Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มคู่มือโครงการ BBL

เล่มคู่มือโครงการ BBL

Published by orayaicefull, 2021-03-14 15:49:47

Description: เล่มคู่มือโครงการ BBL

Search

Read the Text Version

2 นัหศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ได้จัดทาโครงการสื่อและนวัตกรมเพ่ือพัฒนา สมอง ตามหลัก Brain – Based Learning : BBL. เพ่ือเป็นการพัฒนาโครงสร้างหลักของสนามเด็กเล่น และ เป็นการตอ่ ยอดการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ในแหล่งเรยี นรู้สนามเด็กเล่นเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการเด็กรอบ ดา้ น เพือ่ ให้การพัฒนาสนามเด็กเล่นตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอบพระยุคลบาท” เป็นไปได้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและมีประสิทธภิ าพ จึงไดม้ ีการพฒั นาหรือจัดทาโครงการสื่อและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาสมอง ตาม หลัก Brain-Based Learning : BBL. เพ่ือเป็นการอบรมให้กับครูในระดับช้ันปฐมวัย ประถมศึกษา หรือผู้ที่ สนใจในเร่ืองของสื่อและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสมอง เพ่ือเป็นแนวทางในการผลิตส่ือและนวัตกรรมในการ ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยหรือประถมศึกษาให้มีพัฒนาการสมอง การคิดและการแก้ไขปัญหาท่ี เหมาะสมกับวัย ในการจัดทาโครงการสื่อและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสมอง ตามหลัก Brain-Based Learning : BBL. ในคร้ังน้ีใช้หลักการการส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามแนวทางพัฒนาการทางสมองกับกุญแจ 3 ดอก ซ่ึง ประกอบด้วยกุญแจดอกที่ 1 สนามเด็กเล่น (Playground) กุญแจดอกท่ี 2 บรรยากาศห้องเรียน (Classroom) และกุญแจดอกท่ี 3 ส่อื และนวัตกรรมการเรยี นรู้ (Resources & Innovations) ขออบคุณคณะทางานทุกท่านที่ร่วมมือกันจัดทาเอกสารคู่มือส่ือและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาสมอง ตาม หลัก Brain-Based Learning : BBL. และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา การศึกษาของประเทศสบื ไป คณะผู้จดั ทา

สารบัญ 3 คานา หนา้ สารบัญ 2 โครงการการพัฒนาสนามเดก็ เลน่ ตามหลกั Brain Based Learning 3 5 - รายละเอียดของโครงการ 6 กญุ แจดอกที่ 1 สนามเด็กเลน่ (Playground) 11 11 - รปู แบบของสนามเด็กเลน่ 12 - วสั ดุและอุปกรณ์ 12 - ขัน้ ตอนการพฒั นาสนามเดก็ เลน่ ตามหลัก Brain Based Learning 13 - วธิ ีการนาไปใช้ 16 - กจิ กรรมสาหรบั เด็กและครู 18 - การประเมนิ กิจกรรม 20 กุญแจดอกท่ี 2 หอ้ งเรียน (Classroom) 20 - รูปแบบของห้องเรียน 21 - ขน้ั ตอนการพัฒนาหอ้ งเรียนตามหลัก Brain Based Learning 24 - วิธีการนาไปใช้ 25 - กิจกรรมสาหรับเดก็ และครู 27 - การประเมินกิจกรรม 29 กุญแจดอกที่ 3 สือ่ และนวตั กรรม (Resources & Innovations) 29 - รูปแบบของสื่อและนวัตกรรม 30 - วัสดแุ ละอุปกรณ์ 30 - ขั้นตอนการพฒั นาสื่อและนวัตกรรมตามหลัก Brain Based Learning 33 - วธิ ีการนาไปใช้ 36 - กิจกรรมสาหรับเดก็ และครู 38 - การประเมนิ กจิ กรรม

สารบัญ (ต่อ) 4 ภาคผนวก หนา้ - โครงการการพฒั นาส่ือและนวตั กรรมตามหลกั Brain Based Learning - การทากจิ กรรม 39 - คณะผู้จดั ทา 40 45 49

โครงการ สื่อและนวัตกรรมเพอ่ื พฒั นาสมอง (Brain Based Learning)

6 แบบฟอรม์ เสนอขออนมุ ตั ิกจิ กรรม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวดั ปทมุ ธานี คณะ/หนว่ ยงาน คณะครศุ าสตร์ ข้อมลู โครงการหลัก ช่ือ โครงการใหค้ วามรู้นกั ศึกษาดา้ นการประกนั คณุ ภาพ รหสั 01-06-05-123 1. ชอื่ กิจกรรม โครงการสื่อและนวัตกรรมเพ่อื พัฒนาสมอง (Brain-Based Learning) 2. หลักการและเหตผุ ล สมองเรมิ่ มกี ารพัฒนาต้ังแตอ่ ยู่ในท้องแม่ เม่ือคลอดออกมาจะมีเซลล์สมองเกือบท้ังหมดแล้วเม่ือเทียบ กบั ผ้ใู หญ่ สมองยงั คงเตบิ โตไปได้อีกมากในช่วงแรกเกดิ ถงึ 3 ปี เด็กวัยนี้จะมี ขนาดสมองประมาณร้อยละ 80 ของผู้ใหญ่ หลังจากวัยนี้ไปแล้วจะไม่มีการเพิ่มเซลล์สมองอีก แต่จะ เป็นการพัฒนาของโครงข่ายเส้นใย ประสาท ในวัย 10 ปีเป็นต้นไปสมองจะเร่ิมเข้าสู่วัยถดถอยอย่างช้า ๆ จะไม่มีการสร้างเซลล์สมองมาทดแทน ใหม่อีก ปฐมวัยจึงเป็นวัยท่ีมีความสาคัญยิ่งของ มนุษย์ (เจ้าของร้าน, 2557 : ออนไลน์) จากการทางานของ เซลลส์ มองในส่วนตา่ ง ๆ ทาใหม้ นุษย์สามารถเรียนร้สู ง่ิ ต่าง ๆ สามารถ เก็บเกย่ี วข้อมูลรอบตัวและสร้างความรู้ ขึ้นมา ได้เกิดการคิด กระบวนการคิดและความคิดข้ึนในสมอง หลังเกิดความคิดก็มีการคิดค้นและมีผลผลิต เกิดข้ึน ย่ิงถ้าเด็กมีการใช้สมองเพ่ือการเรียนรู้และการคิด มากเท่าไร ก็จะทาให้เซลล์สมองสร้างเครือข่ายเส้น ใยสมองใหมๆ่ แตกแขนงเชอื่ มตดิ ต่อกนั มากยง่ิ ขึ้น ทาให้สมองมขี นาดใหญข่ ้นึ โดยไปเพิม่ ขนาดของเซลล์สมอง จานวนเสน้ ใยสมองและจุดเชื่อมต่อระหว่าง เซลล์สมอง สมองของเด็กพัฒนาจากการทางานของกล้ามเนื้อมัด เล็ก ทักษะความคล่องตัวของ กล้ามเน้ือมัดเล็กจะพัฒนาภายในช่วงเวลา 10 ขวบแรก ดังน้ันถ้าหากเด็กได้ ฝึกฝนการใช้มอื การใช้ กลา้ มเนื้อมัดเล็กของมือจะทาให้สมองสร้างเครือข่ายเส้นใยสมองและจุดเช่ือมต่อและ สร้างไขมนั ล้อมรอบเสน้ ใยสมองและเซลลส์ มองท่ีทาหน้าที่ควบคุมการทางานของกล้ามเน้ือมัดเล็กได้มาก ทา ให้ เกดิ ทกั ษะการใชก้ ล้ามเน้ือมดั เลก็ (เจ้าของรา้ น, 2557 : ออนไลน)์ การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) ที่นาเสนอองค์ความรู้ด้านการ จัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง ผ่านเวทีเสวนาจากผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ และผู้ที่มี ประสบการณจ์ ริง รว่ มกนั บอกเล่าเร่อื งราว ประสบการณ์ และวธิ ีการนาแนวคิดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนา สมองไปปรับใช้ในการพัฒนาพื้นท่ีเล่นและเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) สาหรับเด็กระดับปฐมวัย และประถมศึกษาในสถานศึกษา รวมถึงการจัดกิจกรรมในพื้นท่ีดังกล่าวเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน สาหรับเด็ก ให้เดก็ ไดค้ น้ พบตนเองและเตบิ โตไปเปน็ คนทใ่ี ฝเ่ รยี น ใฝ่รู้ พัฒนาตนอยา่ งต่อเนอ่ื งพ้นื ท่สี นามเดก็

7 เล่นที่พัฒนาประสาทรับรู้ของเด็กปฐมวัย ของสนามเด็กเล่น “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” นั้น ประกอบด้วยพื้นที่ 3 ส่วนได้แก่พ้ืนท่ีพัฒนาระบบผิวสัมผัส ประกอบด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมท่ีเด็กมี โอกาสสัมผัสรับรูว้ ัสดทุ ่ีมีผวิ สมั ผสั ต่างกนั ในระหว่างทากจิ กรรมสร้างสรรค์ และกิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมกลางแจ้งพ้ืนท่ีพัฒนาระบบสร้างสมดุล ประกอบด้วย กิจกรรมท่ีฝึกการเคล่ือนไหวของร่างกายทั้ง แนวดิ่งและแนวราบ กิจกรรมการแกว่ง การเล่นกระดานลื่น การปีนเครื่องเล่นสนาม การเดินบนพื้นผิวท่ี ขรุขระ ไม่ราบเรียบ และกิจกรรมการโยก การทรงตัว การวิ่งจ๊อกกิ้ง และการตีลังกาพื้นท่ีพัฒนาระบบ สัมพันธภาพของร่างกาย เช่น การโหนบาร์ การชักเย่อ การโยนบอล การผลักกล่องที่มีน้าหนักในทิศทางต่าง ๆ การชก หรอื ดนั หมอนขนาดใหญ่ และการเคลอื่ นไหวกล้ามเนื้อเล็ก สาหรับสื่อการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) ท่ีจะนามาเผยแพร่เพ่ือให้ ความรู้แก่ผู้ท่ีสนใจนั้นมี 3 แบบ คือ สนามเด็กเล่น ห้องเรียน และส่ือนวัตกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงทั้ง 3 แบบน้ี มี สว่ นช่วยในการพฒั นาสมองของเด็กได้อย่างเต็มศักยภาพ กลุ่มของพวกเราจึงอยากนาเสนอส่ือการเรียนรู้เพื่อ พัฒนาสมองของเด็กปฐมวัย เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) 3. วัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อใหค้ วามรู้ แนวทางการพฒั นาส่งเสริมส่อื และนวตั กรรมเพื่อพัฒนาสมอง (BBL) 2) เพ่ือให้พัฒนาทกั ษะการพัฒนาสอื่ และนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาสมอง (BBL) 4. กลมุ่ เป้าหมาย คุณครูในระดับปฐมวัย ประถมศึกษา หรือผู้ท่ีสนใจสื่อและนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาสมอง (Brain-Based Learning: BBL) 5. ระยะเวลาการดาเนินโครงการ รายการ งบประมาณ 1. กระดาษ A4 115 ธนั วาคม - มีนาคม (4 เดอื น) 6. งบประมาณ รายละเอยี ดการจา่ ยงบประมาณ ประเภทงบ/หมวด คมู่ อื การทา โครงการ

7.แผนการดาเนินงาน 8 ระยะเวลา ลา รายละเอียด ธันวาคม มกราคม กุมภาพนั ธ์ มนี าคม ดับ 1 2 3412 3 4 123 4 1 234 1 ประชุมวางแผนและคิด ชื่อโครงการเพื่อนาเสนอ ตอ่ ผบู้ ริหาร 2 รวบรวมข้อมูลที่ได้จาก การสืบค้น 3 นาข้อมูลที่ได้มาเสนอต่อ ผบู้ รหิ าร 4 ดาเนินการจัดโครงการ 5 เกบ็ รวบรวมข้อมูล 6 วิเคราะห์ สรุปผล และ เ ส น อ ผ ล ก า ร ด า เ นิ น โครงการ 7 จั ด ท า ร า ย ง า น แ ล ะ ว า ง แ ผ น เ พ่ื อ พั ฒ น า โครงการ 8. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 1) โรงเรียนดาเนินงานตามโครงการสือ่ และนวัตกรรมเพือ่ พัฒนาสมอง (Brain-Based Learning) 2) โรงเรยี นมีส่ือและนวัตกรรมเพ่ือพฒั นาสมอง (Brain-Based Learning)

9 9.ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็ /ค่าเป้าหมาย 9.1 เชิงปริมาณ ครูมีความรู้เก่ยี วกบั แนวทางการพฒั นาสมองตามแนวคดิ Brain-Based Learning ร้อยละ 80% 9.2 เชงิ คุณภาพ ครมู ที กั ษะการพัฒนาสื่อ Brain-Based Learning ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 80% 10. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ วตั ถปุ ระสงค์/ตัวชีว้ ดั วิธกี าร เครือ่ งมอื 1) เพอ่ื ให้ความรู้ แนว 1) คุณครูในระดับปฐมวัย และ 1) แบบทดสอบความรทู้ างการ ทางการพัฒนาส่งเสรมิ สอ่ื และ ประถมศึกษาที่เข้ารับการ พฒั นาสง่ เสรมิ สอ่ื และ นวตั กรรมเพือ่ พฒั นาสมอง อบรมโครงการทาแบบทดสอบ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาสมอง (BBL) (BBL) 2) เพื่อให้พัฒนาทักษะการ 1) คุณครูในระดับปฐมวัย และ 2) แบบทดสอบทักษะการ พัฒนาส่ือและนวัตกรรมเพื่อ ประถมศึกษาท่ีเข้ารับการ พฒั นาสอ่ื และนวัตกรรมเพือ่ พฒั นาสมอง (BBL) อบรมโครงการทาแบบทดสอบ พัฒนาสมอง (BBL) 11. สาเหตหุ รอื ปัจจัยความเส่ยี งที่อาจจะเกดิ ข้ึนในการดาเนนิ โครงการ สาเหตหุ รอื ปัจจยั ความเสี่ยง แนวทางแก้ไข/ป้องกนั ความเส่ยี ง 1) ในการทาสนาม BBL มีค่าใช้จ่ายท่ี 1) ขอสปอนเซอรจ์ ากทางบริษัท TOA ค่อนข้างเยอะ

10 สื่อและนวัตกรรม (Resources & Innovations) หอ้ งเรยี น (Classroom) สนามเดก็ เล่น (Playground)

1กญุ แจดอกท่ี 11 สนามเด็กเลน่ (Playground) สนามเดก็ เล่น ตามหลัก Brain-Based Learning : BBL คอื การเรียนรู้ท่ีมี พ้ืนฐานมาจากสมอง อีกตัวหน่ึงที่สาคัญคือ Mind คือ หัวใจ จิตวิญญาณ ตัวรู้ เราตอ้ งทาให้ “ตวั ร”ู้ มคี วามสุข ทาอย่างไรถงึ จะทาใหม้ คี วามสขุ ดงั นน้ั เราต้องให้เดก็ ได้ผ่อนคลายในสนามเด็กเลน่ ทเี่ ปน็ ธรรมชาติ และเป็น แหล่งเรียนรู้ตามหลกั การ Playing by Doing 1 รปู แบบของ 2 สนามเดก็ เลน่ 3

การทาสนามเด็กเล่น (Playground) 12 วัสดุ 1. รูปแบบสนาม อุปกรณ์ 2. ชอล์กขาวสาหรบั วาดสนาม 3. สนี า (ใช้สีทาบ้านหรือสีสาหรบั ทาพืนปนู ) 4. แปรงทาสีขนาดตามท่ตี อ้ งการ ข้ันตอนการพฒั นาสนามเด็กเล่นตามหลกั Brain Based Learning ระดมความคิด งบประมาณ วสั ดุอุปกรณแ์ ละออกแบบรูปแบบสนาม ตามท่ีตอ้ งการ และเลอื กพืน้ ท่ีตามท่ีตอ้ งการ ลงมอื วาดภาพตามรูปแบบท่ีเลอื กไว้ และทงิ้ ไว้ 3 วนั ใหเ้ ด็กเลน่

วธิ กี ารนาไปใช้ 13 รปู แบบท่ี 1 ตัวอกั ษร A - Z วิธกี ารเลน่ 1. ครูแนะนาให้เด็กรจู้ กั กบั รูปแบบสนาม ตัวอกั ษร A – Z ดงั น้ี 1.1 ให้เด็ก ๆ เขา้ แถว 1 แถว 1.2 ให้เด็ก ๆ กระโดดไปทีละช่อง โดบเริ่มจากช่องตัว A ไป จนถึงตัว Z และนัง่ ลง 1.3 ทากิจกรรมจนครบทุกคน 2. สรา้ งขอ้ ตกลงในการใชส้ นาม 3. เด็กทากจิ กรรม 4. เม่ือทากิจกรรมเสรจ็ แลว้ ใหเ้ ดก็ ทาความสะอาดร่างกาย 1. สร้างขอ้ ตกลงก่อนเล่นทุกครงั้ ข้อเสนอแนะ 2. ครูดแู ลเด็กอยา่ งใกลช้ ิด 3. เด็กควรระมัดระวงั ความปลอดภัยต่อตนเองและผอู้ ื่น

วิธกี ารนาไปใช้ 14 รูปแบบที่ 2 ตัวอักษร ก - ฮ วธิ กี ารเล่น 1. ครแู นะนาใหเ้ ด็กรจู้ ักกับรปู แบบสนาม ตวั อักษร ก-ฮ ดงั นี้ 1.1 ใหเ้ ดก็ ๆ เขา้ แถว 1 แถว 1.2 ให้เด็ก ๆ กระโดดไปทีละช่อง โดบเร่ิมจากช่องตัว ก ไป จนถึงตวั ฮ และนั่งลง 1.3 ทากิจกรรมจนครบทุกคน 2. สรา้ งขอ้ ตกลงในการใช้สนาม 3. เดก็ ทากิจกรรม 4. เมื่อทากจิ กรรมเสร็จแล้ว ให้เดก็ ทาความสะอาดรา่ งกาย 1. สรา้ งข้อตกลงก่อนเลน่ ทกุ ครง้ั ข้อเสนอแนะ 2. ครดู แู ลเด็กอยา่ งใกลช้ ิด 3. เดก็ ควรระมัดระวังความปลอดภยั ต่อตนเองและผู้อ่นื

วธิ ีการนาไปใช้ 15 รปู แบบที่ 3 ตัวเลขจานวน 1-10 วธิ กี ารเลน่ 1. ครแู นะนาใหเ้ ดก็ รจู้ กั กับรปู แบบสนามตัวเลขจานวน 1-10 ดงั นี้ 1.1 ใหเ้ ด็ก ๆ เข้าแถว 1 แถว 1.2 ให้เด็ก ๆ กระโดดไปทีละช่อง โดบเริ่มจากช่องตัว 1 ไป จนถงึ ตวั 10 และนงั่ ลง 1.3 ทากิจกรรมจนครบทุกคน 2. สร้างขอ้ ตกลงในการใชส้ นาม 3. เด็กทากิจกรรม 4. เมื่อทากจิ กรรมเสรจ็ แลว้ ใหเ้ ดก็ ทาความสะอาดร่างกาย 1. สร้างขอ้ ตกลงก่อนเลน่ ทกุ คร้ัง ข้อเสนอแนะ 2. ครดู ูแลเด็กอยา่ งใกลช้ ิด 3. เด็กควรระมดั ระวังความปลอดภยั ตอ่ ตนเองและผูอ้ นื่

กิจกรรมสาหรบั 16 เดก็ และครู จงออกแบบสนามเดก็ เล่น (Playground) โดยเลือก มา 1 รูปแบบ และตกแตง่ ให้สวยงาม (สาครับคุณครู)

กิจกรรมสาหรบั 17 เด็กและครู เกมจบั ค่ภู าพกบั คา (สาหรบั เดก็ ปฐมวัย) รปู แบบท่ี 3 ตัวเลข 1-10 รูปแบบท่ี 1 ตัวอักษร A - Z รูปแบบที่ 2 ตวั อักษร ก - ฮ

18 การประเมินกจิ กรรม ออกแบบสนามเดก็ เล่น (Playground) ระดับคุณภาพ ที่ รายการประเมิน 1 รูปแบบสนามเดก็ เลน่ เลือกรปู แบบสนามเดก็ เลอื กรูปแบบสนาม ไมไ่ ด้เลอื กรูปแบบสนาม (Playground) เล่น 1 ใน 3 รปู แบบ เดก็ เล่น 1 ใน 3 เด็กเล่น และไม่มี สนามเดก็ เล่น และมี รูปแบบสนามเด็กเล่น องคป์ ระกอบ องค์ประกอบครบทกุ แตม่ อี งค์ประกอบไม่ อย่าง ครบ 2 ความคิดสร้างสรรคใ์ น ผลงานมีความคดิ ผลงานมีความคิด ผลงานใชร้ ูปแบบสนาม การออกแบบ สร้างสรรค์ ดดั แปล สร้างสรรค์ แตย่ ังคง ตามแบบเดิม ผลงานและคิดนอก ใชร้ ูปแบบสนามตาม กรอบ มีความแปลก แบบเดิมเปน็ เค้าโครง ใหม่แต่ยงั คงรูป แบบเดมิ ไว้ 3 การตกแต่งผลงาน ผลงานมสี ีสันสวยงาม ผลงานมีสสี นั สวยงาม ผลงานใช้สตี ามตัวอย่าง เหมาะสมกบั รูปแบบที่ เหมาะสมกับรูปแบบ รูปแบบสนามเด็กเลน่ เลอื ก และเหมาะสม ท่เี ลอื ก กบั หลกั การพัฒนา สนามเดก็ เล่น

19 การประเมินกิจกรรมจบั คู่ภาพกบั คาสนามเด็กเลน่ (Playground) ระดับคุณภาพ รายการประเมนิ 3 สามารถจบั คไู่ ดจ้ านวน 3 คู่ 2 สามารถจับค่ไู ด้จานวน 2 คู่ 1 สามารถจับคู่ไดจ้ านวน 1 คู่

2กุญแจดอกที่ 20 หอ้ งเรียน (Classroom) สมองของเด็กเล็กอยู่ในระยะท่ีกาลังเก็บรับ ประสบการณจ์ ากการเคลอ่ื นไหวร่างกายทุกส่วน และ เกิดจากการสัมผัสของเด็ก โดยใช้ประสาทสัมผัสท้ัง ห้า คือตา หู จมูก ล้ิน กายสัมผัสต่างๆเพื่อให้ ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นส่งไปยังสมอง ประสบการณ์ท่ี สมองต้องได้รับในเด็กเล็ก ได้แก่ ประสบการณ์ด้าน ภาษา ด้านกระบวนการคิด ด้านศิลปะหรือกิจกรรม สร้างสรรค์ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ด้าน การเคล่ือนไหว เป็นต้น ฉะน้ันครูหรือผู้เก่ียวข้อง จะต้องจัดสภาพแวดล้อมหรือห้องเรียนให้เด็กได้ พัฒนาประสบการณ์ดังกล่าวข้างต้น ถ้าเรามี จุดมุ่ ง ห ม า ย แ ล ะ เ ป้ า หม า ย ที่ ชัด เ จน กา ร จั ด สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนไม่จาเป็นต้องใช้ งบประมาณท่ีมากเกนิ ความสามารถที่จะทาได้ รูปแบบของการจดั ห้องเรยี น การจัดโต๊ะเรยี นและเก้าอ้ี การจัดปา้ ยนเิ ทศ การจดั สภาพหอ้ งเรียน การจดั มมุ ประสบการณ์

การจัดโต๊ะเรียนและเก้าอ้ี 21 การจดั โตะ๊ เรียนและเก้าอ้ขี องนกั เรียน การจัดโตะ๊ ครู 1. ควรจัดให้มีขนาดเหมาะสมกบั รปู ร่างและวัย 1. ควรจัดให้อยู่ในจุดท่ีเหมาะสม อาจจัดไว้ ของนักเรยี น หน้าห้อง ข้างห้อง หรือหลังห้องก็ได้ งานวิจัยบาง เรื่องเสนอแนะให้จัดโต๊ะครูไว้ด้านหลังห้องเพื่อให้ 2. ควรจัดใหม้ ชี ่องว่างระหวา่ งแถวท่ีนกั เรียนจะ มองเหน็ นักเรียนได้อย่างท่ัวถงึ อย่างไรก็ตาม การจัด ลุกน่งั ได้สะดวก และทากจิ กรรมได้คล่องตัว โต๊ะครูนั้นขึ้นอยู่กับรูปแบบการจัดท่ีนั่งของนักเรียน ดว้ ย 3. ควรจดั ให้มคี วามสะดวกต่อการทาความ สะอาดและเคลอ่ื นยา้ ยเปลี่ยนรูปแบบที่น่ังเรยี น 2. ควรจัดให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย 4. ควรจดั ให้มรี ปู แบบที่ไม่จาเจ เช่น อาจเปล่ียนเปน็ รปู ทั้งบนโต๊ะและในล้ินชักโต๊ะ เพื่อสะดวกต่อการ ตวั ที ตวั ยู รูปครง่ึ วงกลม หรอื เขา้ กล่มุ เป็นวงกลม ได้ ทางานของครู และการวางสมุดงานของนักเรียน อย่างเหมาะสมกับกจิ กรรมการเรยี นการสอน ตลอดจนเพื่อปลูกฝังลักษณะนิสัยความเป็นระเบียบ เรยี บร้อยแก่นักเรียน 5. ควรมพี น้ื ท่ใี หน้ ักเรยี นทนี่ ัง่ ทุกจุดอ่าน กระดานดาไดช้ ดั เจน 6. บรเิ วณแถวหนา้ ของโตะ๊ เรยี นควรอยหู่ ่างจาก กระดานดาพอสมควร ไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร ไมค่ วรจัด โตะ๊ ตดิ กระดานดามากเกินไป ทาให้นกั เรียนต้องแหงน มองกระดานดา และหายใจเอาฝุน่ ชอล์กเข้าไปมาก ทา ให้เสียสุขภาพ

22 การจดั ปา้ ยนิเทศ 1. ควรจัดตกแต่งออกแบบให้สวยงาม น่าดู สร้างความสนใจ ให้แกน่ ักเรยี น 2. ควรจดั เน้ือหาสาระให้สอดคล้องกับบทเรียน อาจใช้ติดสรุป บทเรียน ทบทวนบทเรยี น หรือเสรมิ ความรใู้ หแ้ กน่ กั เรียน 3. ควรจัดให้ใหม่อยู่เสมอสอดคล้องกับเหตุการณ์สาคัญ หรือ วนั สาคญั ตา่ ง ๆ ท่ีนกั เรียนเรยี นและควรรู้ 4. ควรจัดติดผลงานของนักเรียนและแผนภูมิแสดง ความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียนจะเป็นการให้แรงจูงใจท่ี น่าสนใจวธิ หี นง่ึ การจัดสภาพหอ้ งเรยี น 1. ภายในห้องเรียนควรมีอากาศถ่ายเทได้ดี มี หน้าต่างพอเพียง และมีประตูเข้าออกได้สะดวก 2. ควรมีแสงสว่างพอเหมาะ เพ่อื ช่วยใหผ้ เู้ รียนอา่ น หนังสือได้ชัดเจน เพ่ือเป็นการถนอมสายตา ควรใช้ไฟฟ้า ชว่ ย ถา้ มแี สงสวา่ งนอ้ ยเกนิ ไป 3. ควรปราศจากส่ิงรบกวนต่าง ๆ เช่น เสียง กลิ่น ควนั ฝนุ่ 4. ภายในห้องเรียนควรมีความสะอาด โดยฝึกให้ นักเรียนรับผิดชอบช่วยกันเก็บกวาด เช็ดถู เป็นการ ปลูกฝังนิสัยรักความสะอาด และฝึกการทางานร่วมกนั

การจดั มมุ ตา่ ง ๆ 23 มุมหนงั สอื ➢ มุมหนังสือและมุมเขียนจัดหนังสือไว้อย่างน้อย 5 เท่าของจานวนเด็กใน ห้องเรยี น ➢ ควรจดั วางหนังสอื หลากหลายชนิด ซ่ึงมคี วามยากง่ายตา่ ง ๆ กนั ➢ ควรจัดหนังสือตามหัวข้อที่เด็กสนใจมาวางเพ่ิมเติม เปลี่ยนแปลงหนังสือ ตามโอกาส ➢ ควรจัดใหน้ า่ สนใจและดงึ ดดู ใจให้เดก็ เข้าไปอ่าน ปูพรม มีหมอนขนาดตา่ งๆ ➢ จัดให้มีสมุดบันทึกการอ่านและเปิดโอกาสให้เด็กยืมหนังสือกลับไปอ่านที่ บ้าน ➢ จัดวางกระดาษชนิดต่างๆ เครื่องเขียนหลากหลายชนิด และตรายางไว้ จัด ให้มีรายการคาเพ่ือเป็นแหล่งอ้างอิงสาหรับการเขียน- จัดอุปกรณ์ให้ เพียงพอกบั เด็กและจัดวางให้เดก็ หยิบใช้และเกบ็ เองได้ มมุ บล็อก ➢ ควรจัดให้มีบล็อกหลายขนาด หลายประเภท มีจานวนเพียงพอต่อความ ต้องการของเดก็ ➢ มขี องเล่นประกอบ เช่น ต้นไม้ สัตว์ คน รถ จาลอง ปูพรมเพ่ือป้องกันไม่ให้ เสยี งดงั เกนิ ไป จดั ไวห้ า่ งจากมุมหนังสอื ➢ ควรทาปา้ ยหรือสัญลักษณ์เพือ่ แสดงทเ่ี กบ็ บลอ็ ก จดั วางกระดาษ และเครือ่ ง เขยี นไว้เพ่ือการบันทึก และจัดแสดงบันทึกผลงานการต่อบล็อกของเดก็

24 วิธีการนาไปใช้ การจดั โต๊ะเรยี นและเกา้ อี้ การจัดป้ายนเิ ทศ นาไปปรบั ใช้ในการพฒั นาหอ้ งเรยี นใหเ้ หมาะสมตามหลัก Brain-Based Learning : BBL. การจัดสภาพหอ้ งเรยี น การจดั มุมประสบการณ์

กิจกรรมสาหรับ 25 เด็กและครู จงออกแบบห้องเรียน โดยเลือกมา 1 รปู แบบ และ ตกแต่งใหส้ วยงาม (สาครบั คณุ ครู)

กิจกรรมสาหรับ 26 เด็กและครู จงจบั คู่รปู ภาพกบั คา (สาหรบั เด็กปฐมวัย) การจัดมุมประสบการณ์ การจดั สภาพห้องเรยี น การจัดโตะ๊ เรยี นและเก้าอี้ การจัดป้ายนเิ ทศ

27 การประเมินกจิ กรรม ออกแบบสนามเดก็ เล่น (Playground) ระดบั คุณภาพ ท่ี รายการประเมนิ 1 รูปแบบสนามเดก็ เล่น เลือกรูปแบบสนาม เลือกรูปแบบสนาม ไมไ่ ดเ้ ลือกรูปแบบ (Playground) เด็กเล่น 1 ใน 3 เด็กเลน่ 1 ใน 3 สนามเด็กเล่น และไม่มี รูปแบบสนามเดก็ เล่น รูปแบบสนามเดก็ องคป์ ระกอบ และมีองคป์ ระกอบ เล่นแตม่ ี ครบทกุ อย่าง องคป์ ระกอบไม่ครบ 2 ความคิดสรา้ งสรรคใ์ น ผลงานมีความคดิ ผลงานมีความคิด ผลงานใชร้ ูปแบบสนาม สรา้ งสรรค์ แตย่ งั คง ตามแบบเดิม การออกแบบ สรา้ งสรรค์ ดดั แปล ผลงานและคิดนอก ใชร้ ูปแบบสนามตาม กรอบ มีความแปลก แบบเดิมเป็นเคา้ โครง ใหมแ่ ตย่ งั คงรูป แบบเดมิ ไว้ 3 การตกแตง่ ผลงาน ผลงานมีสีสนั สวยงาม ผลงานมีสีสนั ผลงานใชส้ ีตาม เหมาะสมกบั รูปแบบท่ี สวยงาม เหมาะสม ตวั อย่างรูปแบบสนาม เลือก และเหมาะสม กบั รูปแบบท่ีเลือก กบั หลกั การพฒั นา เดก็ เล่น สนามเดก็ เล่น

28 การประเมินกิจกรรมจบั คู่ภาพกบั คาสนามเด็กเลน่ (Playground) ระดับคุณภาพ รายการประเมนิ 3 สามารถจบั คไู่ ดจ้ านวน 3 คู่ 2 สามารถจับค่ไู ด้จานวน 2 คู่ 1 สามารถจับคู่ไดจ้ านวน 1 คู่

3กุญแจดอกท่ี 29 ส่อื และนวัตกรรม (Resources & Innovations) สื่อ (Media) หมายถึง เป็นคาท่ีมาจากภาษาละตินว่า “medium” แปลว่า “ระหว่าง” หมายถึง ส่งิ ใดกต็ ามที่บรรจุขอ้ มูลเพอ่ื ให้ผสู้ ง่ และผรู้ ับสามารถสอ่ื สารกนั ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เมื่อมีการนาส่ือมา ใช้ในกระบวนการเรยี น การสอนกเ็ รยี กสอื่ นน้ั วา่ “สือ่ การเรียนการสอน” (Instruction Media) นวตั กรรม (Innovation) หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ท่ียังไม่เคยมีใช้ มาก่อน หรอื เปน็ การพฒั นาดัดแปลงมาจากของเดมิ ท่ีมอี ย่แู ล้ว ใหท้ ันสมยั และใช้ได้ผลดียิง่ ขึ้น ดังนั้น สื่อและนวัตกรรม (Innovation Media) หมายถึง การใช้ส่ือต่างๆ เพ่ือถ่ายทอดข้อมูล ความรู้ การประดิษฐ์สิง่ ทคี่ ิดวา่ ใหม่ ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้จริง รปู แบของส่อื 1 สอ่ื และ ประกอบการ เรยี นการสอน นวัตกรรม 2 ส่ือกลางแจ้ง 3 เกมการศึกษา

30 การทาส่อื ประกอบการเรียนการสอน วัสดอุ ุปกรณ์ 1. ผา้ สกั หลาด สแี ดง ส้ม ขาว เขียวเขม้ เขียวออ่ น เหลือง มว่ ง 2. เขม็ / ดา้ ย 3. กรรไกร ขนั้ ตอนการทาสื่อประกอบการเรยี นการสอน ตัดผา้ สักหลาดตามภาพ นาผา้ สักหลาดมาประกอบ ใชเ้ ขม็ เยบ็ ผา้ สักหลาดท่ี กนั ดังภาพ นามาประกอบใหต้ ิดกัน เมอ่ื เย็บเสร็จแล้วจะได้ ใช้เข็มเย็บผลกบั ใบให้ เม่ือเย็บเสร็จแลว้ จะได้ ตามรูปภาพ ติดกัน มะเขือม่วงดงั ภาพ

31 การทาส่อื กลางแจ้ง วัสดอุ ปุ กรณ์ 1. ผ้าดบิ 2. กรรไกร 3. ดนิ สอ 4. สอี ะคริลิคกนั นา้ 5. ใยสงั เคราะห์ ขั้นตอนการทาส่อื กลางแจง้ เตรยี มผา้ ดิบ ขนาด 2.4x3 เมตร รา่ งแบบตามแผ่นออกแบบ เร่มิ ลงสีจากทรี่ า่ งแบบไว้ เก็บรายละเอยี ดรปู ภาพ เยบ็ ขน้ึ รูปเปน็ สี่เหลย่ี ม ใสใ่ ยสงั เคราะห์ขา้ งในลกู เต๋า

การทาเกมการศึกษา 32 วัสดุอุปกรณ์ 1. ผ้าสกั หลาด สแี ดง สม้ ขาว เขยี วเขม้ เขียวอ่อน เหลือง ม่วง 2. เขม็ / ดา้ ย 3. กรรไกร 4. กาว 5. กล่อง ข้นั ตอนการทาเกมการศกึ ษา ตัดผ้าสักหลาดและ ยดั ใยสังเคราะห์ เยบ็ ตามภาพ ใหด้ าวพองพอดี เย็บปิดด้วยเขม็ นากลอ่ งกระดาษมาเจาะรแู ละ เมื่อเสรจ็ แล้วนามาประกอบกนั ตกแตง่ ใหส้ วยงาม จะได้ดงั ภาพ

วิธีการนาไปใช้ 33 รูปแบบที่ 1 สอื่ ประกอบการเรียนการสอน วิธีการเล่น 1. ใชเ้ ล่นในกจิ กรรมเสริมประสบการณ์ ทางคณติ ศาสตรโ์ ดยการให้เดก็ แบง่ เปน็ กลมุ่ แลว้ ออกมารับใบคาส่งั พรอ้ มสายรดั กบั ครูแลว้ ไปช่วยกนั นับ จานวนผกั ตามจานวนในใบคาสั่ง 2. แล้วนาสายรัดๆ ผกั ไวแ้ ล้วนาไปใสต่ ะกรา้ เดก็ จะไดร้ ใู้ นเรอ่ื งของการเพ่มิ ขนึ้ ทลี ะเท่า ๆ กัน (เพ่ิมขึน้ ทลี ะ1 2 5 และ 10 เท่าๆกนั ) 3. ครสู ร้างข้อตกลง 4. เดก็ เลน่ สื่อประกอบการเรียนการสอน 5. เดก็ เก็บของเขา้ ท่ใี หเ้ รียบรอ้ ย ขอ้ เสนอแนะ 1. สร้างข้อตกลงกอ่ นทากจิ กรรมให้ชดั เจน 2. ส่ือชนิ้ น้เี ป็นผ้าควรระวงั ไมใ่ หเ้ ปยี กนา้ 3. ควรระวังหา้ มนาเขา้ ปาก 33

วธิ กี ารนาไปใช้ 34 รูปแบบท่ี 2 สื่อกลางแจง้ วิธกี ารเล่น 1. ใช้เล่นในกจิ กรรมเกมการศึกษา ทางคณติ ศาสตร์โดยการให้เด็ก ทอยลูกเตา๋ ถ้าทอยลูกเต๋าได้จานวนเทา่ ใด ให้เดก็ ๆ เดนิ บนจดุ ตามจานวนท่ีได้ และบันทึกว่าตนเองทอยได้ตานวนเท่าใด 2. เด็กทากจิ กรรมกลางแจ้ง 3. เด็กและครูรว่ มกนั ตรวจคาตอบ 4. เด็กเก็บของเขา้ ท่ใี หเ้ รียบร้อย ข้อเสนอแนะ 1. สร้างขอ้ ตกลงกอ่ นทากิจกรรมให้ชดั เจน 2. สื่อชน้ิ นี้เป็นผ้าควรระวงั ไมใ่ ห้เปยี กน้า 3. ควรระวังห้ามนาเข้าปาก

วิธกี ารนาไปใช้ 35 วธิ ีการเล่น 1. ใชเ้ ล่นในกิจกรรมเกมการศกึ ษา ทางคณิตศาสตรโ์ ดยการใหเ้ ด็ก นารูปเลขาคณิตไปวางใว้ในชอ่ งให้ถูกตอ้ ง 2. เดก็ เลอื กเลน่ เกมการศกึ ษาตามความสนใจ 3. เด็กและครรู ว่ มกันตรวจคาตอบ 4. เด็กเกบ็ ของเข้าทใี่ หเ้ รียบรอ้ ย ข้อเสนอแนะ 1. สรา้ งข้อตกลงก่อนทากจิ กรรมใหช้ ดั เจน 2. สื่อชน้ิ น้ีเป็นผา้ ควรระวังไมใ่ ห้เปียกน้า 3. ควรระวงั ห้ามนาเขา้ ปาก

กิจกรรมสาหรับ 36 เด็กและครู จงออกแบบส่ือและนวัตกรรมการเรียนรู้มา 1 รปู แบบ พรอ้ มบอกวิธกี าร สร้างสื่อ และวิธีการนาส่ือไปใช้ พร้อมตกแตง่ ใหส้ วยงาม

กิจกรรมสาหรับ 37 เด็กและครู ใหเ้ ดก็ ๆพาสตั ว์ทง้ั 4 ตัวตามหาขาของพวกเขาใหเ้ จอ พร้อมกบั ระบายสี

38 การประเมนิ กิจกรรมการออกแบบสอ่ื และนวตั กรรม การประเมินกิจกรรมสอ่ื การเรยี นรู้

39 ภาคผนวก

40 โครงการการพัฒนาสื่อและนวัตกรรม ตามหลกั Brain Based Learning

41

42

43

44

45 การทากจิ กรรม

46 การพฒั นาสนามเดก็ เล่น

47 การพฒั นาห้องเรยี น

48 การพัฒนาส่อื และนวตั กรรม

49 คณะผจู้ ัดทา

50 นางสาวไพลนิ งามดี นางสาวอรยา สูงเนิน รหสั นกั ศึกษา 60181860109 รหัสนักศกึ ษา 60181860110 นางสาวกรวรรณ เอนรัมย์ นางสาวณิชากานต์ ร้ชู อบ รหัสนกั ศึกษา 60181860115 รหัสนักศึกษา 60181860119 นางสาวณัฐยา ถาวรทัศน์ นางสาวสวุ รรณา เศษนาเวช รหสั นกั ศึกษา 60181860124 รหสั นกั ศกึ ษา 60181860128 นางสาวเยาวภ์ า ศีลบตุ ร รหัสนักศึกษา 60181860130


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook