Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อเรื่องกฎหมายในชีวิตประจำวัน ม.4เทอม2

สื่อเรื่องกฎหมายในชีวิตประจำวัน ม.4เทอม2

Published by พรทิพย์ พลกิจ, 2019-12-18 21:54:57

Description: สื่อเรื่องกฎหมายในชีวิตประจำวัน ม.4เทอม2

Search

Read the Text Version

สื่อการสอน PowerPoint โปรแกรม E-BOOK เร่ืองกฎหมายในชีวติ ประจาวนั รายวชิ าสงั คมศึกษา รหสั วชิ า ส31102(หนา้ ท่ีพลเมือง) จดั ทำโดย นำงสำวพรทพิ ย์ พลกิจ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ โรงเรียนแหลมสงิ ห์วิทยำคม จ.จนั ทบรุ ี สำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำเขต ๑๗

คานา • ส่ือการสอน PowerPoint เร่ืองกฎหมายในชีวติ ประจาวนั ใช้เป็ น สื่อการเรียนการสอนในรายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหัสวชิ า ส 31102 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 4 ประกอบด้วยเนื้อหา ดงั ต่อไปนี้ ลกั ษณะทว่ั ไปของกฎหมาย กฎหมายแพ่งการทานิติกรรมและสัญญา กฎหมายอาญา กฎหมายอื่นๆทค่ี วรรู้ ใช้เวลาสอน 8 ช่ัวโมง ทางผ้จู ดั ทาหวงั ว่าส่ือการสอน PowerPoint เร่ืองกฎหมาย ในชีวติ ประจาวนั คงเป็ นประโยชน์ต่อนักเรียนและคุณครูผ้สู อนรายวชิ า สังคมศึกษาได้พอสมควร

จุดประสงค์การเรียนรู้ • วิเคราะห์และปฏิบตั ิตนตามกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัวชุมชน ประเทศชาติ • และสงั คมโลกได้ กฎหมายมขี ้อดอี ย่างไรบ้าง? กฎหมายในชีวติ ประจาวนั

ความหมาย ความสาคัญ และลกั ษณะของกฎหมาย กฎหมาย หมายถึง ขอ้ บงั คบั ของรัฐ อนั เป็นส่วนหน่ึงของการจดั ระเบียบสงั คม เพื่อใชค้ วบคุมความประพฤติ ของพลเมือง หากผใู้ ดฝ่ าฝืนจะตอ้ งไดร้ ับโทษอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง โดยเจา้ หนา้ ที่ของรัฐเป็นผดู้ าเนินการบงั คบั กฎหมายพฒั นาข้ึนมาจากศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ศาสนา และกฎเกณฑข์ อ้ บงั คบั โดยมี วตั ถุประสงคเ์ พื่อธารงความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอนั ดีของสมาชิกในสงั คม ทาใหก้ ารอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมน้นั เป็ นไปโดยราบร่ื น

ความสาคญั ของกฎหมาย  ใชค้ วบคุมหรือจดั ระเบียบทางสงั คม เพื่อใหค้ นในสงั คมอยรู่ ่วมกนั อยา่ งเรียบร้อย ไม่กระทบกระทง่ั หรือเอาเปรียบกนั จนเกิดเป็นความขดั แยง้  ช่วยพฒั นาสงั คมใหเ้ จริญกา้ วหนา้ เป็นสงั คมที่มีความเป็นปึ กแผน่ และมีแต่สนั ติสุข  ช่วยคุม้ ครองสิทธิประโยชนต์ ่างๆ ของประชาชน ดว้ ยการรับรองสิทธิและเสรีภาพของคนในสงั คม

ลกั ษณะของกฎหมาย  ตอ้ งเป็นคาสงั่ หรือขอ้ บงั คบั  ตอ้ งออกโดยรัฏฐาธิปัตยห์ รือผมู้ ีอานาจสูงสุดในรัฐหรือองคก์ รน้นั  ตอ้ งมีสภาพบงั คบั และใชบ้ งั คบั ไดท้ ว่ั ไป  ตอ้ งมีผลใชบ้ งั คบั ตลอดไปจนกวา่ จะมีการแกไ้ ขหรือยกเลิก

ประเภทของกฎหมาย กฎหมายทจี่ ดั ตามองค์กรจัดทากฎหมาย กฎหมายทจี่ ัดทาโดยองค์กรพเิ ศษ • กฎหมายประเภทน้ี ไดแ้ ก่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ ซ่ึงเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ • จดั ทาข้ึนโดยองคก์ รพิเศษท่ีไดร้ ับมอบหมายใหจ้ ดั ทารัฐธรรมนูญ เช่น สภาร่างรัฐธรรมนูญ เป็นตน้ • รัฐธรรมนูญกาหนดวา่ อานาจสูงสุดทางการปกครองมาจากประชาชนชาวไทย โดยมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขพร้อมท้งั ไดว้ างหลกั ประกนั เกี่ยวกบั สิทธิและ เสรีภาพของประชาชนไว้ • กฎหมายอ่ืนท่ีขดั หรือแยง้ กบั รัฐธรรมนูญจะบงั คบั ใชม้ ิได้

กฎหมายทจ่ี ดั ทาโดยองค์กรฝ่ ายนิติบญั ญตั ิ • กฎหมายประเภทน้ี ไดแ้ ก่ พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญและพระราชบญั ญตั ิ • เป็นกฎหมายท่ีพระมหากษตั ริยท์ รงตราข้ึนตามคาแนะนาและยนิ ยอมของรัฐสภา ซ่ึงประกอบดว้ ยสภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ ิสภา • ในพระราชบญั ญตั ิแต่ละฉบบั จะแบ่งขอ้ ความออกเป็นมาตรา ซ่ึงประกอบดว้ ยขอ้ กาหนดความประพฤติต่างๆ และกาหนดโทษ หรือผลร้ายท่ีเกิดจากการฝ่ าฝืน • พระราชบญั ญตั ิมีผลบงั คบั เป็นกฎหมายไดโ้ ดยประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ซ่ึงเป็นหนงั สือประกาศกฎหมายและเรื่อง สาคญั ของทางราชการ

กฎหมายทจ่ี ดั ทาโดยองค์กรฝ่ ายบริหาร  กฎหมายประเภทนี้ ได้แก่ พระราชกาหนด และ พระราชกฤษฎกี า พระราชกาหนด พระราชกฤษฎกี า • เป็นกฎหมายท่ีพระมหากษตั ริยท์ รงตราข้ึนตาม • เป็นกฎหมายท่ีพระมหากษตั ริยท์ รงตราข้ึนตาม คาแนะนาของคณะรัฐมนตรี ในกรณีเพ่ือประโยชน์ใน คาแนะนาของคณะรัฐมนตรี เพื่อกาหนดการต่างๆ อนั ที่จะรักษาความปลอดภยั ของประเทศ ความ ตามท่ีรัฐธรรมนูญหรือพระราชบญั ญตั ิใหอ้ านาจไว้ ปลอดภยั สาธารณะ ความมนั่ คงทางเศรษฐกิจหรือ หรือวางระเบียบการต่างๆ ทางบริหาร โดยไม่ขดั ต่อ ป้องปัดภยั พิบตั ิสาธารณะ กฎหมายอื่น • รัฐมนตรีตอ้ งนาพระราชกาหนดเสนอต่อรัฐสภา • พระราชกฤษฎีกามีฐานะที่ต่ากวา่ พระราชกาหนด ถา้ รัฐมนตรีไม่อนุมตั ิกใ็ หพ้ ระราชกาหนดน้นั ตกไป และตอ้ งออกโดยอาศยั อานาจท่ีรัฐธรรมนูญมอบให้ และใหบ้ ทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายที่มีอยกู่ ่อนการแกไ้ ข และไม่ตอ้ งนาเสนอใหร้ ัฐสภาพิจารณาอนุมตั ิ เพิ่มเติมหรือยกเลิก มีผลบงั คบั ใชต้ ่อไป

กฎหมายทจ่ี ัดทาโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่  กฎหมายประเภทน้ี ไดแ้ ก่ ขอ้ บญั ญตั ิและขอ้ บงั คบั ขององคก์ รปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่น  เป็นกฎหมายท่ีจดั ทาข้ึนโดยองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ไดแ้ ก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพทั ยา เทศบาล องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั และองคก์ ารบริหารส่วนตาบล เก่ียวกบั เรื่องท่ีพระราชบญั ญตั ิใหอ้ านาจไว้  เป็นกฎหมายที่มีฐานะต่ากวา่ พระราชบญั ญตั ิ และมีผลบงั คบั ใชเ้ ฉพาะในเขต ทอ้ งท่ีขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินน้นั ๆ

กฎหมายทจ่ี ดั ตามลกั ษณะความสัมพนั ธ์ระหว่างคู่กรณี กฎหมายเอกชน  เป็นกฎหมายซ่ึงกาหนดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอกชนกบั เอกชน พลเมืองกบั พลเมือง หรือพลเมืองกบั รัฐ โดยรัฐยอมอยใู่ นฐานะ เท่าเทียมกบั พลเมือง  ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือพิจารณาหรือตดั สินเมื่อเกิดความขดั แยง้ กนั ของคู่กรณี เพ่ือหาขอ้ ยตุ ิ  กฎหมายเอกชนที่ควรรู้จกั ไดแ้ ก่ กฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์

กฎหมายมหาชน • เป็นกฎหมายท่ีกาหนดความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรัฐกบั พลเมืองของรัฐ โดยรัฐอยใู่ นฐานะเหนือกวา่ พลเมือง • ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการปกครองและควบคุมดูแลพลเมืองใหอ้ ยภู่ ายใตก้ รอบของกฎหมายมหาชน • กฎหมายมหาชนท่ีควรรู้จกั ไดแ้ ก่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง และ พระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม

กฎหมายระหว่างประเทศ • เป็นกฎหมายหรือขอ้ ตกลงซ่ึงกาหนดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรัฐกบั รัฐในฐานะ ที่เท่าเทียมกนั มิใช่กฎหมายของรัฐใดรัฐหน่ึง แต่เกิดจากการตกลงระหวา่ งรัฐ ใหใ้ ชไ้ ด้ หรือรัฐต่างๆ ยอมรับมาปฏิบตั ิร่วมกนั • ใชใ้ นการแกป้ ัญหาร่วมกนั ระหวา่ งรัฐหรือภาคีสมาชิกท้งั ในยามปกติ และในยามที่มีขอ้ ขดั แยง้ เพื่อหาแนวทางยตุ ิความขดั แยง้ มิให้ลุกลาม • กฎหมายระหวา่ งประเทศตามหลกั สากลมี ๓ ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ กฎหมายระหวา่ ง ประเทศแผนกคดีเมือง กฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดีบุคคล และกฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดีอาญา

กฎหมายทจ่ี ดั ตามบทบาทของกฎหมาย กฎหมายสารบญั ญตั ิ  เป็นกฎหมายซ่ึงบญั ญตั ิหรือกาหนดในเร่ืองสิทธิหนา้ ท่ีและ ความรับผดิ ชอบต่างๆ ซ่ึงถือเป็นสาระสาคญั หรือหวั ใจของ กฎหมาย  มีลกั ษณะเป็นเน้ือหาของกฎหมาย เช่น กฎหมายแพ่ง ซ่ึง บญั ญตั ิวา่ บุคคลมีสิทธิ หนา้ ที่ และความรับผดิ ชอบระหวา่ ง กนั อยา่ งไรบา้ ง เป็นตน้

กฎหมายวธิ ีสบญั ญตั ิ  เป็นกฎหมายซ่ึงใชป้ ระกอบกบั กฎหมายสารบญั ญตั ิ โดยบญั ญตั ิ วธิ ีดาเนินการใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายสารบญั ญตั ิอีกข้นั หน่ึง  มีลกั ษณะกาหนดข้นั ตอนของกระบวนวิธีการใชก้ ฎหมายหรือ กระบวนวธิ ีพิจารณาคดี เช่น กฎหมายอาญา บญั ญตั ิวา่ เมื่อบุคคล กระทาความผดิ แลว้ จะตอ้ งไดร้ ับโทษ โดยวิธีการจบั กมุ สอบสวน ฟ้องร้องผกู้ ระทาผดิ ต่อศาล และพิจารณาวา่ เขามี ความผดิ จริงหรือไม่ ตลอดจนพิพากษาใหเ้ ขาไดร้ ับโทษหากมี ความผดิ จริง เป็นตน้

กฎหมายแพ่ง เป็นกฎหมายท่ีเก่ียวกบั เอกชนหรือคนแต่ละคน ท้งั เม่ืออยตู่ ามลาพงั และเมื่อติดต่อกบั ผอู้ ื่นเน้ือหาของ กฎหมายแพ่งซ่ึงรวบรวมไวใ้ นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีบทบญั ญตั ิเกี่ยวกบั เรื่องของบุคคล ครอบครัว ทรัพยส์ ิน นิติกรรมและสญั ญา ซ่ึงเป็นเร่ืองราวที่เกี่ยวขอ้ งกบั ชีวิตประจาวนั ของทุกคน

กฎหมายแพ่งเกย่ี วกบั ตนเอง กฎหมายเร่ืองบุคคล กฎหมายเร่ืองบุคคลที่สาคญั ได้แก่ • การกาหนดตวั บุคคล กฎหมายมีวิธีการกาหนดตวั บุคคลเพ่ือใหเ้ กิดความชดั เจนวา่ ใครเป็นใคร และมีบทบาท ทางกฎหมายในสงั คมไดเ้ พียงใด ซ่ึงสิ่งที่นามาใชก้ าหนดตวั บุคคล ไดแ้ ก่ ช่ือบุคคล ภูมิลาเนา สถานะ และ ความสามารถ • หลกั ฐานแสดงตวั บุคคล พระราชบญั ญตั ิบตั รประจาตวั บตั รประจาตัวประชาชนเป็ นหลกั ฐานแสดงตวั ประชาชน (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ กาหนดใหบ้ ุคคล บุคคลทสี่ าคัญ ควรนาตดิ ตวั ไว้เสมอ สญั ชาติไทยท่ีมีอายตุ ้งั แต่ ๗ ปี บริบูรณ์ข้ึนไป แต่ไม่เกิด ๗๐ ปี บริบูรณ์ ตอ้ งมีบตั รประจาตวั ประชาชน เพื่อเป็น เมื่อเดนิ ทางออกนอกบ้านเพื่อทากจิ ธุระต่างๆ เอกสารสาคญั ในการใชพ้ ิสูจน์ตวั บุคคล ภูมิลาเนา และ สถานะบางอยา่ งของบุคคล

กฎหมายเร่ืองทรัพย์สิน • เป็นกฎหมายที่กาหนดวา่ สิ่งใดเป็นวตั ถุหรือทรัพยส์ ิน (ท้งั ท่ีมีรูปร่างและไม่มีรูปร่าง) ซ่ึงบุคคลสามารถยดึ ถือเป็นของ ตนเองได้ กาหนดวธิ ีไดม้ า ตลอดจนรับรองสิทธิต่างๆในสิ่งน้นั • กฎหมายไดแ้ บ่งทรัพยส์ ินและประโยชน์เก่ียวกบั ทรัพยส์ ินออกเป็นหลายประเภท แต่ท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ อสงั หาริมทรัพย์ และสงั หาริมทรัพย์ โดยใหค้ วามสาคญั กบั อสงั หาริมทรัพยม์ ากกวา่ • กฎหมายบญั ญตั ิใหผ้ มู้ ีกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ิน ยอ่ มมีสิทธิครอบครอง ใชส้ อย จ่ายโอน ทาลาย และมีสิทธิไดด้ อกผลจากทรัพยส์ ินน้นั • บุคคลมีสิทธิในทรัพยส์ ินไดโ้ ดยเหตุผล สาคญั ๒ ประการ คือ ไดม้ าตามบญั ญตั ิ ของกฎหมาย และ ไดม้ าโดยผลของ นิติกรรมและสญั ญา กฎหมายกาหนดให้ข้าวเป็ นสังหาริมทรัพย์ชนิดหน่ึง

กฎหมายเร่ืองละเมดิ • เป็นกฎหมายกาหนดหนา้ ท่ีใหบ้ ุคคลเคารพสิทธิเสรีภาพต่างๆ ของผอู้ ่ืนโดยทวั่ ไป ดว้ ยการไม่ก่อความเสียหาย แก่สิทธิและเสรีภาพของผอู้ ่ืน ไม่วา่ โดยจงใจหรือโดยประมาทเลินเล่อกต็ าม หากบุคคลกระทาผดิ กฎหมาย จะตอ้ งรับผดิ ชอบโดยการชดใชค้ า่ สินไหมทดแทน • การละเมิดบางกรณีอาจเป็นความผดิ ทางอาญาดว้ ย เช่น การทาใหท้ รัพยส์ ินของผอู้ ื่นเสียหายโดยเจตนา ผเู้ สียหายมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายได้ และอาจฟ้องใหผ้ กู้ ระทาผดิ ไดร้ ับโทษ ทางอาญาดว้ ย

กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ครอบครัวและมรดก กฎหมายครอบครัว การหม้ัน เป็นการทาสญั ญาระหวา่ งชายกบั หญิงวา่ ต่อไปจะสมรสกนั โดยฝ่ ายชายไดม้ อบของหม้นั ไวใ้ หแ้ ก่ฝ่ ายหญิง เพ่ือเป็นประกนั ซ่ึงกฎหมายไดก้ าหนดเงื่อนไขไว้ ดงั น้ี  การหม้นั จะทาไดต้ ่อเม่ือชายและหญิงมีอายุ ๑๗ ปี บริบูรณ์ แต่ถา้ ชายหรือหญิงยงั เป็นผเู้ ยาวจ์ ะตอ้ งไดร้ ับความ ยนิ ยอมจากบิดามารดาหรือผปู้ กครองเสียก่อน  เมื่อสมรสแลว้ ของหม้นั จะตกเป็นของฝ่ ายหญิง แต่หากไม่มีการสมรสเนื่องจากความผดิ ของฝ่ ายหญิง ฝ่ ายหญิงตอ้ ง คืนของหม้นั ใหแ้ ก่ฝ่ ายชาย  การผดิ สญั ญาหม้นั ฝ่ ายท่ีเสียหายสามารถเรียกค่าทดแทนได้ แต่จะใหศ้ าลบงั คบั ใหม้ ีการสมรสไม่ได้

การสมรส เป็นการทาสญั ญาตกลงเป็นสามีภรรยากนั ระหวา่ งชายกบั หญิง ซ่ึงกฎหมายกาหนดเงื่อนไขไว้ ดงั น้ี  ชายและหญิงตอ้ งมีอายคุ รบ ๑๗ ปี บริบูรณ์  บุคคลวกิ ลจริตหรือไร้ความสามารถจะทาการสมรสไม่ได้  ผซู้ ่ึงเป็นญาติสืบสายโลหิตกนั จะสมรสกนั ไม่ได้  ผรู้ ับบุตรบุญธรรมจะสมรสกบั บุตรบุญธรรมไม่ได้  ชายหรือหญิงจะทาการสมรสในขณะท่ีมีคูส่ มรสอยแู่ ลว้ ไม่ได้  หญิงที่เคยสมรสแลว้ จะสมรสใหม่ไดต้ ่อเม่ือการสมรสคร้ังก่อนสิ้นสุดลงไม่ นอ้ ยกวา่ ๓๑๐ วนั  ถา้ ชายหรือหญิงฝ่ ายใดอายยุ งั ไม่ครบ ๒๐ ปี บริบูรณ์ ฝ่ ายน้นั ตอ้ งไดร้ ับการ ยนิ ยอมจากบิดามารดาหรือผปู้ กครองก่อน  การสมรสจะตอ้ งจดทะเบียน โดยมีนายอาเภอหรือปลดั อาเภอเป็นนายทะเบียน

 ชายหญิงจะตอ้ งแสดงความยนิ ยอมเป็นสามีภริยากนั โดยเปิ ดเผยต่อหนา้ นายทะเบียน  การสมรสอยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมายก่อใหเ้ กิดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสามีภรรยา ๒ ประการ คือ ความสมั พนั ธ์ทางครอบครัว ซ่ึงสามีภรรยาจะตอ้ งช่วยเหลืออุปการะเล้ียงดูกนั ตาม ความสามารถและฐานะของตน และความสมั พนั ธ์ทางทรัพยส์ ิน ซ่ึงกฎหมายไดแ้ บ่งทรัพยส์ ิน ระหวา่ งสามีภรรยาเป็นสินส่วนตวั และสินสมรส  การสมรสจะสิ้นสุดลงเมื่อศาลพิพากษาวา่ การสมรสเป็นโมฆะ หรือโมฆียะ หรือใหเ้ พิกถอน การสมรส คูส่ มรสฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงตาย และเมื่อมีการหยา่

ความสัมพนั ธ์ระหว่างบดิ ามารดากบั บุตร แบ่งออกไดเ้ ป็น ๒ กรณี ไดแ้ ก่ การเป็ นบุตรชอบด้วยกฎหมาย การรับบุตรบุญธรรม • บุตรท่ีชอบดว้ ยกฎมายคือบุตรที่เกิดจากบิดา • เป็นการจดทะเบียนรับบุตรผอู้ ่ืนมาเล้ียงดูเป็น มารดาซ่ึงจดทะเบียนสมรสกนั ตามกฎหมาย บุตรของตนเอง โดยดาเนินการตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • เดก็ ซ่ึงเกิดจากบิดามารดาท่ีมิไดส้ มรสกนั เป็นบุตรท่ีชอบดว้ ยกฎหมายของมารดาฝ่ าย • ผทู้ ่ีจะรับผอู้ ื่นเป็นบุตรบุญธรรมตอ้ งมีอายไุ ม่ต่า เดียว หากตอ้ งการใหเ้ ป็นบุตรท่ีชอบดว้ ย กวา่ ๒๕ ปี บริบูรณ์ และตอ้ งแก่กวา่ ผทู้ ่ีจะรับ กฎหมายของบิดาดว้ ยน้นั บิดาและมารดา เป็นบุตรบุญธรรมอยา่ งนอ้ ย ๑๕ ปี หรือถา้ เป็น จะตอ้ งจดทะเบียนสมรสกนั หรือบิดาจะขอ ผเู้ ยาวต์ อ้ งไดร้ ับการยนิ ยอมจากบิดามารดาผใู้ ห้ จดทะเบียนรับรองบุตร กาเนิด และไดร้ ับความยนิ ยอมจากคู่สมรสก่อน • บุตรท่ีชอบดว้ ยกฎหมายมีฐานะและมีสิทธิตาม • บุตรบุญธรรมที่ไดร้ ับการจดทะเบียนถูกตอ้ งมี กฎหมายกาหนด เช่น สิทธิการรับมรดกใน ฐานะและสิทธิเสมือนบุตรท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย ฐานะทายาท เป็นตน้

สิทธิและหน้าทขี่ องบดิ ามารดา และ สิทธิและหน้าทข่ี องบุตร สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดา สิทธิและหน้าทข่ี องบุตร • ใหก้ ารอุปการะเล้ียงดู และใหก้ ารศึกษาตาม • มีสิทธิใชช้ ่ือสกลุ ของบิดา เวน้ แต่ไม่ปรากฏบิดา สมควร ใหใ้ ชส้ กลุมารดาแทน • เป็นผใู้ ชอ้ านาจการปกครองบุตร มีสิทธิในการ • มีสิทธิไดร้ ับการอุปการะเล้ียงดู และไดร้ ับ กาหนดท่ีอยขู่ องบุตร และมีสิทธิทาโทษบุตรตาม การศึกษาตามสมควรจากบิดามารดา สมควร • มีหนา้ ที่ตอบแทนบุญคุณบิดามารดา และบุตรจะ • ถา้ บุตรมีเงินได้ บิดามารดามีสิทธินามาใชเ้ ป็น ฟ้องบิดามารดา รวมท้งั บุพการีอื่นของตนในคดี คา่ เล้ียงดูอุปการะเล้ียงดูและการศึกษาของบุตร แพ่งหรืออาญาไม่ได้ ตอ้ งขอใหพ้ นกั งานอยั การ ส่วนท่ีเหลือตอ้ งมอบใหแ้ ก่บุตรภายหลงั ยกคดีข้ึนกล่าวให้

กฎหมายเร่ืองมรดก • มรดกหรือกองมรดก คือ ทรัพยส์ ิน สิทธิ หนา้ ที่ และความรับผดิ ชอบต่าง ๆ ของเจา้ ของมรดก เมื่อถึงแก่ความตาย มรดกของเขายอ่ มตกแก่ทายาททนั ที ยกเวน้ สิทธิเฉพาะตวั ของผตู้ ายโดยแท้ จะไม่ตกทอดเป็นมรดก • ทายาท คือ ผมู้ ีสิทธิไดร้ ับมรดก มี ๒ ประเภท คือ ทายาทโดยธรรม และทายาทตามพินยั กรรม ทายาทโดยธรรม ทายาทตามพนิ ัยกรรม  มีสิทธิตามกฎหมาย ไดแ้ ก่ บุตร บิดา  ผมู้ ีสิทธิไดร้ ับมรดกตามท่ีพินยั กรรมระบุ มารดา คูส่ มรส พี่นอ้ งร่วมบิดาหรือมารดา ไว้ แลว้ แต่ผตู้ ายจะต้งั ใจยกมรดกของ เดียวกนั ป่ ูยา ตา ยาย ลุง ป้า นา้ อา ตนใหใ้ ครบา้ ง ตามลาดบั ความห่างช้นั แต่คู่สมรส บุตร และบิดามารดา จะไดร้ ับมรดกของผตู้ าย  หากผตู้ ายยกมาดกใหก้ บั ทายาทตาม เท่าเทียมกนั พินยั กรรมท้งั หมด ทายาทโดยธรรม จะไม่มีสิทธิไดร้ ับมรดกเลย

กฎหมายแพ่งเกย่ี วกบั นิตกิ รรมและสัญญา นิติกรรม • นิติกรรม ไดแ้ ก่ การแสดงเจตนาของบุคคลโดยชอบดว้ ยกฎหมาย มุ่งโดยตรงต่อการผกู ความสมั พนั ธ์ทาง กฎหมายระหวา่ งบุคคล เพื่อที่จะก่อใหเ้ กิดความเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงบั ซ่ึงสิทธิ • นิติกรรมตอ้ งเป็นการแสดงเจตนาหรือความต้งั ใจออกมาภายนอก เช่น โดยวาจาหรือโดยการเขียนหนงั สือ • นิติกรรมตอ้ งทาโดยความสมคั รใจ คือ ตอ้ งไม่เกิดจากการเขา้ ใจผดิ หรือถูกข่เู ขญ็ บงั คบั หรือขาดสติสมั ปชญั ญะ • นิติกรรมซ่ึงทาโดยผหู้ ยอ่ นความสามารถ เช่น ผเู้ ยาวอ์ าจถูกบอกลา้ งดว้ ยผแู้ ทนโดยชอบธรรมได้ ในกรณีที่ทาให้ ผเู้ ยาวเ์ สียเปรียบเนื่องจากหยอ่ นความสามารถน้นั

สัญญา  สญั ญา คือ นิติกรรมชนิดหน่ึง แต่เป็นนิติกรรมท่ีมีบุคคล ๒ ฝ่ าย หรือมากกวา่ น้นั มาตกลงกนั โดยแสดงเจตนา เสนอและสนองตรงกนั ก่อใหเ้ กิดสญั ญาข้ึน  สญั ญายอ่ มก่อใหเ้ กิดหน้ี เกิดความผกู พนั ระหวา่ งเจา้ หน้ีกบั ลูกหน้ี โดยเจา้ หน้ีมีสิทธิเรียกร้องใหล้ ูกหน้ี ชาระหน้ีไดต้ ามกฎหมาย

เง่ือนไขการทานิติกรรมสัญญาของบุคคล  กฎหมายกาหนดนิติกรรมและสญั ญาข้ึน เพ่ือใหบ้ ุคคลใชเ้ ปลี่ยนแปลงสิทธิของตนไดด้ ว้ ยความ ต้งั ใจ  ผเู้ ยาวจ์ ะทานิติกรรมไดต้ อ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากผแู้ ทนโดยชอบธรรม เวน้ แต่นิติกรรมที่ไดม้ า ซ่ึงสิทธิโดยสิ้นเชิง  คนไร้ความสามารถตอ้ งอยใู่ นความอนุบาลของผอู้ นุบาลท่ีแต่งต้งั โดยศาล ซ่ึงจะเป็นผทู้ านิติกรรม แทน ส่วนคนเสมือนไร้ความสามารถทากิจการเองไดท้ ุกอยา่ ง เวน้ แต่บางอยา่ งท่ีตอ้ งไดร้ ับความ ยนิ ยอมจากผพู้ ิทกั ษ์

 บุคคลลม้ ละลายจะทานิติกรรมใดๆ ไม่ได้ เจา้ พนกั งานพิทกั ษท์ รัพยต์ ามคาสงั่ ศาลจะเป็นผมู้ ี อานาจจดั การแทน  นิติกรรมและสญั ญาท่ีทาข้ึนโดยผเู้ ยาว์ คนไร้ความสามารถ และบุคคลลม้ ละลาย โดยปราศจากความยนิ ยอมจากบุคคลท่ีกฎหมายกาหนดจะกลายเป็นโมฆียะ  การทานิติกรรมสญั ญาใดๆ จะตอ้ งไม่มีวตั ถุประสงคเ์ ป็นการตอ้ งหา้ มชดั แจง้ โดยกฎหมาย ไม่เป็นการพน้ วิสยั และตอ้ งไม่ขดั ต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน

ประเภทของนิตกิ รรมสัญญา  นิติกรรมสัญญา แบ่งได้ ๒ ประเภท คือ นิติกรรมฝ่ ายเดยี ว และนิตกิ รรมสองฝ่ าย นิตกิ รรมฝ่ ายเดยี ว นิตกิ รรมสองฝ่ าย  เกิดข้ึนโดยการแสดงเจตนาของบุคคล  เกิดข้ึนโดยการแสดงเจตนาของบุคคลท้งั ฝ่ ายเดียวและมีผลทางกฎหมาย เช่น การ สองฝ่ าย ต่างตกลงยินยอมระหว่างกัน ก่อต้งั มูลนิธิ การรับสภาพหน้ี การทา หรือเรียกว่า สัญญา เช่น สัญญาซ้ือขาย พินยั กรรม การบอกกล่าวบงั คบั จานอง สญั ญากยู้ มื สญั ญาแลกเปลี่ยน สญั ญาขาย เป็ นตน้ ฝาก จานอง จานา เป็นตน้

สัญญาซื้อขาย • เป็นสญั ญาที่ผขู้ ายโอนกรรมสิทธ์ิใหก้ บั ผซู้ ้ือ โดยผซู้ ้ือตกลงจะให้ ราคาทรัพยส์ ินน้นั กบั ผขู้ าย • สญั ญาซ้ือขายแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ สญั ญาซ้ือขายสาเร็จบริบูรณ์หรือสญั ญาซ้ือขายเสร็จเดด็ ขาด และ สญั ญาจะซ้ือจะขาย • การซ้ือขายอสงั หาริมทรัพยห์ รือสงั หาริมทรัพยช์ นิดพิเศษ ตอ้ งตกลงกนั เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร หรือมีการวาง มดั จา หรือมีการชาระหน้ีบางส่วนไวล้ ่วงหนา้ • หากมีฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงไม่ปฏิบตั ิตามสญั ญา ยอ่ มฟ้องร้องใหป้ ฏิบตั ิตามสญั ญา รวมท้งั เรียกค่าเสียหายจากฝ่ ายที่ผดิ สญั ญาได้

สัญญาขายฝาก  เป็นสญั ญาซ้ือขายซ่ึงกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินตกไปยงั ผซู้ ้ือ โดยท่ีมีขอ้ ตกลงกนั วา่ ผขู้ ายอาจไถ่ทรัพยส์ ินน้นั กลบั คืนไดภ้ ายในระยะเวลาท่ีตกลงกนั  การขายฝากเป็นการซ้ืออยา่ งหน่ึง ดงั น้นั หลกั เกณฑใ์ นการขายฝากจึงเป็นเช่นเดียวกบั การซ้ือขาย เช่น การขาย ฝากอสงั หาริมทรัพยห์ รือสงั หาริมทรัพยช์ นิดพิเศษ จะตอ้ งทาเป็นหนงั สือและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี  การทาสญั ญาขายฝากเป็นวิธีการใหห้ ลกั ประกนั อยา่ งหน่ึงแก่ผซู้ ้ือฝาก และเม่ือผขู้ ายฝากใชส้ ิทธิไถ่กจ็ ะไดป้ ระโยชน์ โดยกาหนดสินไถ่ไวใ้ นอตั ราที่สูงพอ เป็ นการตอบแทน

สัญญาเช่าทรัพย์  เป็นสญั ญาซ่ึงผใู้ หเ้ ช่าตกลงใหผ้ เู้ ช่า ไดใ้ ชห้ รือไดร้ ับประโยชน์ในทรัพยส์ ินในระยะเวลาท่ีกาหนด โดยผเู้ ช่า ตกลงใหค้ ่าเช่าในการน้นั  การเช่าอสงั หาริมทรัพยต์ อ้ งมีหลกั ฐานเป็นหนงั สือ ลงลายมือช่ือของฝ่ ายท่ีจะตอ้ งรับผดิ ตามสญั ญา  สญั ญาเช่าอสงั หาริมทรัพยน์ านเกินกวา่ 3 ปี หรือมีกาหนดตลอดอายขุ องผเู้ ช่าหรือผใู้ หเ้ ช่าตอ้ งนาไปจดทะเบียน ต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี  ผใู้ หเ้ ช่ามีหนา้ ที่ส่งมอบทรัพยส์ ินท่ีเช่า ใหแ้ ก่ผเู้ ช่าในสภาพท่ีซ่อมแซมดีแลว้  ผเู้ ช่าตอ้ งสงวนทรัพยส์ ินที่เช่า เหมือนทรัพยส์ ินของตนเอง และยอมใหผ้ ใู้ หเ้ ช่าตรวจตราทรัพยส์ ินเป็นคร้ังคราว และไม่ดดั แปลงหรือต่อเติมทรัพยส์ ิน ยกเวน้ ไดร้ ับอนุญาตจากผใู้ ห้เช่า  ผเู้ ช่าตอ้ งส่งคืนทรัพยส์ ินท่ีเช่า ใหแ้ ห่ผใู้ หเ้ ช่าในสภาพท่ีซ่อมแซมดีแลว้ เม่ือสญั ญาเช่าน้นั สิ้นสุดลง

สัญญาเช่าซื้อ  เป็นสญั ญาซ่ึงเจา้ ของเอาทรัพยส์ ินออกใหเ้ ช่าและใหค้ ามน่ั วา่ จะขายทรัพยส์ ินน้นั หรือใหท้ รัพยส์ ินน้นั ตกเป็นของผเู้ ช่า โดยมีเง่ือนไขวา่ ผเู้ ช่าซ้ือไดใ้ ชเ้ งินเป็นงวด ตามท่ีตกลงกนั ไว้  สญั ญาเช่าซ้ือตอ้ งทาเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรและลงลายมือชื่อคู่สญั ญา  ผใู้ หเ้ ช่าซ้ือมีสิทธิบอกเลิกสญั ญาได้ เมื่อผเู้ ช่าซ้ือผดิ นดั ไม่ชาระคา่ เช่าซ้ือสองงวดติดต่อกนั  ผเู้ ช่าซ้ือมีหนา้ ท่ีชาระค่าเช่า และมีสิทธิท่ีจะบอกเลิกสญั ญาเม่ือใดกไ็ ด้ โดยส่งมอบทรัพยส์ ินกลบั คืนและใหค้ า่ เช่าซ้ือ เฉพาะท่ียงั คา้ งชาระในงวดชาระเงินที่ผา่ นมาใหแ้ ก่ผใู้ หเ้ ช่าซ้ือ  หลงั จากชาระเงินเช่าซ้ือครบตามสญั ญาแลว้ ผเู้ ช่าซ้ือมีสิทธิเรียกร้อง ใหผ้ ใู้ หเ้ ช่าซ้ือเปล่ียนแปลงกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ิน

สัญญาก้ยู ืม • เป็นสญั ญาซ่ึงผกู้ ตู้ กลงยมื เงินจานวนหน่ึงจากผใู้ หก้ ู้ และตกลงจะคืนเงินตามกาหนดระยะเวลาที่กาหนด โดยผกู้ ใู้ หด้ อกเบ้ียเป็นคา่ ตอบแทน • การกยู้ มื เงินเกิน ๒,๐๐๐ บาทข้ึนไป จะตอ้ งมีหลกั ฐานเป็นหนงั สือแสดงวา่ มีการกยู้ มื กนั จริง พร้อมลง ลายมือชื่อผกู้ ู้ • ผใู้ หก้ จู้ ะเรียกดอกเบ้ียจากผกู้ ไู้ ดส้ ูงสุดไม่เกินร้อยละ ๑๕ ต่อปี หากเรียกสูงกวา่ น้ี ผใู้ หก้ มู้ ีความผดิ ยกเวน้ การกยู้ มื เงินจากสถาบนั ทางการเงิน • ผกู้ มู้ ีสิทธิใหผ้ ใู้ หก้ อู้ อกหลกั ฐานการใชเ้ งินไดเ้ มื่อชาระหน้ี หมดแลว้ และมีสิทธิเรียกสญั ญากยู้ มื เงินกนั ไวก้ ลบั คืนมา • หากผกู้ ไู้ ม่ปฏิบตั ิตามสญั ญา ผใู้ หก้ มู้ ีสิทธิฟ้องเรียกเงินคืน พร้อมท้งั ดอกเบ้ียท่ีคา้ งชาระไดต้ ามสญั ญา

สัญญาจานา  เป็นสญั ญาซ่ึงผจู้ านาส่งมอบการครอบครองสงั หาริมทรัพยใ์ หแ้ ก่ผรู้ ับจานา เพื่อประกนั การชาระหน้ี ผรู้ ับจานา มีสิทธิยดึ ทรัพยส์ ินน้นั ไว้ จนกวา่ จะไดร้ ับการชาระหน้ีครบถว้ น  ผรู้ ับจานาตอ้ งเกบ็ รักษาและสงวนทรัพยส์ ินท่ีจานาใหป้ ลอดภยั ไม่สูญเสีย หรือเสียหายไป  เม่ือผจู้ านาไม่ชาระหน้ี ผรู้ ับจานามีสิทธิบงั คบั จานา โดยตอ้ งบอกกล่าว แก่ผจู้ านา หากผจู้ านายงั ไม่ชาระหน้ีอีก ผรู้ ับจานามีสิทธินาทรัพยส์ ินน้นั ขายออกทอดตลาด โดยตอ้ งแจง้ เวลาและสถานท่ีแก่ผจู้ านา  เมื่อขายทอดตลาดแลว้ ไดเ้ งินสุทธิเท่าใด ผรู้ ับจานามีสิทธิหกั มาใชห้ น้ี ไดจ้ นครบ หากยงั มีเงินเหลือตอ้ งคืนใหแ้ ก่ผจู้ านา

สัญญาจานอง • เป็นสญั ญาซ่ึงผจู้ านองเอาสงั หาริมทรัพย์ หรืออสงั หาริมทรัพยไ์ ปตราไวแ้ ก่ผรู้ ับจานอง โดยไม่ตอ้ งส่งมอบ ทรัพยส์ ินที่จานองน้นั ให้ • การชาระหน้ีจานองไม่วา่ ท้งั หมดหรือบางส่วนกต็ าม ตอ้ งไปจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ มิฉะน้นั จะ นาไปใชอ้ า้ งกบั บุคคลภายนอกไม่ได้ • การบงั คบั จานองทาไดต้ ่อเม่ือลูกหน้ีไม่ชาระหน้ีภายในเวลาอนั สมควร หากยงั ไม่ชาระหน้ี ผรู้ ับจานองตอ้ ง ฟ้องผจู้ านองต่อศาล โดยขอต่อศาลหากยงั ไม่ชาระหน้ี ใหศ้ าลสงั่ ใหท้ รัพยส์ ินจานองน้นั หลุดเป็นกรรมสิทธ์ิ ของผรู้ ับจานอง หรือใหม้ ีการขายทอดตลาด • หลงั จากมีการขายทอดตลาดแลว้ หากไดเ้ งินต่ากวา่ จานวนหน้ีที่คา้ งชาระ ลูกหน้ีไม่ตอ้ งรับผดิ ชอบ ต่อเจา้ หน้ีในเงินท่ียงั ขาดอยู่ ยกเวน้ แต่ตกลงไว้ ในสญั ญา

กฎหมายอาญา กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่เก่ียวกบั ความผดิ และโทษ โดยกาหนดวา่ การกระทาใดบา้ งที่เป็นความผดิ ซ่ึงผกู้ ระทา ความผดิ จะไดร้ ับโทษตามมา กฎหมายอาญามีความมุ่งหมายในการคุม้ ครองผลประโยชน์ของส่วนรวมโดยการควบคุมไม่ใหบ้ ุคคลกระทาอนั ตราย แก่ผอู้ ื่นหรือต่อสงั คม ท้งั น้ีเพ่ือรักษาความสงบเรียบร้อยของสงั คม

ความผดิ และโทษ • ความผดิ และโทษ คือ การกระทาใดที่กฎหมายไดร้ ะบุวา่ เป็นความผดิ ซ่ึงผกู้ ระทาความผดิ ตอ้ งไดร้ ับโทษตามมา • บุคคลจะมีความผดิ และตอ้ งไดร้ ับโทษสาหรับการกระทาอยา่ งใดน้นั ตอ้ งมีบญั ญตั ิไวใ้ นกฎหมายเป็นลายลกั ษณ์ อกั ษรในเวลาขณะท่ีเขากระทา • การบญั ญตั ิกฎหมายยอ้ นหลงั เพ่ือใหก้ ารกระทาของบุคคลซ่ึงไม่เป็นความผดิ และไม่มีโทษในขณะน้นั กลบั กลาย เป็นมีความผดิ และมีโทษข้ึนมา จะกระทาไม่ได้

ความรับผดิ ทางอาญา • บุคคลจะตอ้ งรับผดิ ทางอาญาเม่ือไดก้ ระทาการอนั ละเมิดต่อกฎหมาย และตอ้ งรับโทษที่บญั ญตั ิไวใ้ นกฎหมาย • โทษทางอาญามี ๕ อยา่ ง ไดแ้ ก่ ประหารชีวติ จาคุก กกั ขงั ปรับ และริบทรัพย์ ตามลาดบั โทษหนกั สุดถึงโทษ เบาสุด • บุคคลตอ้ งรับผดิ ทางอาญา ท้งั ที่กระทาโดยเจตนา กระทาโดยไม่เจตนา หรือกระทาโดยประมาท • ผรู้ ่วมกระทาความผดิ หากร่วมมือในการกระทาโดยการเป็นตวั การ จะไดร้ ับโทษเท่ากบั ตวั การอ่ืน หรือถา้ เป็นเพียง ผสู้ นบั สนุนจะไดร้ ับโทษในอตั ราที่ลดลง

ความผดิ ทางอาญา ความผดิ ต่อชีวติ และร่างกาย  ความผดิ ต่อชีวิต คือ ความผดิ ฐานฆ่าผอู้ ่ืนโดยเจตนา  ผดิ ต่อร่างกาย คือ การทาร้ายผอู้ ่ืนจนเป็นเหตุใหเ้ กิด อนั ตรายแก่ร่างกายและจิตใจ  ผกู้ ระทาความผดิ จะไดร้ ับโทษตามกฎหมายบญั ญตั ิ

ความผดิ ต่อทรัพย์สิน  ความผดิ ฐานลกั ทรัพย์ คือ การเอาทรัพยข์ องผอู้ ื่นหรือที่ผอู้ ่ืนเป็นเจา้ ของอยดู่ ว้ ยไปโดยทุจริต  ความผดิ อยา่ งอ่ืนซ่ึงเกี่ยวเน่ืองกบั ความผดิ ฐานลกั ทรัพย์ คือ การลกั ทรัพยโ์ ดยมีเง่ือนไขอยา่ งอื่นเพ่ิมข้ึน ไดแ้ ก่ วิง่ ราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ และปลน้ ทรัพย์  ความผดิ ฐานยกั ยอกทรัพย์ คือ การเบียดบงั ทรัพยข์ องผอู้ ื่นหรือท่ีผอู้ ื่นเป็นเจา้ ของรวมอยดู่ ว้ ย ซ่ึงอยใู่ นความ ครอบครองของผกู้ ระทาผดิ เอง  ความผดิ อ่ืนท่ีเกี่ยวกบั ทรัพยส์ ิน เช่น ความผดิ ฐานฉอ้ โกง ความผดิ ฐานทาใหเ้ สียทรัพย์ ความผดิ ฐานบุกรุก ความผดิ ฐานรับของโจร เป็นตน้

กฎหมายอื่นทคี่ วรรู้ กฎหมายเกย่ี วกบั การรับราชการทหาร  พระราชบัญญตั ริ ับราชการทหาร พุทธศักราช ๒๔๙๗ ได้กาหนดการรับราชการทหารไว้ ดงั นี้ ชายสญั ชาติไทยตอ้ งไปข้ึนบญั ชีทหารกองเกิน เมื่ออายุ ๑๘ ปี เม่ืออายุ ๒๑ ปี ตอ้ งเขา้ รับหมายเรียกและทาการตรวจเลือกเป็นทหารประจาการ หากไดเ้ ขา้ เป็นทหารกองประจาการ ตอ้ งรับ บุคคลท่ีสาเร็จวชิ าทหารตามหลกั สูตร ราชการ ๒ ปี รับราชการทหารนอ้ ยกวา่ ๒ ปี หากฝ่ าฝืน ถูกจาคุกไม่เกิน ๓ เดือน ปรับไม่เกิน บุคคลที่ข้ึนทะเบียนกองประจาการแลว้ ปลดเป็นทหาร ๓๐๐ บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ กองหนุนประเภท ๑ หากรายงานตวั ก่อนเจา้ หนา้ ที่ยกเร่ือง จะถูกลงโทษ ๑ เดือน ปรับไม่เกิน ๑๐๐ บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ

กฎหมายเกย่ี วกบั ภาษี ภาษเี งนิ ได้ • เป็นภาษีที่ไดร้ ับมอบหมายอานาจรัฐเรียกเกบ็ จากบุคคล เพ่ือใชจ้ ่ายในการบริหารประเทศหรือทอ้ งถิ่น การเสีย ภาษีใหแ้ ก่รัฐจึงเป็นหนา้ ท่ีสาคญั ของพลเมือง • ภาษีเงินไดจ้ ดั เกบ็ ทุกปี จากผทู้ ่ีมีเงินไดเ้ กิดข้ึนระหวา่ งปี ภาษี โดยมีสถานะอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ไดแ้ ก่ บุคคล ธรรมดา หา้ งหุน้ ส่วนสามญั หรือคณะบุคคลท่ีมิใช่นิติบุคคล ผถู้ ึงแก่ความตายระหวา่ งปี ภาษี และกองมรดกท่ียงั ไม่ไดแ้ บ่ง • ผมู้ ีเงินไดต้ อ้ งยนื่ แบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 พร้อมท้งั ชาระ ภาษีท่ีสานกั งานสรรพากรพ้ืนที่สาขาธนาคารไทยพาณิชยห์ รือ ธนาคารกรุงไทยแลว้ แต่กรณี และท่ีทาการไปรษณีย์

ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคล  เป็นภาษีอากรประเภทหน่ึงท่ีจดั เกบ็ จากเงินไดข้ องบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนตามประมวล กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ และไม่ไดจ้ ดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์  จดั เกบ็ ทุกปี โดยคานวณอตั ราภาษีจากกาไรสุทธิของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล ร้อยละ ๓๐ และจากกาไรสุทธิ เฉพาะกรณีที่ไดจ้ ากประกอบกิจการวิเทศธนกิจ ร้อยละ ๑๐  ผเู้ สียภาษีตอ้ งยน่ื เสียภาษีท่ีสานกั งานสรรพากรพ้นื ที่สาขาในทอ้ งที่ที่สานกั งานใหญ่ต้งั อยู่ และธนาคารพาณิชยไ์ ทย สาขาในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร ส่วนจงั หวดั อื่นยน่ื ไดท้ ี่ท่ีวา่ การอาเภอทอ้ งท่ีที่ต้งั อยู่

ภาษมี ูลค่าเพมิ่ • เป็นภาษีทางออ้ มที่เรียกเกบ็ จากผซู้ ้ือสินคา้ หรือรับบริการ โดยคานวณเกบ็ จากมูลค่าส่วนท่ีเพิ่มข้ึนในแต่ละ ข้นั ตอนของการผลิตและการจาหน่าย หรือการใหบ้ ริการ • ผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ไดแ้ ก่ ผปู้ ระกอบการท่ีขายสินคา้ หรือบริการท่ีมีรายรับเกินกวา่ ๑.๘ ลา้ นบาทต่อปี โดยคานวณภาษีที่ตอ้ งเสียจากภาษีขายหกั ดว้ ยภาษีซ้ือ • ผเู้ สียภาษีตอ้ งยนื่ แบบแสดงรายการภาษี ภายในวนั ที่ ๑๕ ของเดือนถดั ไป ที่สานกั งานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาใน ทอ้ งท่ีท่ีสถานประกอบการต้งั อยู่

ภาษบี ารุงท้องท่ี  เป็นภาษีท่ีจดั เกบ็ จากเจา้ ของที่ดินตามราคาปานกลางที่ดินและตามบญั ชีอตั ราภาษีบารุงทอ้ งที่  ท่ีดินที่ตอ้ งเสียภาษีบารุงทอ้ งท่ี ไดแ้ ก่ ที่ดินท่ีเป็นของบุคคลหรือคณะบุคคล ท้งั บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ซ่ึงมีกรรมสิทธ์ิในท่ีดิน หรือสิทธิครอบครองอยใู่ นที่ดินที่ไม่เป็นกรรมสิทธ์ิของเอกชน โดยผทู้ ่ีมีหนา้ ท่ีเสียภาษี คือ ผรู้ ับประเมินหรือผทู้ ่ีเป็นเจา้ ของท่ีดิน  ผเู้ สียภาษีตอ้ งยน่ื แบบแสดงรายการ เพ่ือเสียภาษีบารุงทอ้ งท่ีต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ในทอ้ งท่ีซ่ึงทรัพยส์ ินน้นั ต้งั อยู่

ภาษโี รงเรือนและท่ีดนิ  เป็นภาษีท่ีจดั เกบ็ จากโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอยา่ งอ่ืนๆ กบั ที่ดินท่ีใชป้ ระโยชนต์ ่อเน่ืองไปกบั โรงเรือนหรือ สิ่งปลูกสร้างน้นั  ผมู้ ีหนา้ ท่ีเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน ไดแ้ ก่ เจา้ ของทรัพยส์ ิน เจา้ ของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง  ผเู้ สียภาษีตอ้ งยน่ื แบบแสดงรายการ เพื่อเสียภาษีโรงเรือนและท่ีดิน ที่สานกั งานขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ท่ีส่ิงปลูกสร้างน้นั ต้งั อยู่

กฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภค พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๒ แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ ๒) พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๑ มีการบญั ญตั ิ สิทธิของผบู้ ริโภคท่ีจะไดร้ ับการคุม้ ครองตามกฎหมายไว้ ๕ ประการ ไดแ้ ก่  สิทธิท่ีจะไดร้ ับข่าวสาร รวมท้งั คาพรรณนาคุณภาพที่ถูกตอ้ งและเพยี งพอเกี่ยวกบั สินคา้ และบริการ  สิทธิในการเลือกหาสินคา้ หรือบริการโดยความสมคั รใจปราศจากการชกั จูง  สิทธิที่จะไดร้ ับสินคา้ หรือบริการท่ีปลอดภยั มีสภาพและคุณภาพไดม้ าตรฐาน เหมาะแก่การใช้  สิทธิที่จะไดร้ ับความเป็นธรรมในการทาสญั ญา โดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ  สิทธิที่จะไดร้ ับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย เม่ือมีการละเมิดสิทธิผบู้ ริโภค

กฎหมายระหว่างประเทศ ความสาคญั ของรัฐธรรมนูญ  เป็นกฎหมายที่มีความมุ่งหมายสาคญั คือ การเคารพศกั ด์ิศรี ของความเป็นมนุษย์ โดยพฒั นาการของกฎหมายน้ี มีผลทาให้ เกิดความร่วมมือระหวา่ งภาครัฐกบั ภาคเอกชนของนานา ประเทศ ในการสอดส่องดูแลเพอ่ื ใหม้ ีการปฏิบตั ิตามกฎหมาย  กฎหมายของไทยท่ีสอดคลอ้ งกบั กฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ ง ประเทศ เช่น พระราชบญั ญตั ิอาชญากรสงคราม พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ ประมวลกฎหมายอาญาทหาร มาตรา ๔๘ เป็นตน้ พระราชบญั ญตั ิยกเลิกพระราชบญั ญตั ิอาชญากร สงคราม พทุ ธศกั ราช 2488 พ.ศ. 2510


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook