Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

Published by พรทิพย์ พลกิจ, 2020-03-12 23:22:22

Description: ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

online E-bสo่ือกoารkสใอชนโ้ ปPรoแwกรeมrPPuoibnht tml5 เร่ืองพทุ ธสาวก..พทุ ธสาวกิ า...ชาวพทุ ธตวั อยา่ ง รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหสั วิชา ส ๓๑๑๐๑ (พระพทุ ธศาสนา) จดั ทำโดย นำงสำวพรทพิ ย์ พลกิจ ครูชำนำญกำรพิเศษ โรงเรยี นแหลมสงิ หว์ ทิ ยำคม จ.จนั ทบรุ ี สำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำเขต ๑๗

คานา • สื่อการสอน PowerPoint online E-bookใชโ้ ปรแกรม Pubhtml5 เรื่องพุทธสาวก/พุทธสาวกิ า/ชาวพทุ ธตวั อย่างใช้เป็ นสื่อการ เรียนการสอนในรายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหัสวชิ า ส ๓๑๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๔ ใช้เวลาสอน ๖ ช่ัวโมง ทางผ้จู ัดทาหวงั ว่าสื่อการสอน PowerPoint เรื่องพุทธสาวก/พุทธสาวกิ า/ชาวพุทธตัวอย่างคงเป็ นประโยชน์ต่อนักเรียน และคุณครูผ้สู อนรายวชิ าสังคมศึกษาได้พอสมควร

ลกั ษณะของชมพูทวีปและคติความเช่อื ทางศาสนาสมยั ก่อนพระพุทธเจ้า • ชมพูทวปี สมัยกอ่ นพุทธกาล แบง่ ตามลักษณะทางภมู ศิ าสตร์ ได้เปน็ ๒ สว่ น มชั ฌมิ ประเทศ เป็นดนิ แดนตอนกลางของชมพทู วปี ประกอบด้วยแคว้นใหญ่ ๑๖ แคว้น คือ แคว้น องั คะ มคธ กาสี โกศล วชั ชี มลั ละ เจตี วังสะ กรุ ุ ปัญจาละ มัจฉะ สุรเสนะ อัสสกะ อวนั ตี คันธาระ และกัมโพชะ ปัจจนั ตประเทศ เปน็ ดินแดนอนั เป็นท่ตี ง้ั ของแควน้ เลก็ ซง่ึ มอี ยดู่ ้วยกัน ๕ แควน้ คือ แควน้ สักกะ โกลยิ ะ ภคั คะ วิเทหะ และองั คุตตราปะ แควน้ เล็กเหลา่ นี้ แมจ้ ะแยกปกครองตนเอง แตก่ ็ยังต้องขึน้ กบั แคว้นทใ่ี หญ่กว่าคลา้ ยกับเป็นเมืองขน้ึ หรือเมอื งประเทศราช

สรปุ คตคิ วามเชอ่ื ของชาวชมพูทวปี ในสมยั ก่อนพทุ ธกาล ๑ คตคิ วามเชื่อที่เกดิ จากธรรมชาติ เป็นความเชอ่ื ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ฝนตก ฟ้าร้อง พายพุ ัด แผ่นดนิ ไหว มเี ทพเจ้าหรือ วิญญาณ เป็นผูบ้ ันดาลใหเ้ กดิ จงึ มีการตัง้ ชื่อเทพเจา้ มีการบูชา บวงสรวง และเซ่นไหว้ เพื่อความ สงบสุขของคนในสังคม ๒ คตคิ วามเชอื่ ท่ีเกิดจากคาสอนและพธิ กี รรมของพวกพราหมณ์ ทาใหเ้ กดิ ความเชอ่ื เรื่องวรรณะ และเชื่อว่าวรรณะพราหมณ์เป็นผูน้ าคาสอนจากเทพเจ้ามา ประกาศ โดยมีคมั ภีรพ์ ระเวทเป็นหลัก ๓ คตคิ วามเช่ือท่ีเกิดจากคาสอนและปรชั ญาของศาสนาต่างๆ ในสภาพสังคมที่มคี วามทกุ ข์ทาให้มนุษย์ต่างคน้ หาคาตอบใหก้ บั ชีวิต จึงทาใหเ้ กิดคตคิ วามเชื่อ ตา่ งๆ จากพวกทไี่ ม่ยอมรบั คาสอนของศาสนาพราหมณ์

พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธกี ารทเ่ี ป็นสากลและมีข้อปฏิบัติทย่ี ึดทางสายกลาง พระพทุ ธศาสนามที ฤษฎีท่ีเป็นสากล อรยิ สัจ ๔ เป็นทฤษฎที พ่ี ระพุทธศาสนาเน้นอยู่เสมอ สอนวา่ ชวี ิตและโลกมปี ัญหา • ปญั หาการด้นิ รนเล้ยี งชีวติ ปญั หาการมีชวี ติ อยูร่ อด ปญั หาสากลอยา่ งเกิด แก่ เจ็บ ตาย สอนวา่ ปญั หามีสาเหตุ • สรรพสง่ิ เกิดจากเหตุ สรรพสิ่งจะดบั หรอื หมดไป กเ็ พราะดบั เหตุ เมื่อรูว้ ่าปญั หาทกุ อยา่ งมสี าเหตุ การแก้ปัญหาจงึ ตอ้ ง แก้ทส่ี าเหตุ สอนวา่ มนุษยส์ ามารถแกป้ ญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง • เมอ่ื รูส้ าเหตทุ ีแ่ ทจ้ ริงของปญั หาแลว้ ยอ่ มสามารถแกป้ ญั หาอันเกดิ จากสาเหตทุ ีแ่ ท้จรงิ ของปญั หานั้นได้ สอนวา่ การแกป้ ัญหาต้องใช้ปัญญาและความพากเพียร • การแก้ปญั หาให้สาเรจ็ ตามความม่งุ หมายได้ จะตอ้ งใช้ปัญญากบั ความพากเพียรควบคู่กันไปในการแก้ปญั หา

พระพทุ ธศาสนามขี อ้ ปฏบิ ตั ทิ ่ยี ดึ ทางสายกลาง “ มัชฌิมาปฏิปทา ” ๑ สมั มาทฏิ ฐิ (เหน็ ชอบ) มีความเห็นถกู ต้องตามทานองคลองธรรม ๒ สัมมาสังกัปปะ (ดาริชอบ) ไมล่ ่มุ หลงกบั ความสุขทางกาย ไมพ่ ยาบาท (อริยมรรค มีองค์ ๘) ๓ สมั มาวาจา (เจรจาชอบ) ไม่พูดเท็จ ไม่พดู ส่อเสียด ไม่พูดหยาบคาย ๔ สมั มากมั มันตะ (กระทาชอบ) ไม่ทาลายชวี ติ ไม่ลักขโมย ๕ สัมมาอาชวี ะ (เลี้ยงชีพชอบ) หากนิ ดว้ ยอาชพี ท่สี ุจรติ ไมค่ ดโกง ๖ สมั มาวายามะ (พยายามชอบ) พยายามละเว้นจากความชั่วตา่ งๆ ๗ สมั มาสติ (ระลกึ ชอบ) มีสติรอบคอบในการคิด ทา พดู ๘ สัมมาสมาธิ (ต้ังจติ มน่ั ชอบ) มจี ติ ตั้งม่นั อยา่ งถกู ต้องแน่วแน่ในการ ประพฤติธรรม

พระพทุ ธศาสนาเนน้ การพัฒนาศรัทธาและปัญญาทถ่ี ูกตอ้ ง การพัฒนาศรัทธา ศรทั ธา หมายถงึ ความเชอ่ื ม่ันในส่ิงดงี ามท่ีประกอบด้วยเหตุผลศรทั ธาทจ่ี ะนาไปส่กู ารพฒั นา ๓ ประการ ๑ เช่ือม่นั ในความดีงามของมนุษย์ ๒ เชอ่ื มัน่ ในกฎแห่งการกระทาและผลของการกระทา ๓ เช่ือมนั่ ว่ามนุษยต์ ้องรับผิดชอบต่อการกระทาและผล ของการกระทานน้ั

การพฒั นาปญั ญา พระพุทธเจา้ สอนให้มนษุ ย์รู้จกั ใช้ปัญญาในการพจิ ารณาคน้ หาเหตผุ ล โดยอาศัยการฝกึ จติ เป็นการทาจิตให้แนว่ แนม่ น่ั คงเปน็ สมาธิ “ หลักคาสอนของพระพทุ ธเจา้ ” ถา้ ทรงสอนเรอ่ื งศรทั ธาในที่ใดก็จะทรงสอน เร่อื งปัญญาในทนี่ ัน้ ดว้ ย ตวั อยา่ ง ในพละ ๕ (ธรรมอันเป็นกาลัง ๕ ประการ) • ศรทั ธา • วริ ิยะ • สติ • สมาธิ ปัญญาในเวสารชั ชกรณธรรม (ธรรมนาความกล้าหาญ) • ศรทั ธา • ศีล • พาหุสจั จะ • วริ ิยารัมภะ • ปญั ญา

ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาใหส้ ทิ ธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคแก่พระภกิ ษสุ งฆ์ ทุกหม่เู หลา่ ภายใต้พระธรรมวินัย มกี ิจกรรมที่พระภกิ ษุสงฆท์ กุ รปู จะตอ้ งถือเปน็ เรอ่ื งสาคญั • การประชมุ อุโบสถสังฆกรรม ภกิ ษทุ กุ รปู ต้องเข้าประชุมโดยพร้อม เพรยี งกนั การลงมติในท่ปี ระชุมสงฆ์ พระภกิ ษุสงฆจ์ ะต้องเหน็ พอ้ งตอ้ งกนั เปน็ เอกฉันท์ จงึ จะสามารถปฏบิ ัตกิ ิจกรรมนน้ั ได้ • พิธีรบั กฐิน พระสงฆท์ ่ไี ด้รบั เลือกจะรับผ้ากฐนิ ไดพ้ ระภิกษุสงฆ์ ทกุ รปู จะตอ้ งลงมติเปน็ เอกฉนั ท์ การตัดสินปัญหาทม่ี คี วามคิดแตกแยกเปน็ สองฝ่าย ตัดสนิ โดยถือเอา เสียงข้างมากเปน็ ข้อยตุ ิ เรยี กว่า เยภุยยสิกา สทิ ธแิ ละเสรภี าพของภกิ ษุในเรอ่ื งการประชุม พระภกิ ษุสงฆ์ทุกรปู มีสิทธิ เขา้ ร่วมประชุม และแสดงความคิดเหน็ ทัง้ ที่เห็นดว้ ยหรือคดั ค้าน

หลกั การของพระพทุ ธศาสนากับหลกั วิทยาศาสตร์ ๑ ด้านความเชอื่ ๒ ดา้ นความรู้ ๓ ดา้ นความแตกตา่ ง

๑ ด้านความเชื่อ หลักการวทิ ยาศาสตรน์ น้ั จะเชือ่ ในเรอ่ื งใดจะต้องมีการพิสูจนค์ วามจรงิ โดยใชก้ าร กาลามสูตร ๑๐ ประการ ทดลอง และทุกอย่างจะต้องดาเนินไปอย่างมีกฎเกณฑแ์ ละมเี หตุผลเป็นตัวตดั สินโดย อาศัยปัญญาในการพิจารณา พระพุทธศาสนาก็มีหลักการด้านความเชอื่ เช่นเดียวกบั วทิ ยาศาสตร์ ดังหลักคาสอนที่ปรากฏอยู่ใน “กาลามสูตร” ๑. อย่าเพง่ิ ปลงใจเช่ือ เพยี งเพราะได้ยนิ ได้ฟงั ตามๆ กนั มา ๒. อยา่ เพง่ิ ปลงใจเชอ่ื เพียงเพราะยดึ ถอื สบื ๆ กนั มา ๓. อย่าเพิ่งปลงใจเชอ่ื เพียงเพราะข่าวเล่าลือ ๔. อย่าเพิง่ ปลงใจเชือ่ เพียงเพราะอา้ งตารา ๕. อย่าเพ่ิงปลงใจเชอื่ เพยี งเพราะเดาเอาเอง ๖. อย่าเพง่ิ ปลงใจเชื่อ เพยี งเพราะคาดคะเน ๗. อย่าเพิ่งปลงใจเช่อื เพียงเพราะตรกึ ตามอาการ ๘. อยา่ เพิ่งปลงใจเชื่อ เพียงเพราะชอบใจว่าตรงกบั ความเห็นของตน ๙. อยา่ เพงิ่ ปลงใจเชื่อ เพยี งเพราะเชื่อวา่ ผูพ้ ดู สมควรจะเชือ่ ถือได้ ๑๐. อย่าเพ่ิงปลงใจเชอื่ เพียงเพราะนบั ถือว่าสมณะผ้นู ั้นเป็นครูของตน

๒ ด้านความรู้ ทง้ั วิทยาศาสตรแ์ ละพระพทุ ธศาสนาตา่ งยอมรับความรจู้ ากประสบการณซ์ ่ึงมกี าร พสิ ูจน์โดยผา่ นตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ พระพทุ ธเจา้ ทรงเร่ิมคิดจากประสบการณ์ ที่ได้เหน็ คือ ความเจ็บ ความแก่ และความตาย ซง่ึ ล้วนเป็นความทุกข์ พระองค์ทรง ทดลองโดยอาศยั ประสบการณข์ องพระองค์ จนในที่สุดก็ทรงสามารถคน้ พบหลกั ความจริงอนั เป็นหนทางทจี่ ะหลดุ พน้ จากความทกุ ข์ ๓ ด้านความแตกต่าง วิทยาศาสตร์มงุ่ แสวงหาความจริงภายนอกด้านวตั ถเุ ป็นสาคญั สว่ นพระพุทธศาสนา เน้นการแสวงหาความจริงภายใน คือ ความจรงิ ด้านจติ ใจ ท่มี งุ่ ให้มนษุ ย์สามารถ พฒั นาจติ ใจของตนใหห้ ลดุ พน้ จากกเิ ลสไดอ้ ยา่ งสนิ้ เชงิ

การคิดตามนยั แหง่ พระพทุ ธศาสนาและการคิดแบบวทิ ยาศาสตร์ • การคิดตามนยั แหง่ พระพทุ ธศาสนา เรียกวา่ “วธิ ีคิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร” ๑ วิธคี ิดแบบสืบสาวเหตปุ จั จัย ๖ วิธคี ิดแบบคณุ โทษและทางออก ๒ วิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ ๗ วิธีคดิ แบบคุณคา่ แท้คุณคา่ เทียม (วธิ ีคดิ แบบกระจายเนือ้ หา) ๘ วธิ คี ดิ แบบอุบายปลกุ เรา้ คณุ ธรรม ๓ วิธีคดิ แบบสามญั ลกั ษณะ (วิธคี ดิ แบบปลุกเร้ากศุ ล) (วิธคี ดิ แบบรูเ้ ท่าทนั ธรรมดา) ๙ วธิ คี ดิ แบบเป็นอย่ใู นขณะปจั จุบนั ๔ วธิ ีคดิ แบบอรยิ สัจ ๑o วธิ ีคิดแบบวภิ ชั ชวาท (วิธคี ดิ แบบแก้ปัญหา) ๕ วธิ คี ิดแบบตามหลกั การและความมุ่งหมาย (วธิ คี ดิ แบบอรรถธรรมสัมพันธ์)

• การคดิ แบบวิทยาศาสตร์ แยกไดเ้ ป็น ๕ ขัน้ ตอน ทดลอง ต้งั สมมตฐิ าน กาหนดปัญหา และเก็บขอ้ มลู วิเคราะหข์ อ้ มูล สรุปผล

พระพุทธศาสนาเนน้ การฝึกหัดอบรมตนเอง การพงึ่ ตนเอง และการม่งุ อิสรภาพ • การท่ีบคุ คลจะทาอะไรไดด้ แี ละทาเปน็ นน้ั ขน้ึ อยกู่ บั การฝึกหัดอบรม ซงึ่ กระทาได้ ๒ ทาง การฝึกหัดอบรมตนและการพึ่งตนเอง พระพทุ ธศาสนามุง่ สอู่ สิ รภาพ เรียกว่า สกิ ขา มี ๓ ข้นั ตอน • เปา้ หมายของการฝกึ หดั อบรมตนเองตามหลัก พระพทุ ธศาสนาคอื วมิ ตุ ติ หรอื ความหลุดพ้น • อธิศลี สิกขา คอื การฝกึ อบรมหรือการควบคุมตน หมายถงึ ความหลดุ พน้ จากการครอบงาของความ ในเรอ่ื งศลี โลภ ความโกรธ และความหลง ซ่ึงจดั ไดว้ ่าเปน็ อสิ รภาพอย่างหน่ึง • อธจิ ติ ตสกิ ขา คอื ฝกึ อบรมในเร่อื งจิต เรยี กง่ายๆ ว่า สมาธิ เปน็ การฝึกฝนพฒั นาจิตใหด้ ีงามยิ่งๆ ข้ึน ไปในด้านต่างๆ • อธิปญั ญาสกิ ขา เปน็ การฝกึ อบรมในเรือ่ งปญั ญา ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทงั้ ความรใู้ นทางวชิ าการ ซ่งึ เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชวี ิต

พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสตร์แห่งการศึกษา ศาสตร์แหง่ การศกึ ษาในพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนากบั การศึกษาท่สี มบรู ณ์ • ศลี สิกขา • พฤตกิ รรม • จติ ตสกิ ขา • จติ ใจ • ปญั ญาสิกขา • ปญั ญา

พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสมั พันธ์ของเหตปุ จั จัยและวิธีการแก้ปัญหา หลกั คาสอนท่ีเนน้ เหตุ ปรากฏอยู่ในหลักอรยิ สจั ๔ ซง่ึ เปน็ ศาสตรแ์ ห่งเหตุและผลสามารถแยกเป็นคู่ได้ ทกุ ข์ เปน็ ผล นิโรธ เปน็ ผล (เป็นตัวปญั หา เป็นสถานการณ์ท่ีไมต่ ้องการ) (เปน็ ภาวะสน้ิ ปัญหา เปน็ จุดหมายท่ตี ้องการจะเขา้ ถงึ ) สมทุ ัย เปน็ ผล มรรค เปน็ ผล (เปน็ ท่ีมาของปัญหา เปน็ จุดทีต่ ้องกาจดั หรือแก้ไข (เปน็ ขอ้ ปฏิบัติที่ตอ้ งกระทาในการแกไ้ ขปัญหาเพอ่ื จงึ จะพ้นจากปัญหาได้) บรรลุจดุ หมาย คอื ภาวะสิน้ ปญั หา หรอื ความทกุ ข์) สรปุ ไดว้ ่า สมุทัย-มรรค เป็นเหตุ ทุกข์-นโิ รธ เป็นผล

พระพุทธศาสนาฝกึ คนไมใ่ หป้ ระมาท ความไม่ประมาท • ความเป็นอยอู่ ย่างมสี ตริ อบคอบหรอื ระมัดระวงั ท่ีจะไม่ทาเหตแุ ห่งความผดิ พลาด เสียหาย • แนวทางในการปฏิบัตติ นไมใ่ หป้ ระมาทน้ัน จะตอ้ งเรม่ิ ตน้ จากการต้งั สติ รูส้ ึกตัวอยู่เสมอวา่ ตน จะทาอะไร กาลงั ทาอะไร • หลักธรรมในเรื่องความไม่ประมาท มี ๔ ประการ ได้แก่ ไม่ประมาทในการละกายทุจรติ (ประพฤติ กายสจุ รติ )ไมป่ ระมาทในการละวจีทจุ รติ (ประพฤติวจสี ุจริต) ไมป่ ระมาทในการละมโนทุจรติ (ประพฤติมโนสจุ รติ ) และไม่ประมาทในการละความเหน็ ผดิ (ทาความเหน็ ใหถ้ กู )

พระพุทธศาสนามงุ่ ประโยชน์สุขและสันติภาพแก่บุคคล สังคม และโลก ๑ พระพทุ ธศาสนามงุ่ ประโยชน์สขุ และสันตภิ าพแกบ่ ุคคลและสังคม หลักธรรมที่กอ่ ให้เกดิ การช่วยเหลือเกือ้ กลู กนั ระหว่างสมาชกิ ในสมาชิก คือ สังคหวัตถุ ๔ ดังนี้ • ทาน • ปยิ วาจา • อตั ถจริยา • สมานัตตตา ๒ พระพุทธศาสนามุ่งประโยชนส์ ขุ และสันตภิ าพแกช่ าวโลก • หลกั คาสอนที่ใหล้ ะเว้นจากการเบยี ดเบยี นชีวิตผ้อู ่ืน • หลกั คาสอนที่ให้ละความโลภ ความเหน็ แก่ตัว • หลกั คาสอนท่ใี ห้ละจากความโกรธ • หลกั คาสอนทใ่ี หล้ ะจากความหลงผิด • หลกั คาสอนในเรือ่ งความอดทน • หลกั คาสอนของพระพทุ ธศาสนาซง่ึ อย่ใู นลักษณะของพุทธศาสนสภุ าษิต

พระพทุ ธศาสนากับเศรษฐกจิ พอเพยี ง พุทธศาสนกิ ชน สามารถนาหลักคาสอนในพระพทุ ธศาสนามาเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้สอดคลอ้ งกับหลกั การเศรษฐกิจ พอเพยี งได้ โดยปฏบิ ัตติ นตามทางสายกลาง คอื อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ สัปปรุ ิสธรรม ๗ บุญกิริยาวตั ถุ ๑๐ อุบาสกธรรม ๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook