเนนิ งานจะขึ้นอย่กู ับคณุ สมบัติพ้ืนฐาน 3 ประการด้วยกันคือ

1. การส่งมอบ ระบบจะต้องสามารถสง่ มอบขอ้ มูลไปยงั จดุ หมายปลายทางได้อย่างถูกต้อง ข้อมูลจะต้องถูก สง่ ไปยังอปุ กรณ์ตามจุดมงุ่ หมายที่ต้องการ 2. ความถกู ตอ้ งแน่นอน ระบบสอ่ื สารจะต้องส่งมอบขอ้ มูลได้อย่างเทีย่ งตรง ทั้งนีร้ ะบบการส่อื สารท่ีดี ควรมีการส่ง สัญญาณเตือนไปยังผู้ส่ง/ผู้รับให้รับทราบ กรณีท่ีส่งข้อมูลในขณะน้ันลม้ เหลวหรอื ขอ้ มูลสญู หาย 3. ระยะเวลา ระบบจะตอ้ งสง่ มอบข้อมูลไปยงั ปลายทางภายในระยะเวลาทเี่ หมาะสม โดยคาว่าระยะเวลาท่ี เหมาะสมนั้นหมายถึงทนั ต่อเหตกุ ารณ์ในการนาไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ ทัง้ นแ้ี ต่ละระบบจะตอบสนองเวลา ทเ่ี หมาะสมแตกตา่ งกันไป ตัวอย่างเช่น ระบบเรียลไทม์ ซึง่ เปน็ ระบบท่ีตอ้ งตอบสนองแบบทันทีทันใดจึง จาเปน็ ต้องใชส้ านส่ือสารและอุปกรณ์รับส่งข้อมูลความเรว็ สูง เช่น การฝาก/ถอนเงินผา่ นระบบออนไลน์ ในขณะที่การสือ่ สารด้วยจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระยะเวลาตอบสนองฉับพลันนั้น อาจไมใ่ ชส่ ง่ิ สาคญั ทศิ ทางการส่งขอ้ มูล การสอ่ื สารข้อมลู ยังสามารถสง่ ข้อมลู ตามทิศทางต่างๆ ไดห้ ลายรปู แบบ ซ่งึ ขึน้ อยกู่ ับอุปกรณท์ ่ี ใชร้ บั สง่ ขอ้ มลู นั้นๆ วา่ ถกู ออกแบบเพ่ือการส่งข้อมลู ในรูปแบบใด โดยมีอยู่ 3 รปู แบบด้วยกันคอื 1. การสอ่ื สารแบบทิศทางเดยี ว (Simplex) เปน็ การส่ือสารแบบทศิ ทางเดยี ว โดยแต่ละฝง่ั จะทาหน้าท่ใี ดหนา้ ท่ีหนงึ่ เทา่ นัน้ เช่น ฝ่งั หนง่ึ ทา หน้าทเ่ี ปน็ ผูส้ ่ง ดังน้นั อกี ฝง่ั หนึง่ ก็จะทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ผู้รบั เท่าน้นั ตัวอย่างการสื่อสารแบบทศิ ทางเดียว เชน่ การกระจายเสยี งของสถานีวทิ ยุ การแพรภ่ าพโทรทศั น์ และการสง่ ขอ้ ความผ่านทางเพจเจอร์ เป็นต้น รูปที่ 1.3 การสอ่ื สารแบบทิศทางเดยี ว 2. การส่ือสารแบบก่งึ สองทศิ ทาง (Half-Duplex) เป็นการส่อื สารแบบกึ่งสองทศิ ทาง โดยสง่ ข้อมลู ผ่านช่องสญั ญาณเดียวกัน ดงั น้นั จงึ ไม่สามารถ รับสง่ ข้อมูลพร้อมกันได้ การกดสวติ ช์ในแต่ละครง้ั จะเป็นการสับสวิตช์เพ่ือให้อย่ใู นสถานะเป็นฝ่ายส่ง ขอ้ มูลหรือเป็นฝ่ายรบั ข้อมูล ตัวอย่างการสื่อสารชนิดนี้ก็คอื วทิ ยุสอื่ สารของตารวจ รูปที่ 1.4 การสอ่ื สารแบบสองทิศทางสลับกัน

3. การสื่อสารแบบสองทิศทาง (Full-Duplex) เป็นการสอ่ื สารแบบสองทศิ ทางในเวลาเดียวกนั กล่าวคือ ท้ังผู้สง่ และผรู้ ับสามารถส่อื สาร โต้ตอบกนั ในเวลาเดียวกันได้ ตวั อย่างเชน่ โทรศัพท์ ซ่ึงค่สู นทนาสามารถพูดคุยโต้ตอบกนั ได้ในช่วงเวลา เดียวกัน รปู ท่ี 1.5 การส่อื สารแบบฟลู ดูเพล็กซ์ การสอื่ สารโทรคมนาคม การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication) เกย่ี วข้องกบั การใชเ้ คร่ืองสง่ อเิ ล็กทรอนิกส์ เชน่ โทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือคอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลท่ีส่งผ่านในระบบโทรคมนาคมอาจเป็นได้ทั้ง ข้อความ เสียง ภาพ และวิดีทัศน์ ที่สามารถสง่ ผ่านตัวกลางอย่างสายโทรศัพท์หรือคล่ืนวิทยุเพ่อื ไปยงั จดุ หมายปลายทางได้ สาหรับการส่งข้อมลู ผา่ นสายโทรศัพท์นบั ได้วา่ เป็นการใชป้ ระโยชนจ์ ากโครงข่าย โทรศัพท์สาธารณะท่กี ระจายอยูต่ ามตามจงั หวัดต่างๆ ทั่วประเทศใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสดุ และตอ่ ไปนี้ เป็นตวั อย่างเทคโนโลยกี ารสื่อสารโทรคมนาคม โทรเลข (Telegraphy) หลักการทางานของระบบโทรเลข จะใช้วิธกี ารแปลตัวอกั ษรและตัวเลข ให้เป็นรหัส จากนน้ั กแ็ ปลงเปน็ สัญญาณไฟฟา้ สง่ ผ่านสือ่ กลาง เช่น สายทองแดง และเม่อื ปลายทาง ได้รับก็จะทาการถอดรหัสเป็นข้อความ อย่างไรก็ตาม การบริการโทรเลขในประเทศไทยไดม้ ีการประกาศ ยกเลิกใช้งานเม่ือวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2551 เป็นต้นมา และถือเป็นการปดิ ตานานการใช้บรกิ ารโทรเลขที่ เปิดใช้เปน็ เวลากว่า 100 ปี โทรพมิ พ์ (Telex) เปน็ รปู แบบของการบริการโทรเลขชนิดหนงึ่ แต่ผู้ใชง้ านสามารถติดต่อ โต้ตอบกันได้ โดยเคร่อื งโทรพมิ พ์จะมีลักษณะคล้ายเครือ่ งพิมพ์ดีดท่เี ปน็ ไดท้ ัง้ เครื่องรับและสง่ ข้อมูลในตวั เดียวกนั สามารถส่อื สารโดยอาศยั ตวั นาหรือชอ่ งสัญญาณและชมุ สายทมี่ ีการเช่อื ต่อกนั กบั เครือ่ งโทร พิมพ์ต่างๆเข้าดว้ ยกัน ผใู้ ช้ทั้งสองฝ่งั สามารถติดตอ่ ส่ือสารกันได้ด้วยการพิมพข์ ้อความลงบนกระดาษเพื่อ โต้ตอบระหว่างกนั แม้ว่าฝงั่ รับจะไม่มีพนักงานคอยรบั ข้อความ เครอื่ งก็ยังสามารถพมิ พ์และหยุดได้เอง โดยอัตโนมัติ โทรสาร (Facsimile/Fax) เปน็ อปุ กรณ์ทีใ่ ช้เทคนคิ ของแสงสแกนลงบนเอกสารท่เี ปน็ ทง้ั ข้อความและภาพ จากนั้นก็จะเปลย่ี นเปน็ สัญญาณไฟฟ้าเพอ่ื สง่ ผ่านตามสายโทรศัพท์ เม่อื เครื่องโทรสาร ฝ่งั รบั ได้รับข้อมูล กจ็ ะแปลงสญั ญาณไฟฟ้านน้ั กลับมาเปน็ ขอ้ มูลเหมอื นกับต้นฉบบั โทรศัพท์ (Telephone) จัดเปน็ อปุ กรณ์สือ่ สารทน่ี ิยมใช้กันมากท่ีสุด ชุดสายโทรศัพท์ในยุค ปจั จุบันไดม้ ีการพฒั นาเป็นระบบดิจิตอลในบางพน้ื ท่มี ากข้นึ ตามลาดับ เพื่อรอบรบั การสอื่ สารข้อมูล ความเรว็ สงู ในการใช้บรกิ ารโครงข่ายโทรศัพท์เพอ่ื การส่ือสารน้ันเปน็ ที่นิยมเพราะมีราคาถูก เชื่อมต่อได้ ระยะไกล ตวั อย่างเช่น การใชง้ านอินเทอร์เน็ตตามบ้านด้วยการใชค้ อมพิวเตอร์เชือ่ มกบั โมเด็ม ซงึ่ เป็น ระบบแอนะล็อกหรือการเช่อื มตอ่ อินเทอรเ์ น็ตความเร็วสูงดว้ ยระบบ ADSL ซึง่ เป็นระบบดจิ ิตอล นอกจากน้ี ยังมโี ทรศพั ท์เคลื่อนที่ (ไร้สาย) โดยระบบดังกลา่ วจะมีการแบง่ เขตการรับสง่ สญั ญาณวิทยุ ตามพ้ืนที่สว่ นตา่ งๆ ทีเ่ รียกว่าเซลล์ แตล่ ะเซลลจ์ ะมเี สาอากาศตามประเภทของคล่นื ชนิดน้นั ๆไวค้ อยรับส่ง

สญั ญาณหลายสัญญาณพร้อมๆกนั ทาให้สามารถใช้โทรศพั ทต์ ิดต่อกนั ได้ไม่ว่าผใู้ ช้โทรศัพท์เคล่ือนท่ีจะ อยู่บริเวณใดก็ตาม อีกทัง้ ยงั สามารถสอื่ สารระหว่างโทรศพั ท์ทัง้ แบบเคล่อื นที่และแบบมสี ายร่วมกันได้ โทรทัศน์ (Television) เปน็ การสื่อสารดว้ ยการแพร่ภาพกระจายบนยา่ นความถ่ีสูง เชน่ บน ยา่ นความถี่สูง VHF (Very High Frequency) หรือยา่ นความถ่ีสูงมาก UHF (Ultra High Frequency) ซ่งึ เป็นยา่ นความถี่ที่ใชส้ าหรับกจิ การทางโทรทัศน์ ในอดตี การแพร่ภาพทางโทรทศั นม์ ัก ประสบปัญหาของพื้นทร่ี บั สัญญาณ เชน่ ตามจงั หวัดที่หา่ งไกล แตป่ จั จบุ ันได้มีการตดิ ตัง้ สถานีทวน สัญญาณโทรทศั น์ตามพืน้ ท่ีตา่ งๆทั่วประเทศ เพื่อใหป้ ระชาชนตามจังหวัดที่ห่างไกลสามารถรับชมการ แพร่ภาพโทรทัศนไ์ ด้ ปจั จบุ ันการส่งสัญญาณโทรทัศนใ์ นประเทศไทยมีอยู่ 2 ระบบดว้ ยกัน คือ ระบบ ออกอากาศทว่ั ไปท่ีใชบ้ ริการฟรีและระบบเคเบิลทีวี ทผ่ี ้ชู มจะต้องสมัครเป็นสมาชกิ และเสยี ค่าใชจ้ า่ ยราย เดอื นแกบ่ รษิ ัทท่ีใหบ้ ริการ วิทยุกระจายเสียง (Radio) เป็นการสอ่ื สารที่อาศัยคลื่นวิทยุด้วยการส่งคลนื่ ไปยังอากาศเพ่ือ เข้าไปยงั เครอื่ งรบั วทิ ยุ โดยใชเ้ ทคนคิ การมอดูเลตคลื่นสัญญาณเพือ่ ใหส้ ัญญาณสามารถส่งได้ระยะไกล การสอื่ สารด้วยวิทยุกระจายเสยี งน้นั ไมจ่ าเปน็ ต้องใชส้ าย อกี ท้ังยังสามารถส่งคลื่นได้ในระยะไกลตาม ประเภทของคลื่นน้นั ๆ ไมโครเวฟ (Microwave) จัดเปน็ คลื่นวิทยชุ นิดหนงึ่ ทม่ี ีความถ่สี งู ระดับกิกะเฮิรซ์ ์ (GHz) ปจั จุบันมีการนาคล่นื ไมโครเวฟมาใช้ในกจิ การโทรคมนาคมอยา่ งกวา้ งขวาง และดว้ ยคลน่ื ไมโครเวฟเป็น คลืน่ ในระดับสายตา ดงั นั้นตึกสงู หรือถเู ขาจึงสามารถบดบังสัญญาณได้ ทางแก้ไขก็คือการติดตัง้ เสา รบั ส่งไมโครเวฟเพื่อส่งสัญญาณออกเป็นทอดๆ รูปที่ 1.6 การสื่อสารดว้ ยคล่ืนไมโครเวฟ ดาวเทยี ม (Satellite) เปน็ สถานไี มโครเวฟชนิดหนึง่ แตถ่ ูกติดตง้ั ใหโ้ คจรอยบู่ นเหนอื พนื้ ผิวโลกมี ลักษณะเปน็ จานขนาดใหญ่ โคจรห่างจากพนื้ โลกประมาณ 22,300 ไมล์ ทาใหส้ ามารถติดต่อกับสถานี ไมโครเวฟภาคพื้นดินท่ีอย่บู นพ้ืนโลกได้

รูปที่ 1.7 การส่งสัญญาณขาขนึ้ และขาลงของระบบดาวเทยี มกบั สถานีไมโครเวฟภาคพน้ื ดนิ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นการนากลมุ่ คอมพิวเตอรต์ ้ังแต่สองเครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกนั เป็น เครือข่าย ซึ่งการนากลุ่มคอมพิวเตอร์มาเช่ือมต่อเข้าดว้ ยกนั น้นั จาเป็นตอ้ งมีส่ือกลางในการสอ่ื สาร ซึ่ง อาจใชส้ าย (สายเคเบิล) หรือแบบไร้สาย (คลนื่ วทิ ย)ุ ก็ได้ นอกจากนเี้ ครือข่ายคอมพิวเตอรย์ ังเก่ียวข้อง กับคาว่า “โหนด” โดยโหนดอาจหมายถงึ อปุ กรณ์ใดอปุ กรณห์ นงึ่ ทส่ี ามารถนามาแชร์ใช้งานร่วมกันบน เครือข่าย เชน่ คอมพิวเตอร์ท่สี ามารถแชร์ไฟล์ข้อมูล หรือเคร่ืองพมิ พ์ท่ีแชรง์ านพมิ พ์บนเครอื ข่าย เป็น ต้น รูปท่ี 1.8 การเชือ่ มต่อเครือขา่ ยโดยใช้สอื่ กลางสง่ ขอ้ มลู แบบมีสาย รปู ที่ 1.9 การเชอ่ื มตอ่ เครอื ข่ายแบบไรส้ าย

ประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ยังสามารถแบ่งตามภูมิศาสตร์ได้ 3 ประเภทด้วยกนั คือ 1. เครอื ข่ายท้องถนิ่ (Local Area Network : LAN) 2. เครอื ข่ายระดบั เมือง (Metropolitan Area Network : MAN) 3. เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN) เครอื ขา่ ยทอ้ งถนิ่ หรือท่ีมักเรยี กคาย่อว่า “เครือข่ายแลน” เปน็ เครือข่ายขนาดเล็ก ท่ีสุดในบรรดาเครือข่ายท้งั สามประเภท กลุม่ คอมพิวเตอรจ์ ะเชอ่ื มต่อเข้าดว้ ยกันบนระยะทาง ทจ่ี ากดั เครอื ขา่ ยแลนสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอรเ์ พียงสองเครอ่ื ง หรือเชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอร์จานวนนับร้อยเครื่องกเ็ ป็นได้ ความสาคัญของเครอื ข่ายแลนก็คือ เปน็ เครอื ข่าย ท่จี ากดั เฉพาะบริเวณ กลา่ วคือเป็นเครือข่ายท่ีสามารถติดตัง้ ได้บนระยะทางท่ีจากดั นั่นเอง เช่น เครอื ข่ายแลนที่มีการเชื่อมโยงภายในอาคารสานักงาน สถาบันการศกึ ษา หรือแมก้ ระทงั่ บ้านพกั อาศยั อย่างไรก็ตาม หากต้องการเชอ่ื มโยงเครอื ข่ายแลนใหไ้ กลออกไปน้นั สามารถ กระทาได้ดว้ ยการใชอ้ ุปกรณ์ทวนสัญญาณ แต่กม็ ขี ้อจากัดด้านความยาวของระยะทางสงู สดุ ซง่ึ โดยปกติมกั มีการเชอื่ มโยงบนระยะทางโดยรวมแล้วไม่เกินกว่า 10 กโิ ลเมตร เครือขา่ ยระดบั เมอื ง กเปารน็ เเชคอ่ื รมือตข่อ่าสยาทน่ีเชกั อ่ื งมานโยสงากขันารตะ่าหงวๆา่ ทงเี่อมยือู่ใงนเซม่ึงอื คงรหอรบือคจลงั ุมหอวาดั ณเดาียบวอรแรกูปลาิเคนนัวทาทณ่ี รเ1่ี ช.1อ่ื 0มโเยคงรภอื าขย่าใยน กวา้ งกวา่ เครอื ขา่ ยท้องถิ่น เช่น รวมถงึ เครอื ข่ายเคเบิลทีวีท้องถิ่น รูปท่ี 1.11 เครอื ขา่ ยระดบั เมอื งที่เชอ่ื มโยงสานกั งานสาขาต่างๆ ภายในจังหวดั เครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่ายแวนเป็นเครือข่ายท่ีเชื่อมโยงกันระหว่างประเทศหรือ ระหว่างทวีป ซึ่งครอบคลุมระยะทางไกลที่สุดเมื่อเทียบกับเครือข่ายแลนหรือเครือข่ายแมน ดังนั้น เครือข่ายระดับประเทศจึงจาเป็นต้องพ่ึงพาเทคโนโลยีโทรคมนาคมที่หลากหลายด้วยกัน เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลใต้น้า รวมถึงการสื่อสารผ่านดาวเทียม เครือข่ายแวนสามารถรองรับความเร็ว ที่แตกต่างกันได้ตั้งแต่ 56 กิโลบิตต่อวินาทีหรือน้อยกว่า จนสามารถขยายความเร็วได้ถึง 10 กิกะบิตต่อ วินาที

รปู ที่ 1.12 เครอื ขา่ ยระดบั ประเทศทเ่ี ช่ือมโยงระหว่างประเทศหรือทวปี ประโยชนข์ องเครอื ขา่ ย 1.การใช้ทรพั ยากรร่วมกนั ด้วยเทคโนโลยีเครอื ข่าย ทาใหเ้ ราสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ โดยทรัพยากรในพืน้ ท่นี ้ี หมายถึงอปุ กรณ์ต่างๆ ทีเ่ ช่อื มตอ่ บนเครอื ข่าย ซงึ่ ทรพั ยากรทใ่ี ช้งานร่วมกันอาจเป็นข้อมลู โปรแกรม หรือ เครอ่ื งพิมพ์ 2. ช่วยลดตน้ ทนุ สืบเนือ่ งมาจากความสามารถของเครือข่ายทใี่ ช้ทรัพยากรร่วมกันได้ จงึ ช่วยประหยดั อุปกรณ์ ตา่ งๆลงได้ เชน่ เครื่องพิมพ์เลเซอรท์ มี่ ีราคาแพง แทนที่จะตอ้ งซือ้ มาใชง้ านหลายเครือ่ ง ก็สามารถจัดซื้อ มาใช้งานเพยี งคร้งั เดยี วและแบง่ ปันกันใชผ้ ่านระบบเครือขา่ ย ซึง่ ถือเป็นการช่วยลดต้นทนุ ลงได้อยา่ งมาก 3. เพ่ิมความสะดวกในด้านการส่อื สาร ด้วยระบบเครอื ขา่ ย จงึ ทาให้การส่อื สารขอ้ มลู ของพนกั งานในองค์กรมีความสะดวกข้ึน เช่น เลขานุการแทนท่ีจะสาเนาเอกสารสรุปผลการประชมุ เพื่อแจกจา่ ยให้กับส่วนงานอื่นๆ ท่เี กี่ยวข้อง ก็ จัดพิมพ์ผ่านโปรแกรมประมวลผลคา และสง่ ไฟลด์ ังกล่าวไปยังส่วนงานอ่ืนๆ ในรปู แบบของจดหมาย อเิ ลก็ ทรอนิกส์แทน ทาให้การสอ่ื สารข้อมูลภายในองค์กรมคี วามสะดวกรวดเรว็ ขน้ึ มาก 4. ความน่าเช่ือถอื และความปลอดภยั องค์กรต่างๆ ทีม่ ีเคร่อื งคอมพิวเตอร์ใช้งานเปน็ จานวนมาก การนาระบบเครือขา่ ยมาใช้จึงเปน็ สงิ่ สาคัญ เนื่องจากเครือข่ายจะชว่ ยให้ผู้ดแู ลระบบสามารถจดั การระบบไดง้ ่ายและสะดวก โดย ศนู ยก์ ลางข้อมูลเพยี งแหง่ เดียว กส็ ามารถบริหารจัดการเพียงแหง่ เดียวเท่าน้ัน จงึ ทาให้ข้อมลู มีความ ทันสมัย นา่ เชือ่ ถืออีกทง้ั ระบบเครอื ข่ายยงั สามารถจดั การกบั บญั ชีผูใ้ ช้ ผู้ทม่ี ีบัญชผี ู้ใช้เท่าน้ันจึงสามารถ เขา้ ระบบได้ มีการกาหนดรหัสผ่าน การกาหนดสทิ ธิการใช้งาน ซ่งึ กระบวนการดงั กล่าวถือเป็นการสร้าง ความปลอดภัยใหก้ บั ระบบไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เครอื ขา่ ยแบบ Peer-to-Peer และ Client/Server การติดตง้ั เครือข่ายเพือ่ ใช้งาน ยงั สามารถเลือกการเชอื่ มตอ่ ตามสถาปัตยกรรมเครือข่ายท่ี เหมาะสมซ่งึ ข้นึ อยู่กับปัจจัยด้านขนาดของเครือขา่ ย ความปลอดภยั และงบประมาณ โดยรายละเอียด ต่อไปนจ้ี ะกล่าวถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งเครอื ข่ายแลนแบบ Peer-to-Peer และ Client/Server

1. เครอื ขา่ ยแบบ Peer-to-Peer เครือข่ายประเภทนี้ เคร่ืองคอมพวิ เตอรบ์ นเครอื ข่ายจะมีสิทธเิ์ ทา่ เทียมกัน ไม่มีเครอื่ งใดเคร่อื ง หน่งึ ทาหน้าที่เปน็ เซิร์ฟเวอร์โดยเฉพาะ กลา่ วคือเคร่อื งทุกเครื่องบนเครือข่ายจะมีอานาจหรอื สิทธเ์ิ ท่า เทยี มกันท้ังหมด โดยสามารถเป็นได้ท้งั ผู้ใหบ้ ริการ (Server) และผูข้ อบริการ (Client) ไดใ้ น ขณะเดียวกัน รูปท่ี 1.13 เครอื ข่ายแบบ Peer-to-Peer ทกุ ๆ โหนดบนเครือข่ายจะมสี ิทธ์เิ ท่าเทยี มกนั จุดประสงค์ของเครือข่ายชนิดนี้คือ ต้องการแชร์ข้อมูลเพื่อใช้งานบนเครือข่ายเป็นส่ิงสาคัญ ดังนั้นเครือข่ายประเภทน้ี จึงไม่ได้มุ่งเน้นศักยภาพด้านระบบความปลอดภัยเช่นเดียวกับเครือข่ายแบบ Client/Server อย่างไรก็ตาม ข้อดีของเครือข่ายชนิดน้ีก็คือ สามารถติดต้ังได้ง่ายโดยไม่จาเป็นต้องมี ความรู้ความเช่ียวชาญมากนัก รวมถึงต้นทุนการติดต้ังที่ต่ากว่า ส่วนข้อเสียที่สาคัญก็คือ ระบบความ ปลอดภัยที่ค่อนข้างต่า และมีข้อจากัดในเร่ืองจานวนลูกข่าย กล่าวคือ หากมีการเชื่อมโยงเคร่ืองลูกข่าย จานวนมากจะทาให้การสอื่ สารบนเครือข่ายช้าลงอยา่ งเหน็ ได้ชดั ในปัจจุบัน ระบบปฏิบตั ิการวนิ โดวส์ เชน่ Windows 7, Windows 8 และ Windows 10 ล้วน สนับสนุนการต้ังค่าเพื่อสร้างเครือข่ายแบบ Peer-to-Peer ด้วยตนเองโดยไม่ยาก เพียงแต่มีอุปกรณ์ อยา่ งเช่น การด์ เครือข่าย สายเคเบลิ ยทู ีพี และอุปกรณ์ฮับหรือสวติ ซ์ ก็สามารถตดิ ต้งั ใช้งานได้แล้ว ขอ้ ดีและข้อเสยี ของเครอื ขา่ ยแบบ Peer-to-Peer ขข้ออ้ดดี ี 1. ลงทุนตา่ เหมาะสาหรับเครอื ข่ายขนาดเล็ก จานวน 5-10 เคร่อื ง 2. ไม่จาเปน็ ต้องพงึ่ พาผู้ดูแลระบบ ยูสเซอร์แต่ละคนสามารถกาหนดสทิ ธเิ์ พ่อื แชร์ทรพั ยากรบนเครือข่าย ไดด้ ้วยตนเอง 3. ไม่จาเป็นต้องใชร้ ะบบปฏบิ ัตกิ ารเครือข่าย โดยสามารถตง้ั ต่าเพิ่มเติมบนระบบปฏิบัติการได้ทนั ที ตวั อย่างเช่น Windows 7, Windows 8 และ Windows 10 ขอ้ เสีย 1. ไมเ่ หมาะกับเครอื ข่ายขนาดใหญ่ 2. กรณเี ครอื่ งทเี่ ปดิ แชร์ ถูกเครอ่ื งอน่ื ๆ บนเครอื ข่ายเข้าถึงเพอ่ื ใช้งานทรัพยากรต่างๆ คราวละมากๆ เครอื่ งดงั กลา่ วจะมีอาการสะดุด และทางานช้าลงอย่างเหน็ ไดช้ ดั 3. มีระบบความปลอดภยั ค่อนข้างต่า 4. การจัดการบญั ชีผูใ้ ช้ มคี วามย่งุ ยาก 5. การสารองขอ้ มูล มีความยุ่งยาก เนือ่ งจากขอ้ มูลกระจายการจัดเก็บในแต่ละเครื่อง 2. เครอื ขา่ ยแบบ Client/Server

เครอื ข่ายประเภทน้จี ะมีศูนย์บรกิ ารทีเ่ รียกว่า เซิรฟ์ เวอร์ ทาหนา้ ท่เี ป็นศูนย์กลางบริการ เครอื ข่าย (เครื่องแม่ข่าย) โดยมเี คร่ืองลูกขา่ ยต่างๆ เช่ือมต่อ ท้ังนรี้ ะบบการบริการจดั หารเครอื ข่ายจะ ถูกควบคุมโดยศูนย์กลางแห่งนี้ รปู ท่ี 1.14 เครอื ข่ายแบบ Client/Server ท่ีมเี ครือ่ งเซิร์ฟเวอรท์ าหนา้ ที่ บรกิ ารทรพั ยากรโดยเฉพาะ เครือข่ายแบบไคลเอ็นต์/เซิร์ฟเวอร์ ยงั ชว่ ยเพมิ่ ขีดความสามารถให้กับระบบได้เปน็ อยา่ งดี โดยเฉพาะเซิร์ฟเวอร์ทบ่ี ริการงานทั้งหมดอย่ภู ายในเคร่ืองเดยี วน้นั อาจรับภาระงานหนักเกนิ ไป ดังนั้น การติดตัง้ เครื่องเซิรฟ์ เวอรเ์ พมิ่ เติม เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระงานประมวลผล ยอมทาให้เครอื ขา่ ยมี ประสิทธิภาพสงู มากข้ึน โดยรายละเอียดต่อไปนี้ เปน็ ตัวอยา่ งเซริ ฟ์ เวอร์ชนิดต่างๆ  ไฟล์เซริ ฟ์ เวอร์ (File Server) คอื เคร่ืองที่ทาหน้าที่บริการแฟ้มขอ้ มูลใหแ้ ก่ลูกข่าย  พรนิ ต์เซิร์ฟเวอร์ (Print Server) คือเครอ่ื งที่ทาหน้าทบ่ี ริการงานพมิ พ์ให้แกล่ ูกข่าย  ดาดา้ เบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) คอื เครอื่ งทท่ี าหน้าท่บี รกิ ารฐานข้อมลู ใหแ้ กล่ ูกข่าย  เวบ็ เซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คอื เครือ่ งทใ่ี ช้จดั เก็บเว็บไซต์ขององคก์ ร เพ่อื ใหผ้ ู้ทอ่ งอนิ เทอร์เน็ตสามารถเข้าถงึ เวบ็ ขององคก์ รได้  เมล์เซิร์ฟเวอร์ (Mail Server) คอื เครือ่ งทท่ี าหน้าที่จัดเก็บและบริการเกีย่ วกบั อเี มล ท่ีใช้สื่อสารกนั บนเครือข่าย

รูปที่ 1.15 การเพมิ่ ขีดความสามารถของระบบด้วยการติดต้ังเครอ่ื งเซิรฟ์ เวอรเ์ พิ่มเตมิ บนเครอื ขา่ ยแบบไคลเอ็นต/์ เซริ ฟ์ เวอร์ ขอ้ ดแี ละขอ้ เสียของเครือขา่ ย Client/Server ขอ้ ดี 1. มีความปลอดภัยสูง 2. มปี ระสิทธิภาพสงู สามารถเชือ่ มตอ่ เคร่ืองลกู ข่ายได้จานวนมาก 3. สารองข้อมูลได้งา่ ย เนื่องจากสามารถสารองข้อมูลจากเครอ่ื งเซิร์ฟเวอร์ได้เพียงเครอื่ งเดียว 4. มีความน่าเชอื่ ถอื สูง 1. ข้อเสยี 1. ระบบมีความซับซ้อน จึงจาเป็นตอ้ งพึง่ พาผู้ดแู ลระบบ ซง่ึ ต้องมีความเช่ียวชาญด้านระบบเครือข่าย เป็นอยา่ งดี 2. มคี า่ ใชจ้ ่ายสูง เกณฑ์วัดประสิทธิภาพของเครือข่าย ประสิทธิภาพของเครือข่าย สามารถพจิ ารณาจากกฎเกณฑท์ ใี่ ชว้ ดั ดังต่อไปน้ี 1. สมรรถนะ สมรรถนะของเครอื ขา่ ยสามารถประเมินได้หลายทางดว้ ยกัน เช่น เวลาที่ใชใ้ นการขนสง่ ขอ้ มลู ซึง่ เป็นเวลาทใ่ี ช้ในสาหรบั ลาเลียงข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง และเวลาตอบสนอง ซึ่งเปน็ ช่วง ระยะเวลาระหว่างทีม่ ีการร้องขอขอ้ มูลจนได้รบั ขอ้ มลู กลับมา อย่างไรก็ตาม สมรรถนะเครอื ข่ายขึ้นอยู่กับ ปัจจยั หลายด้านดว้ ยกัน อันไดแ้ ก่  จานวนผู้ใชง้ าน ถอื ว่าเป็นเรื่องปกติทเี ดยี ว เมื่อมผี ใู้ ชง้ านบนเครอื ขา่ ยจานวนมาก ยอ่ มทาให้ การสอื่ สารบนเครือข่ายเชอ่ื งชา้ ลง ส่งผลตอ่ ประสิทธภิ าพการใช้งานโดยรวมด้อยลง เครือข่ายท่ี ดจี ึงควรระบจุ านวนโหลดสูงสดุ ทีส่ ามารถรองรับจานวนผู้ใช้ให้ชดั เจน โดนอาจงดบริการบาง โหนดทเี่ ช่อื มต่อเกินกาหนด เพ่ือให้การทางานบนเครอื ข่ายหยุดทางานบนเครือขา่ ยยังคงทางาน ได้ตามปกติ เพราะหากไม่มีการควบคมุ อาจสง่ ผลต่อเครอื ข่ายหยุดการทางานชวั่ คราว และ สง่ ผลกระทบตอ่ ผู้ใชค้ นอ่ืนๆไดใ้ นที่สุด

 ชนดิ สอื่ กลางทใ่ี ช้ สอื่ กลางแตล่ ะชนิด ที่นามาใช้รับสง่ ข้อมูลบนเครอื ข่าย จะรองรับความเร็วที่ แตกต่างกนั ดงั นน้ั ควรเลือกใชส้ อื่ กลางทเี่ หมาะสมกบั เครือข่ายที่ใชง้ านอยู่ หรืออาจเลอื ก สอื่ กลางความเร็วสูงเพอ่ื รองรบั อัตราการเติบโตของเครือข่าย  อปุ กรณ์ฮารด์ แวร์ แนน่ อนว่า ประสิทธิภาพของฮาร์ดแวรย์ ่อมส่งผลตอ่ ความเรว็ ในการสง่ ผ่าน ข้อมลู ดังนั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ทม่ี ีซีพยี ูประมวลผลดว้ ยความเร็วสงู การ์ดเครอื ข่ายและ อุปกรณ์สวิตซ์ท่ีส่งขอ้ มลู ความเรว็ สูง อปุ กรณเ์ หลา่ นี้ย่อมสง่ ผลให้เกิดประสิทธิภาพโดยรวมของ ระบบท่ีดี  ซอฟตแ์ วร์ จัดเป็นปจั จยั สาคัญที่ส่งผลต่อสมรรถนะโดยรวมของเครอื ข่าย โดยเฉพาะ ระบบปฏิบตั ิการเครือข่ายท่ีมปี ระสิทธิภาพ ยอ่ มมีระบบการทางานและควบคมุ อปุ กรณ์ฮาร์ดแวร์ ใหท้ างานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ และรวดเร็ว 2. ความน่าเชือ่ ถอื ความน่าเชื่อถือของระบบเครือข่าย สามารถประเมนิ ได้จากส่ิงต่อไปนี้  ความถีข่ องความลม้ เหลว หากระบบเครอื ขา่ ยล้มเหลวอยบู่ อ่ ยครั้งอยา่ งไม่มเี หตุผลนนั่ หมายความว่า ความนา่ เชื่อถอื ของระบบเครอื ข่ายต่า ความล้มเหลวดังกล่าว อาจเกดิ จาก อปุ กรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรอื การออกแบบเครือข่ายท่ไี ม่ถูกต้องตามหลักการ  ระยะเวลาในการกคู้ นื เมอื่ เครือข่ายเกดิ ล่มขนึ้ มา หากเป็นเครอื ข่ายทไ่ี ด้รบั การออกแบบเป็น อยา่ งดี ย่อมสามารถกูค้ นื ระบบให้กลบั มาใช้งานได้ดงั เดมิ ด้วยระยะเวลากคู้ นื อนั สั้น ซงึ่ ยอ่ มเปน็ สิง่ ทีด่ ีกว่าเครอื ข่ายท่ีกว่าจะกูค้ ืนกลบั มาได้ ตอ้ งใชเ้ วลายาวนาน  ความคงทนต่อความล้มเหลว เครอื ข่ายทด่ี ีตอ้ งมรี ะบบการป้องกันภยั ตา่ งๆ จากอุปกรณ์ท่ี เสียหาย และยงั คงทางานต่อไปไดอ้ ยู่ สิง่ เหลา่ นคี้ ือความคงทนตอ่ ความลม้ เหลว ตัวอยา่ งเช่น หากฮาร์ดดิสก์ตัวใดตัวหนึ่งเสียหาย ฮาร์ดดสิ กส์ ารองอีกตัวหนง่ึ จะทางานแทนทนั ที หรอื กรณี เพาเวอร์ซพั พลายเกิดความเสียหายข้ึนมา เพาเวอร์ซัพพลายตัวสารองกจ็ ะทางานแทนทนั ที เปน็ ตน้ 3. ความปลอดภัย (Security) แนน่ อนว่า เครือข่ายทดี่ จี ะต้องออกแบบให้สามารถรองรับความปลอดภยั ทอี่ าจเกิดขึ้นได้จากผู้ไม่หวังดี  การป้องกนั บคุ คลที่ไมม่ สี ทิ ธใิ์ นการเข้าถงึ ขอ้ มูล เปน็ การปอ้ งกันมใิ หผ้ ้ไู มม่ ีสิทธ์ิลักลอบเข้า มายงั เครือข่าย เช่น การกาหนดบญั ชีผใู้ ช้พร้อมรหัสผา่ น การกาหนดสทิ ธิ์การใช้งาน การติดต้งั ไฟรว์ อลลเ์ พือ่ ป้องกนั ผบู้ กุ รุกจากเครอื ข่ายภายนอกเพื่อป้องกันการโจรกรรมข้อมูล และป้องกนั การมงุ่ โจมตีและทาร้ายระบบเครอื ข่ายเพ่ือใหเ้ กิดความเสียหาย  การปอ้ งกันไวรัสคอมพิวเตอร์ ปจั จุบันไวรสั คอมพิวเตอรส์ ามารถแพร่กระจายได้ภายในและ ภายนอกเครือข่าย ซึง่ อาจเกิดจากการคัดลอกข้อมูลที่ติดไวรัสโดยพนักงานภายในองคก์ ารเอง

หรอื จากการเช่อื มต่อเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ต ดงั น้นั ควรติดตั้งโปรแกรมปอ้ งกนั ไวรสั และ จะต้องอปั เดตโปรแกรมไวรัสอยา่ งสม่าเสมอ สรุปทา้ ยบท การสื่อสารขอ้ มลู เปน็ การแลกเปลยี่ นข้อมลู ระหว่างสองอุปกรณ์ โดยมีจดุ ประสงค์หลักคือ ต้องการสง่ ข่าวสารจากท่ีหนึ่งไปยังอีกทหี่ น่ึง สัญญาณแอนะลอ็ ก เปน็ สญั ญาณท่เี ป็นรปู คล่ืนข้นึ ลงสลบั กนั ไปแบบต่อเนื่อง สามารถสง่ ขอ้ มลู ออกไปได้บนระยะทางท่ไี กล สัญญาณดิจติ อล เป็นสญั ญาณทีม่ ีรปู แบบไมต่ อ่ เน่ือง รปู แบบของแรงดนั ไฟฟ้าจะมีคา่ 0 หรือ 1 เทา่ นัน้ ข้อดขี องสัญญาณชนดิ น้ีกค็ ือ เปน็ สัญญาณที่ทนต่อสญั ญาณรบกวนได้ดี สว่ นประกอบของระบบการส่อื สาร ประกอบด้วย 1. ขา่ วสาร 2. ผูส้ ง่ (แหล่งกาเนดิ ขา่ วสาร) 3. ผู้รับ (จุดหมายปลายทาง) 4. สือ่ กลางสง่ ขอ้ มูล 5. โพรโทคอล คณุ สมบตั ิพน้ื ฐาน 3 ประการของการสอื่ สารขอ้ มูล ประกอบดว้ ย 1. การส่งมอบ 2. ความถกู ต้องแน่นอน 3. ระยะเวลา ทศิ ทางการสง่ ขอ้ มูล ในระบบการส่ือสารมีอยู่ 3 รปู แบบด้วยกัน คือ 1. การสอ่ื สารแบบทิศทางเดียว (Simplex) 2. การสอ่ื สารแบบกง่ึ สองทิศทาง (Half-Duplex) 3. การสอื่ สารแบบสองทิศทาง (Full-Duplex) การสือ่ สารโทรคมนาคม เกี่ยวขอ้ งกับการใช้เคร่ืองสง่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ท่ีสามารถสง่ ผ่าน ตัวกลางไปยงั จดุ หมายปลายทางทีอ่ ยู่ระยะไกลได้ ตวั อยา่ งเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม เชน่ โทร เลข โทรพิมพ์ โทรสาร โทรศพั ท์ โทรทศั น์ วิทยุกระจายเสียง ไมโครเวฟ และดาวเทียม เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เป็นการนากลมุ่ คอมพวิ เตอร์ตง้ั แต่สองเครอื่ งขึ้นไปมาเชอื่ ตอ่ กนั เป็น เครอื ข่าย และสามารถแชร์ทรัพยากรบนเครอื ข่าย เช่น ไฟลข์ ้อมูล หรอื เครอ่ื งพมิ พ์ เพอ่ื ใชง้ านร่วมกนั บนเครอื ข่ายได้ ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท่ีแบ่งแยกตามภูมิศาสตร์ มีอยู่ 3 ประเภทดว้ ยกัน คือ 1. เครอื ข่ายท้องถนิ่ (LAN) 2. เครอื ข่ายระดับเมือง (MAN) 3. เครือข่ายระดับประเทศ (WAN) ประโยชน์ของเครอื ขา่ ยท้องถิ่น ประกอบดว้ ย 1. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน 2. ชว่ ยลดต้นทนุ 3. เพิม่ ความสะดวกในด้านการส่ือสาร

4. ความน่าเชือ่ ถือและความปลอดภัยของระบบ การตดิ ตั้งเครือขา่ ยเพอื่ ใชง้ าน ยงั สามารถเลอื กการเช่ือมตอ่ ตามสถาปตั ยกรรมเครอื ข่ายที่เหมาะสม อนั ไดแ้ ก่ เครือข่ายแบบ Peer-to-Peer และเครอื ข่ายแบบ Client/Server เกณฑ์วดั ประสทิ ธภิ าพของเครอื ขา่ ย สามารถพิจารณาจากกฎเกณฑ์ตอ่ ไปนี้ 1. สมรรถนะ ได้แก่ จานวนผใู้ ช้งาน ชนิดสื่อกลางท่ีใช้ อปุ กรณ์ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ 2. ความน่าเชอ่ื ถือ ได้แก่ ความถ่ีของความลม้ เหลว ระยะเวลาในการก้คู ืน และความคงทนต่อความ ลม้ เหลว 3. ความปลอดภยั ไดแ้ ก่ การป้องกันบุคคลทีไ่ ม่มสี ิทธิใ์ นการเข้าถงึ ข้อมลู และ การปอ้ งกันไวรัส คอมพิวเตอร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook