Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1

หน่วยที่ 1

Published by นายบุญนำ โตสูง, 2022-08-30 05:44:55

Description: หน่วยที่ 1

Search

Read the Text Version

กลั ยา สดุ แดน



1.1 ความหมายและปรัชญาพืน้ ฐานของมนุษย์สัมพนั ธ์ 1.2 ปรัชญามนุษย์สมั พนั ธ์กับการนาํ ไปใช้ในการทาํ งานและชวี ติ ประจาํ วนั 1.3 วธิ ีการพฒั นาชีวติ โดยใช้หลักมนุษย์สมั พนั ธ์ 1.4 ประโยชน์ของวิชามนุษย์สัมพนั ธ์ในการทาํ งาน

มนุษยสมั พนั ธ์ในการทาํ งาน 1.1.1 ความหมายของมนุษย์สมั พนั ธ์ “มนษุ ย์สมั พนั ธ์” ตรงกบั ภาษาองั กฤษว่า Human relations มาจากคาว่า มนษุ ย์หรือ Human มีความหมาย ว่าลักษณะความเป็ นมนุษย์ ลักษณะของมนุษย์ชาติ บุคคลผูม้ ีจิตใจสูง รวมกบั คาว่าสมั พนั ธ์ หรือ Relations มี ความหมายว่าผูกพัน เกี่ยวของกัน ความเกี่ยวพนั ซ่ึงกัน และกนั การติดต่อกนั และการรวมกนั “มนุษย์สัมพันธ์ ” หรือ Human Relations จึงมีความหมายว่า การติดต่อสัมพันธ์กันของ ผู้มีจติ ใจสูง ความสัมพันธ์เก่ียวของ ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน ระหว่างบุคคลกับบุคคล หรือกลุ่มบุคคล หรือ กับสังคม

1. ความหมายในลักษณะท่วั ไป ➢ มนุษย์สัมพันธ์ หมายถงึ ความสัมพัน์ในทางสังคมระหว่างมนุษย์ ซ่ึงจะก่อให้เกดิ ความ เข้าใจอันดีต่อกัน (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2525 : 402) ➢ มนุษย์สมั พนั ธ์ (Human Relationships) เป็ นการอยรู่ ่วมกนั ของมนษุ ย์เป็ นหมู่ เป็ นคณะ หรือกลมุ่ โดยมีการติดตอ่ สอ่ื สารกนั ระหว่างบคุ คล ระหว่างกล่มุ เพ่ือให้ทราบความต้องการของแต่ละบคุ คล หรือกลุ่ม รวมไปถึงวิธีการจูงใจและประสานความต้องการของบุคคลและกลุ่มให้ผสมผสาน กลมกลืนกนั ตามระบบที่สงั คมต้องการ (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2538 : 628) ➢ มนุษย์สัมพันธ์ หมายถึง การติดต่อเกี่ยวข้องระหว่างมนุษย์อันเป็ นสะพานทอดไป สู่การ สร้ างมิตร ชนะมิตร และจูงใจคน รวมทัง้ การสร้ างหรือพัฒนาตนเองให้เป็ นที่รู้จักรั กใคร่ชอบ พอแก่คนทวั่ ไปอย่างกว้างขวาง ได้รับการสนบั สนนุ ร่วมมือจากบุคคลทุกฝ่ าย เป็ นการสร้างตนให้ เป็ นคนดีของสังคมพร้ อมทัง้ แสดงให้เห็นลักษณะสําคัญของการเป็ นผู้นําในอนาคตอี กด้วย (วิจิตร อาวะกลุ ม, 2542 : 26)

2. ความหมายในลักษณะวิชา ➢ มนุษย์สัมพนั ธ์ หมายถึง ศาสตร์และศลิ ป์ ของการสร้างความพอใจ รักใคร่ ศรัทธา เคารพนบั ถือ โดยแสดงพฤตกิ รรมให้เหมาะสมทงั้ ทางกาย วาจา และใจ เพื่อโน้มนําให้มีความรู้สึกใกล้ชิด เป็ น กนั เอง จงู ใจให้ร่วมมือร่วมใจกนั ทจ่ี ะบรรลสุ ่งิ ซงึ่ พงึ ประสงค์อยา่ งราบรื่น และอยใู่ นสงั คมได้อยา่ ง สนั ตสิ ขุ (กฤษณา ศกั ดิ์ศรี, 2534 : 23) ➢ มนุษย์สัมพันธ์ หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยศาสตร์และศิลปะในการเสริมสร้ างความสัมพันธ์ อันดีระหว่างบุคคล เพื่อได้มาซ่ึงความรักใคร่นับถือ ความจงรักภักดี และความร่ วมมือ (วิจิตร อาวะกลุ ม, 2542 : 27)

3. ความหมายท่ใี ช้ในองค์การ ➢ มนุษย์สมั พนั ธ์ คือ แรงกระต้นุ ร่วมกนั ของคณะบุคคลที่ก่อให้เกิดวตั ถปุ ระสงค์ของหนว่ ยงานที่จะ ให้บคุ คลร่วมกนั ทาํ งานอยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยร่วมมอื ร่วมใจกนั ให้เกิดผลทงั้ ด้านเศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม (Keith Davis, 1965 : 17) ➢ มนุษย์ สัมพันธ์ คือ การรวมคนให้ ทํางานร่วมกัน ในลักษณะที่มุ่งให้ เกิดความร่วม มือ สมานฉันท์เพ่ือให้งานบรรลุเป้ าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความเข้าใจอันดีต่ อกัน (Edwin B, Flippo, 1966 : 15) ➢ มนุษย์สัมพันธ์ หมายถึง กระบวนการปฏิบัติเพื่อให้ความสมั พันธ์ระหว่างบุคคลในหน่วยงาน ราบรื่ น เป็ นวิธีที่ครองใจคนโดยมีความประสงค์ใหบุคคลเหล่านัน้ นับถือ จงรักภักดี และให้ความร่วมมือในการทํางานด้วยความเต็มใจ สร้ างขวัญกําลงั ใจนําไปสู่การเพิ่มผลงาน (วิจิตร อาวะกลุ ม, 2542 : 28)

สรุปความหมายของมนุษย์สัมพนั ธ์ มนษุ ย์สมั พนั ธ์ หมายถึง กระบวนการจูงใจ การรู้จกั ใช้วิธีการที่จะครองใจคน เป็ นเรื่องของ พฤติกรรม โดยมีความประสงค์ให้บคุ คลเหล่านนั้ นบั ถือ จงรักภกั ดี และให้ความร่วมมือร่วมใจ ทางาน ด้วยความเต็มใจ มนษุ ย์สมั พนั ธ์ เป็ นศาสตร์และศิลปะ เป็ นเทคนิคการกระต้นุ ให้คนและกลุ่มคน มา เกี่ยวข้องกนั ทง้ั ในเรื่อง งานเรื่องส่วนตวั จนสามารถทากิจกรรมใด ๆ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายโดยความ ร่วมมือร่วมแรง ร่วมใจ เพือ่ ทีจ่ ะทากิจกรรมดงั กล่าวไดอ้ ย่างเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยการ ทางานเพือ่ ส่วนรวม จะเป็น กระบวนการกล่มุ ทีท่ างานร่วมกนั ดว้ ย ความเต็มใจ เต็มความสามารถ

1.1.2 ปรัชญาพนื้ ฐานของมนุษย์สัมพนั ธ์ ปรัชญาพื้นฐานของมนษุ ย์สมั พนั ธ์ หมายถึง แนวความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกบั มนุษย์สมั พนั ธ์ใน เรื่องของมนษุ ย์ใน 3 ลกั ษณะ (วิภาพร มาพบสขุ , 2543 : 19) คือ 1. มนุษย์ทุกคนมีศักด์ิศรี (Human Dignity) มนุษย์ทุกคนนบั ว่าเป็ นสตั ว์ประเสริฐที่มี ความคิด มีความรับผิดชอบ มีสติปัญญา รู้จกั ความชวั่ ความดี และมีวฒั นธรรม ต้องยอมรับว่า มนษุ ย์ทกุ คนต้องการท่ีจะได้รับการปฏิบตั ิท่ีเท่าเทียมกนั อย่างมีศกั ด์ิศรี ต้องการได้รับการยกยอ่ ง ชมเชย ต้องการมีเกียรติยศ ต้องการได้รับการยอมรับ และต้องการความยุติธรรมและความเสมอ ภาคกนั 2. มนุษย์มีความแตกต่างกัน (Individual Difference) มนษุ ย์ทกุ คนมีความแตกตา่ งกนั ตงั้ แต่เกิดเพราะแต่ละบุคคลต่างมีลกั ษณะเฉพาะตวั ที่ไม่เหมือนใคร ซึ่งความแตกต่างเหล่านีม้ ี ความสําคญั สาํ หรับการสร้างมนษุ ย์สมั พนั ธ์อนั ดกี บั ผ้อู นื่ จึงจําเป็ นท่ีมนษุ ย์ทกุ คนต้องตระหนกั และ ควรทําความเข้าใจถึงความแตกต่างเหล่านี ้เพื่อเป็ นพืน้ ฐานของการเขา็ ใจเรื่องมนษุ ย์สมั พนั ธ์

3. มนุษย์ต้องการการจูงใจ (Motivation) พฤติกรรมของมนุษย์ทุกคนที่แสดงออก มีสาเหตมุ าจากได้รับการกระตุ้นจากความต้องการท่ีผลกั ดนั ให้เกิดขึน้ โดยไม่มีท่ีสิน้ สดุ หากทุกคน ได้รับการตอบสนองท่ีเหมาะสมจากผู้อื่นย่อมก่อให้เกิด ความชอบพอ ซง่ึ จะเป็ นพืน้ ฐานของการมี สมั พนั ธภาพท่ีดตี อ่ กนั และสามารถนําไปสกู่ ารทาํ กิจกรรมการงานร่วมกนั ได้อยางมปี ระสิทธิภาพ การแบ่งหน้าท่เี พ่อื ให้งานสาํ เร็จตาม เป้ าหมาย

เนื่องจากการปฏิบตั ิทงั้ ปวงมี “มนษุ ย์” เป็ นศูนย์กลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีการนาไป ประยกุ ต์กบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหเ้ กิดในตวั บคุ คลทกุ ระดบั ได้อย่างดียิ่ง เพื่อใหเ้ กิดภูมิตา้ นทาน ในตน ใช้ชีวิตที่มีเหตุผล พร้อมเผชิญและเอาตวั รอดได้ในสงั คมปัจจุบนั และอนาคต เสริมส ร้างให้เกิด ทศั นคติ เกิดปัญญา (รู้คิด รู้รอบ รู้เท่าทนั ) เกิดทกั ษะ เกิดแรงจูงใจทีจ่ ะปฏิบตั ิใหบ้ รรลผุ ล ดงั นี้ 1. มนุษย์ต้ องการความปลอดภัย จึงต้องรวมกลุ่มกันสร้ างสัมพันธภาพ สร้ างภูมิคุ้มกัน เช่น มเี พื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงาน มสี งั คมหลายระดบั ท่ีร่วมมือกนั ทาํ กิจกรรมตา่ ง ๆ ด้านความปลอดภยั 2. มนุษย์สัมพนั ธ์ก่อให้เกดิ เศรษฐกิจ เพราะธรรมชาติของมนษุ ย์มีความต้องการและแสวงหาสิ่ง ที่ตอบสนองความต้องการทัง้ หลาย โดยอาศัยความรู้ ความถนดั ความสามารถ และความสนใจที่ แตกตา่ งกนั สง่ิ เหลา่ นยี ้ อ่ มทาํ ให้มนษุ ย์สร้างงานและเพิ่มผลผลิตได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล

3. มนุษย์เป็ นสัตว์สังคม ไม่สามารถอยู่คนเดียวได้ จะต้องใช้มนุษย์สัมพันธ์เพ่ือรวมกลุ่ม ประกอบกิจกรรมตา่ ง ๆ โดยอาศยั ความสามารถทีห่ ลากหลายของแตล่ ะบคุ คลเพื่อสร้างสรรค์ส่ิงตา่ ง ๆ 4. มนุษย์สัมพันธ์ช่วยให้มนุษย์ได้รับการตอบสนองความต้องการ ด้านความรัก การ ยอมรับ และความต้องการด้านจิตใจทงั้ หลาย การคบหาสมาคมกนั จงึ นาํ มาซง่ึ ความสงบสขุ ในสงั คม 5. มนุษย์สมั พนั ธ์ช่วยประสานหรือแก้ปัญหาข้อขัดแย้งทางการเมืองได้ ในลกั ษณะท่ีเรียกว่า \"กาวใจ\"หากมนษุ ย์ทกุ คนยดึ แนวปฏิบตั ติ ามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง ปัญหาความขดั แย้งจะลดน้อยลง 6. มนุษย์ต่างมีความหวงและความมุ่งม่ันท่ีจะทาํ งานให้สําเร็จตามเป้ าหมายขององค์การ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหาร หากจัดกิจกรรมต่าง ๆ โดยยึดแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะ ทําให้สมาชิกในองค์การปฏิบตั ิงานให้สาํ เร็จลลุ ว่ งลงได้ด้วยดี ปราศจากอปุ สรรคปัญหา และปรับตวั ได้

มนุษย์ สัมพันธ์ จึงช่ วยเสริมสร้ างคุณลักษณะบุคคลให้ พร้ อมท่ีจะดําเนินชีวิตในเร่ืองต่ างๆดังนี ้ 1. การรู้จักและเข้าใจตนเอง 2. การมีชีวิตร่วมกับผู้อน่ื 3. การเป็ นคนมีวนิ ัยในตนเอง 4. การเป็ นคนมีมุมมองเชิงการเรียนรู้ 5. มีความสามารถคาดการณ์อนาคต 6. มีสํานึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม 7. มีเหตุผล รู้คิด และมั่นคงในความคดิ 8. มีหลักคดิ ในการดาํ เนินชีวิต 9. เหน็ ความสําคัญในเรื่อง “สุขภาพ” ทง้ั ทางกายและใจ

1. ค้นหาความต้องการของตนเอง ให้พบว่า มีความต้องการอะไร มเี ป้ าหมายในการดําเนินชีวิต อยา่ งไร เชน่ ต้องการมีชีวิตทมี่ ีอนาคตก้าวหน้า มีความเป็ นอิสระ มเี วลาเพ่ือครอบครัวและสงั คม 2. วิเคราะห์ข้อมูลของตนเองและครอบครัว ซ่ึงจะทําให้ทราบสถานภาพ สาเหตขุ องปัญหา ปัจจยั ตา่ ง ๆ ที่เก่ียวข้อง ผลกระทบต่าง ๆ ทเ่ี กิดขนึ ้ (1) ศักยภาพของตนเอง เช่น ความรู้ ความสามารถ ความชานาญ (ทักษะ) ชื่อเสียง ประสบการณ์ (2) ศักยภาพของครอบครัว เช่น วิถีการดารงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจของครอบครัว ความเชื่อ ทศั นคติ ค่านิยม วฒั นธรรม ประเพณี คณุ ภาพชีวิตของคนในครอบครัว ฐานะทางสงั คม ฐานะทาง การเงิน ทีเ่ ป็นทรพั ย์สินและหนีส้ ินของครวั เรือน รายได้ และรายจ่ายของครวั เรือน เป็นตน้

3. วางแผนการดาํ เนินชีวิต (1) พฒั นาตนเอง ใหม้ ีการเรียนรู้ต่อเนือ่ ง (ใฝ่ เรียนรู้) สร้างวินยั กบั ตนเอง โดยเฉพาะวินยั ทาง การเงิน (2) สร้างนิสยั ที่มีความคิดก้าวหนา้ มุ่งมนั่ ในเป้ าหมายชีวิต หมน่ั พิจารณาความคิด ตดั สินใจ แกป้ ัญหาเป็นระบบโดยใชค้ วามรู้ มีความรบั ผิดชอบต่อตนเอง สงั คม และ ครอบครวั (3) หมน่ั บริหารจิตใจใหม้ ีความซื่อสตั ย์สจุ ริต รกั ชาติ เสียสละ สามคั คี เทียงธรรม มีศีลธรรม (4) ควบคมุ จิตใจใหต้ นเองประพฤตในส่ิงทีง่ ดงามสร้างสรรค์ มีความเจริญรุ่งเรือง (5) พฒั นาจิตใจใหล้ ด ละ เลิก อบายมขุ กิเลสตณั หา ความโกรธ ความหลง (6) เสริมสร้างและฟื้นฟคู วามรู้และคณุ ธรรมของตนเองและครอบครัว (7) ปรบั ทศั นคติในเชิงบวกและมีความเป็นไปได้

การอบรมเพ่อื พฒั นาความรู้ 4. จดบนั ทกึ และทาํ บญั ชรี ับ–จ่าย 5. สรุปผลการพฒั นาตนเองและครอบครัว โดยพจิ ารณาจาก (1) ร่างกายมีสขุ ภาพสมบูรณ์แข็งแรง (2) อารมณ์ต้องไม่เครียด มีเหตุผลุ มีความเชื่อม่ัน มีระบบคิดเป็ นระบบเป็ น ขนั้ ตอน มีแรงจูงใจ กลา้ คิดกล้าทาไม่ทอ้ ถอยหรือหมดกาลงั ใจ (3) ส่ิงเหล่านี้ได้ลด ละ เลิก ได้แก่ บตั รเครดิต เทคโนโลยีที่เกินจาเป็ น สถาน เริงรมย์ สรุ า บหุ รี่

1. ทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจธรรมชาติดา้ นต่าง ๆ ของบคุ คลในแต่ระดบั ของสงั คม 2. ทาใหเ้ ข้าใจความตอ้ งการพื้นฐานของมนษุ ย์และสามารถสนองความตอ้ งการ ซึ่งมีความ แตกต่างกนั ไดั 3. ทาให้เกิดความราบรื่นในการประสานงานการสื่อสาร การคบหาสมาคมกันของกลม บคุ คลในทกุ ระดบั 4. ทาใหไ้ ดร้ บั ความรักใคร่ เชือ่ ถือศรัทธา จากบคุ คลในครอบครัว องค์การ สงั คม และชมุ ชน ทาใหเ้ กิดความร่วมมือร่วมใจในการทางานใหป้ ระสบผลสาเร็จ

5. ช่วยลดปัญหาความขดั แยง้ ในการทางานและมีความเอือ้ เฟื้อเผือ่ แผ่ช่วยเหลือเกื้อกูลกนั 6. ทาให้บุคคลมีแรงจูงใจในการทางาน มุ่งประโยชน์และเป้ าหมายรวมกัน มีความรัก องค์การและทาใหอ้ งค์การมีความมนั่ คงเป็นปึกแผ่น 7. เป็นปัจจยั สาคญั ในการประสานประโยชน์ รวมทง้ั ป้ องกนั ปัญหาทางด้านสงั คมเศรษฐกิจ และการเมืองได้ 8. มนษุ ย์สมั พนั ธ์ทาใหท้ กุ คนมีความรู้สึกพวกเดียวกนั มีความสามคั คีกลมเกลียวพรอมทีจ่ ะ ต่อสูเ้ พือ่ ประโยชน์ร่วมกนั 9. ทาให้ตนเอง ครอบครัว สงั คม และชุมชนมีความเข้าใจและเห็นใจกนั อยู่รวมกนั อย่างมี ความสขุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook