Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือประสานงาน โรงเรียนอุดมปัญญาจารย์ 2565

คู่มือประสานงาน โรงเรียนอุดมปัญญาจารย์ 2565

Published by ploypailin atikhamanon, 2021-12-20 08:44:35

Description: คู่มือประสานงาน โรงเรียนอุดมปัญญาจารย์ 2565

Search

Read the Text Version

ประวตั ิผูกอต้ังโรงเรยี นอุดมปญ ญาจารย อาจารยสวาท ทองสม อาจารยสวาท ทองสม เกิดวันที่ 27 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2460 เปนบุตรนายก้ิม ทองสม แพทย ประจําตําบลขนอม กับนางแข ทองสม ไดสมรสกับ นางถนอม กงอุบล ซ่ึงเปนบุตรนายเพิ่ม กงอุบล กํานัน ตําบลขนอม กับนางเองเที้ยน กงอุบล เมื่อป พ.ศ.2482 อยูบานเลขท่ี 26 หมูท่ี 7 ตําบลขนอม อําเภอขนอม จงั หวัดนครศรธี รรมราช ดานการศึกษา ในวัยเด็ก อาจารยส วาท ทองสม ไปอาศยั อยูทวี่ ัดเสาธงทอง อําเภอปากพนงั จงั หวัด นครศรีธรรมราช เปนศิษยพระอาจารยจันทร เจาอาวาสวัดเสาธงทองเพ่ือศึกษาความรูเบื้องตน ตอมาไดเขา เรียนในโรงเรียนปากพนัง จนเรียนจบช้ันมัธยมปท่ี 4 (จบชั้นสูงสุด) เขาเรียนตอช้ันมัธยมปที่ 5 และปท่ี 6 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ พักอาศัยอยูวัดเสาธงทอง อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช อยูกับพระครูปลัดสง ธมฺมโชโต เจาอาวาสวัดเสาธงทอง ซึ่งเปนชาวขนอม ผลการเรียนช้ันมัธยมปท่ี 6 สอบไดคะแนนยอดเย่ียมวิชา ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร ตอมาเมื่อปฏิบัติหนาที่เปนครู โรงเรียนอุดมปญญาจารย ไดศึกษาตอดวยตนเองดานวิชาการศึกษา สอบไดวฒุ ิครู พ.ป. และ พ.ม. อาจารยส วาท ทองสม เปน บคุ คลที่ใฝศึกษาเรียนรูอยูตลอดชีวติ จนผอู ยใู กลชิด และสนิทสนมพูดเปน คาํ เดียวกนั วา “เหน็ ครูสวาท ทองสม แลวตองเห็นหนังสืออยใู นมอื ” ดานการทํางาน อาจารยสวาท ทองสม เมื่อเรียนจบชั้นมัธยมปท่ี 6 ดวยความรักและคิดถึงบานเกดิ และญาติพี่นอง คือก่ิงอําเภอ ดังปรากฏวาก่ิงอําเภอขนอมขณะนั้นเปนเมืองปด หางไกลความเจริญ เด็กๆ เยาวชนไมมีโอกาสไดรับการศึกษา จึงตัดสินใจเปนครูประชาบาล ทําการสอนคร้ังแรกที่โรงเรียนวัดขรัวชวย ตําบลเสาเภา อําเภอสิชล เมื่อป พ.ศ.2480 ตอมายายมาเปนครูโรงเรียนวดั กระดังงา กิ่งอําเภอขนอม ไดรับ การแตง ตงั้ ใหเ ปนครใู หญโ รงเรียนวดั กระดงั งา ป พ.ศ.2481 ภายหลงั ไดยา ยมาเปน ครใู หญโรงเรียนบานเปรต็ ตอมาเม่ือป พ.ศ.2484 อาจารยสวาท ทองสม ตัดสินใจลาออกจากราชการ ไปจัดต้ังโรงเรียนราษฏร คอื “โรงเรยี นอดุ มปญญาจารย” โดยดาํ รงตําแหนงเจาของ ผจู ัดการ และครใู หญ ซ่งึ โรงเรยี นนีย้ ังเปนโรงเรียน เอกชนทีด่ าํ เนนิ กจิ การอยูค ูชาวขนอมจนถึงปจ จุบัน นับเวลารว ม 80 ป ก่ิงอําเภอขนอมในขณะน้ัน เปนก่ิงอําเภอที่มีเพียง 2 ตําบล มีประชาชนจํานวนนอย มีความกันดาร มาก เดนิ ทางติดตอกับอําเภอภายนอกไดเพียงทางเรือและทางเทา เทาน้ัน ทางเรอื ใชระยะเวลา 2 วัน สวนทาง เทาใชระยะเวลาถึง 3 วัน สถานะของประชาชนยากจน แตดวยความยึดมั่นในอุดมการณของอาจารยสวาท ทองสม มุงมั่นพัฒนาบานเกิด คือตองพัฒนาคนเปนอันดับแรก จึงตัดสินใจเปดโรงเรียนราษฏร ทําการเรียน การสอนเด็กๆ เยาวชน ตั้งแต มธั ยมปท ี่ 1 ถึง มธั ยมปท ี่ 6 โดยไดร ับการอุปการะและท่ีปรึกษาสําคัญ คอื พระ ครอู ุดมปญ ญาจารย เจา อาวาสวัดกระดังงา และเพือ่ นรวมงานท่ียึดอุดมการณรวมกัน ยึดหลกั วา ตอ งใหเ ดก็ ขน อมมีโอกาสไดรับการศึกษา จะม่ังมีหรือยากจน ทุกคนตองมีโอกาสศึกษา จึงชวยกันตามหาเด็กใหไดมาเรียน โดยไมตองคํานึงวาจะจายคาเลาเรียนหรือไม จึงทําใหเด็กขนอมไดรับการศึกษาระดับมัธยมศึกษาในสมัยนั้น

และไดศึกษาตอไปจนสําเร็จ ไดประกอบอาชีพหลากหลาย สรางฐานะความม่ันคงใหแกครอบครัวและวงศ ตระกลู เปน จาํ นวนมากในโอกาสตอมา งานดานสังคม การเมือง การปกครอง และอาชีพ อาจารยสวาท ทองสม เปนบุคคลสําคัญของชาว ขนอม มีปฏิสัมพันธที่ดีกับทั้งศิษย เด็ก ผูใหญ หนวยงานราชการ และองคกรเอกชน นอกจากสรางโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษา ต้ังแตป พ.ศ.2484 แลว ทานยังไดรับความไวว างใจใหทําหนาที่ทั้งดานสงั คม การเมือง การ ปกครอง และการประกอบอาชพี ของประชาชนชาวขนอม ดังเชน • ไดร บั แตง ต้ังเปน ครใู หญ โรงเรียนประชาบาลวดั กระดังงา เม่ืออายเุ พียง 21 ป • กอตั้งโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนอุดมปญญาจารย ดํารงตําแหนงเจาของ ผูจัดการ และครูใหญ ดว ยอายเุ พียง 24 ป • ไดรับเลือกเปนผูใหญบาน หมูที่ 7 ตําบลขนอม อําเภอขนอม จนเกษียณอายุ และปกครอง ลูกบา นดวยความสงบเรยี บรอยเสมอมา • ไดรับเลือกเปนสมาชิกสภาจังหวัดนครศรีธรรมราช 2 สมัย ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย สุจรติ เพอื่ ประโยชนข องประชาชนในทองถิ่น • ดํารงตําแหนงประธานกลุมเกษตรกรชาวสวนมะพราวตําบลขนอม ปฏิบัติงานยึดประโยชน ของสมาชิกและประชาชนสว นรวม เปนตน นอกจากน้ันงานอดิเรกท่ีเปนอาชีพเสริมของทาน คือ ทําสวนมะพราว สวนยางพารา และการคา มะพราวสงไปขายในกรุงเทพฯ งานเสริมเหลานข้ี องทานไดน าํ รายไดม าเลี้ยงครอบครวั สงนอ งเลา เรียนหนงั สือ จนจบมหาวิทยาลัย และยังนําเงินบางสวนสํารองจายใหแกเพื่อนครูรวมอุดมการณที่ทําการสอนเด็กอยูใน โรงเรียน เน่อื งจากคา เลาเรียนไดรบั จากเด็กไมสม่ําเสมอ แคหวงั ใหเดก็ ทุกคนไดเลาเรียนเปนสาํ คัญ ซึง่ นอ ยคน นกั ทจ่ี ะยอมทาํ เพอื่ นรวมงานที่รวมกอตั้งโรงเรยี นอุดมปญญาจารย ในสมัยนั้นกลา วกนั วา อาจารยสวาท ทอง สม ทานเปนคนมีความโอบออมอารี ตั้งใจทํางานอยางจริงจังเพื่อพัฒนาบานเกิด ดวยความซ่ือสัตยสุจริต เปน ธรรม เสมอภาค ประกอบดวยเหตผุ ลและความรอบคอบ อีกท้ังเปนผรู ู ผศู ึกษาอยตู ลอดชวี ิต จนมหี ลายคนพูด วา “หนงั สือคกู บั ครูสวาท หนงั สือสรางคน และคนพัฒนาไดท กุ อยาง” เปนท่ีประจักษชัดวา ชีวิตและการทํางานของอาจารยสวาท ทองสม สรางแรงบันดาลใจ และเปน แบบอยางแกลูกหลาน อนชุ นรุน หลงั ทานเปน บุคคลสาํ คัญคนหน่ึงของอําเภอขนอม ที่ควรแกก ารไดรับยกยอง เชดิ ชู นับถอื และระลกึ ถงึ ดวยเหตุนี้ บรรดาศิษยานุศิษย จึงไดรวมกันจัดสรางรูปเหมือนของทาน ประดิษฐานไว ณ โรงเรียน อุดมปญญาจารย อาํ เภอขนอม จังหวดั นครศรธี รรมราช เพ่อื เปนการแสดงความกตัญูกตเวทิตา และราํ ลึกถึง คุณงามความดีของทาน ผูเปนแบบอยางของความมุงม่ันในการพัฒนาตนเอง อันนําไปสูการพัฒนาเยาวชน ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ สบื ไป




















































































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook