Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR โรงเรียนบ้านสองพี่น้อง

SAR โรงเรียนบ้านสองพี่น้อง

Published by Suphakit Somduanglert, 2019-04-11 08:21:14

Description: SAR โรงเรียนบ้านสองพี่น้อง

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจาํ ปการศกึ ษา ๒๕๖๑ โรงเรียนบา นสองพีน่ อง สาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต ๔ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปการศึกษา 2561 .............................................................................................. โรงเรียนบานสองพี่นอง ไดดําเนินการสงเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการประกันคุณภาพของสถานศึกษาตามตามกฎกระทรวงวาดวยการประกันคุณภาพการศึกษา 2561 และดําเนินการประเมินผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบานสองพี่นอง และจัดทํา รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปก ารศึกษา 2561 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบานสองพี่นอง เม่ือวันท่ี 29 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2562 ไดพิจารณาใหความเห็นชอบรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปการศึกษา 2561 และให โรงเรยี นไดใ ชรายงานตอ สาํ นักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 และเผยแพรต อ สาธารณชนได ลงชือ่ ( นายลขิ ิต บรรพตพัฒนา ) ประธานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน โรงเรียนบา นสองพี่นอง ลงช่ือ ( นายอคั รพล พลวัฒน ณ นา น ) ผูอํานวยการโรงเรียนบา นสองพ่ีนอง วันที่ 29 เดือน มนี าคม พ.ศ. 2562

ก บทสรุปสําหรับผบู รหิ าร ประวตั ิ ท่ตี ้งั โรงเรียนบา นสองพีน่ อง เม่อื วันท่ี 15 มกราคม 2536 นายคมสัน คงทน ผอปจ. เชยี งราย พรอมดวยนางสาวสายสวาท วิชยั หน ปอ.เชยี งของ และคณะเดินทางมาสาํ รวจสถานที่ (โดยประสานงานของ นายสมศักดิ์ ตยิ ะธะ ครูใหญโ รงเรยี นบา น หาดบา ยดอนทวี่ ิทยา) วนั ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.2536 ไดท ําพิธีเปด รบั อนุมัติตั้งชอื่ วา โรงเรียนบา นสองพน่ี อง มี นกั เรยี นจํานวน 88 คน นายสมบัติ ฤทธเ์ิ รอื งเดช อ.1 ระดับ 5 รักษาการในตาํ แหนงครูใหญ กรมปาไมอนุญาตให ใชพ้นื ท่ปี าสงวนจาํ นวน 20 ไรเ ปนเวลา 30 ป วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ.2537 นายนิวัติ รอ ยแกว ไดย า ยมาดํารงตาํ แหนงครูใหญ พ.ศ.2539 ไดสรา ง อาคารเรียน 3 หอ งเรียนพรอมครุภณั ฑมูลคา 199,500 บาท วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2539 ไดรบั งบประมาณกอสรา งอาคารเรยี นแบบ สปช.105/29 ราคา 1,800,000 บาท และสว มแบบ สปช.601/29 ราคา 87,500 บาท พ.ศ.2552 นักศกึ ษาจากมหาวิทยาลัยรามคาํ แหงไดมาสราง โรงอาหารช่วั คราว จํานวน 1 หลงั งบประมาณ 50,000 บาท วนั ท่ี 12 ตลุ าคม พ.ศ.2544 นายเสริฐ บุญวง ไดยา ยมาดํารงตาํ แหนง อาจารยใ หญ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2546 คุณสวง คุณานุคุณ พรอมคณะศิษยเ กาโรงเรียนวัดธาตทุ อง ไดสรา งหองนา้ํ หอ งสวม จาํ นวน 1 หลัง งบประมาณ 62,300 บาท วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 นางวนดิ า จรสั วชิ ญ ไดย า ยมาดาํ รงตําแหนงผูอํานวยการ วนั ท่ี 29 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ชมรมอาสาพัฒนาชนบทมหาวิทยาลยั รงั สติ ไดก อสรา งอาคารเฉลิมพระเกยี รติ ฉลองศิรริ าช สมบัติ 60 ป งบประมาณ 150,000 บาท วันที่ 28 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2549 คณะสิงคโปรค ลบั แหง ประเทศไทยไดก อสรา งอาคารโรงอาหาร อาคาร Singapor Club of Thailand งบประมาณ 100,010 บาท พ.ศ. 2549 องคการบริหารสว นทอ งถิ่นตาํ บลริมโขงไดปรับดินภูเขาปอ งกันดินถลม หลงอาคารเรียนดว ย งบประมาณ 183,000 บาท และ ทางราชการไดกอสรางลานกฬี าเอนกประสงค 117,000 บาท เมษายน พ.ศ. 2550 คณะสิงคโปรค ลบั แหง ประเทศไทย ไดปรับภูเขาหลงั โรงเรยี นใหหา งจากอาคารเรียน เปนระยะ 6 เมตร ดวยงบประมาณ 200,000 บาท และกลุมสาระหรรษาสมทบปรับดนิ เพิม่ เตมิ งบประมาณ 20,000 บาท พ.ศ. 2551 ทางราชการสนับสนนุ เงนิ เพ่มิ เติมเพ่ือปรบั ดนิ และทําทางระบายนาํ้ ดวยงบประมาณ 187,000 บาท วันที่ 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2551 คุณอลงกต สกุลพนั ธ และคณะปนนาํ้ ใจชว ยเพ่ือนไทยในชนบทไดสราง อาคารหองสุขา 6 ท่ีน่ัง ดวยงบประมาณ 119,000 บาท

ข วนั ท่ี 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2551 คณุ คงประเสริฐ เลิศวิวัฒนิ กลุ และครอบครวั ไดสรา งถนนลาดชนั ทางขน้ึ โรงเรยี น งบประมาณ 198,470 บาท วันท่ี 25 เมษายน พ.ศ.2552 คณุ สมเกียรติ พิสุทธิพงศ และคณะดานศุลกากรอําเภอเชียงของสรา ง ระบบประปาถาวรใหโ รงเรียนเปนเงนิ 30,000 บาท ปก ารศกึ ษา 2552 ไดรับการสนบั สนนุ งบประมาณอาคารหองสขุ า สปช.603/29 จาก สพท.ชร.4 เปนเงนิ 194,303.92 บาท และไดรับอนุมตั ใิ หใชเ งนิ คงเหลือ จาการงดตอกเสาเข็มใหป รบั ปรงุ พื้นอาคารเรยี น เปนเงนิ 55,806 บาท วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2552 บรษิ ัท โอโตซงั ไดกอสรางอาคารหอ งสมุดพรอมหนงั สือ และตดิ ตั้ง กระแสไฟฟา ดว ย งบประมาณ 364,268 บาท วนั ท่ี 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2552 บริษัท แคนนอน ไดกอสรางกงั หันลมเพ่ือพลังสีขาวผลิตไฟฟา จาก กระแสลมสูหองสมดุ ดวย งบประมาณ 300,000 บาท และเดือน สิงหาคม 2553 สนบั สนุนการปลูกพชื ระบบ ไฮโดรโรนิก งบประมาณ 100,000 บาท วนั ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2553 นายกาญจน ตน้ั วฒั นา ไดย า ยมาดํารงตาํ แหนงผอู ํานวยการ วันท่ี 13 สิงหาคม พ.ศ.2558 นางสาวณฐั ชา สคุ นธา ไดยายมาดํารงตําแหนงผอู ํานวยการ วนั ท่ี 3 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 นายสมัย ทะจันทร ไดร ักษาราชการแทนตาํ แหนงผูอาํ นวยการ วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.2560 นางสายชม ไชยศรี ไดร ักษาการในตาํ แหนงผูอํานวยการ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2561 นายสมัย ทะจนั ทร ไดร ักษาการในตาํ แหนงผูอํานวยการ วนั ที่ 1 มนี าคม พ.ศ.2562 นายอัครพล พลวัฒน ณ นาน ไดมาดาํ รงตําแหนงผูอาํ นวยการ สภาพความเปน อยู สภาพบา นเรอื น เปน เรือนไมไผ ไมย กพน้ื หลังคามงุ จาก มีการกอไฟในบา นเพ่ือทาํ อาหารและใหความ อบอุน ภายในตวั บานจะประกอบดวยเตาไฟ หองนอนท่ที าํ ดวยฝาไมไ ผก นั แครน อนทท่ี ําดว ยไมไผ และอปุ กรณ การเกษตรของใชตางๆ จะถูกเกบ็ ไวใ นบา นทงั้ หมด มีการใชช ีวติ แบบเรยี บงา ยไมมเี ครื่องอํานวยความสะดวก ปลกู บา นตดิ กนั สภาพบา นเรือนไมเปนระเบียบ ไมมีรัว้ กัน ไมมีสวนครัว อาหารจะไดจ ากการหาของปาและบางสวน ปลูกไวทีไ่ ร สภาพครอบครัว จะเปนครอบครวั ใหญ บางครอบครัวมสี มาชกิ 5 – 10 คน เดก็ ๆไมไดร บั การดูแลเอาใจ ใสเทาที่ควร โดยพอแมจะไปทําไร ปลอยใหเด็กๆอยดู วยกัน โดยใหพ ่ชี ว ยเลย้ี งนอง ซ่ึงถาหากเขา ไปศึกษาจะพบวา มีเดก็ อายุ 4 – 6 ขวบกําลงั เล้ียงนอ งอายุ 1 – 3 ขวบ สว น พี่ทต่ี ัวโตโต จะชวยพอแมท ําไร การสนบั สนุนดา น การศกึ ษา ผปู กครองไมใหการสนบั สนนุ มากนัก โดยจะใหเดก็ นักเรียนเลี้ยงนองอยูกบั บา นและใหไปชวยทํางานที่ไร อยเู สมอ ซ่ึงทาํ ใหเ กดิ ปญ หา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนต่าํ

ค การประกอบอาชพี ประชากรทงั้ หมดประกอบอาชีพดา นเกษตรกรรม มีรายไดต ํ่า ฐานะคอนขา งยากจน ชาวไทยภูเขาเผา ลาหู อาขา และไทยลื้อ เปน เผา ทมี่ ีความขยนั ขนั แขง็ มีความอดทนใน การทาํ มาหากนิ โดยจะ เห็นไดจากการทที่ ําการเกษตรซ่ึงทาํ บนทส่ี ูง บนเขาลาดชัด ไมมี การใชเครือ่ งทนุ แรงในการทาํ ไรท ําสวน เพราะวา ไมสามารถนาํ เครื่องทนุ แรงเขาไปยงั พื้นท่ี ทท่ี ําการเกษตรได เนอื่ งจากพนื้ ท่ีทที่ ําการเกษตรสวนใหญอยูบนท่สี งู ลาดชนั การทํางานทุกอยาง ใชแรงงานคนทง้ั หมด เชน การเตรยี มดนิ กใ็ ชจอบ การขนผลผลติ จากไรม ายงั หมูบ านกใ็ ชแรงงานคนเพราะฉะนนั้ ชาวไทยภูเขาเผา มง จึงตองการแรงงานมาก จึงทําใหไมม ีการคุมกําเนิด มีอตั รา การเพิ่มของประชากรอยูในอัตราท่สี ูง ขนาดที่ต้ัง อาณาเขต ทศิ เหนอื ตดิ กับ ถนนเช่อื มระหวา งหวยตุ – หวยสา (หวยสา- ออกปากทางไป หาดบา ย) ทิศใต ตดิ กบั ลําหว ย ทิศตะวนั ออก ตดิ กบั ถนนเชอื่ มระหวา ง หวยตุ – หว ยสา ทิศตะวันตก ตดิ กับ ภูเขา โรงเรยี นบานสองพี่นอง ไดด ําเนนิ งานดานการสรา งความเขม แข็งของระบบประกันคณุ ภาพภายใน อยาง ตอ เนื่องจนถงึ ปจ จุบนั โดยไดดําเนินงานตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ดงั น้ี จุดเดน เด็กมพี ัฒนาการดา นรา งกาย พัฒนาการดานอารมณและจิตใจ มีพัฒนาการดานสติปญญาสมวัย สามารถ ใชภาษาในการสื่อสารไดดี มีความสามารถในการอาน การเขียน การคิดคํานวณ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปน ไปตามเปา หมายของหลกั สตู รสถานศึกษา สามารถอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น ยอมรับและอยูรวมกันได อยา งมคี วามสขุ มคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยีอยางสรา งสรรค มีเจตคติที่ดีตออาชีพสุจริต ปองกันตนเองจาก สิ่งเสพติดและมีความพรอมในการศึกษาตอระดับที่สูงขึ้น ผูเรียนมีความรักชาติ ศาสน กษัตริย และมีความ ภาคภมู ิใจในวัฒนธรรมไทย วฒั นธรรมทองถิ่น มกี ารเขารวมกิจกรรมประเพณีของทองถ่ินอยูเสมอ ผูเรียนมีจุดเดน ในดา นจติ อาสาเปน ทยี่ อมรับของชุมชนและสังคม ครูมีการวางแผนและจัดทําแผนการเรียนรูที่ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัด มีการวิเคราะหผูเรียนและ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความสามารถของผูเรียน เนนกระบวนการคิด การ แสดงออกและการสื่อสาร สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมใหกับผูเรียนเพ่ือสรางผูเรียนเปนคนเกง ดี มีสุข สงเสริม การเรยี นรูโดยใชเทคโนโลยีและแหลง เรยี นรูท่หี ลากหลาย มกี ารตรวจสอบประเมินผลผเู รียนอยางเปนระบบและให ขอมูลยอนกลับแกผูเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรูตนเอง นอกจากนั้นครูยังนําผลการประเมินผูเรียนมาพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนรูในปการศึกษาตอไป มีการจัดทําวิจัยในช้ันเรียน มีการแลกเปล่ียนเรียนรูทางวิชาชีพอยู เสมอ เขา รับการอบรมเพือ่ พัฒนาวิชาชีพของตนเอง โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอยางเปนระบบนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของใน หลวงรัชกาลท่ี 9 มาประยุกตใชโดย ผูบริหารสถานศึกษา คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาไดรวมกันวิเคราะห วางแผน กําหนดเปาหมาย วสิ ัยทัศน พนั ธกิจ สอดคลองกับบริบทสถานศึกษา ความตองการของผูปกครอง ชุมชน

ง นโยบายของรฐั บาล มีการจัดทําโครงการนิเทศภายในสถานศึกษา มีการแตงตั้งคณะกรรมการนิเทศจากครูทุกชวง ช้นั จดั ทําคมู ือการนิเทศ ปฏิทนิ การนเิ ทศ เครอ่ื งมือการนเิ ทศ โดยมกี ารนเิ ทศแบบกัลยาณมิตรช้ันเรียน เดือนละ 1 คร้ังนําผลการนิเทศมาปรับปรุง พัฒนาการบริหาร สงเสริมใหครูจัดทําผลงานทางวิชาการ และพัฒนาหาความรู อยางเปนระบบเพิ่มเติมตลอดเวลารอยละ 100 และนําความรูท่ีไดรับพัฒนาตนเอง นักเรียนและโรงเรียน นอกจากนัน้ สถานศกึ ษาไดจัดทําโครงการพัฒนาอาคารสถานที่และสิง่ แวดลอมโดยจัดสภาพแวดลอม ทางกายภาพ ท้ังภายใน ภายนอกและสภาพแวดลอมทางสังคมใหสะอาดนาอยูมีการจัดสวนหยอม น้ําตก ลานธรรม จัดทําปาย หองเรียนท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บอกทิศทางอาคารเรียนตางๆ และเนนความปลอดภัยของผูเรียนเปน สําคัญ มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาบริหารจัดการเพ่ือใหเกิดความสะดวกรวดเร็วในการใหบริการ มีการจัด ขอมลู สารสนเทศใหเ ปน ระบบ จดั ใหม เี ครอื่ งคอมพิวเตอร ระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูง สําหรับใชในกิจกรรมการ เรียนการสอนทุกหองเรยี นเพอ่ื ใหเปน Smart Classroom ใชประโยชนคมุ คา จดุ ควรพฒั นา ผเู รยี นยงั มคี วามสามารถดานการคิดไมหลากหลาย การสื่อสารภาษาอังกฤษ ผลการทดสอบระดับชาติยัง ตํ่ากวาคาเฉลี่ยของเขตพ้ืนที่ การสรางชุมชนแหงการเรียนรูใหเขมแข็งและตอเนื่องและพัฒนาผูเรียนดวยการจัด กจิ กรรมการเรยี นรทู ี่หลากหลาย นวัตกรรมหรือตวั อยา งการปฏบิ ัตทิ ีด่ ี (Best Practice) ของสถานศึกษา การเรียนรูโครงงานคุณธรรมจิตอาสา โรงเรียนไดจัดการเรียนรูที่บูรณาการเขากับกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ดานกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน สงเสริมใหนักเรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็ม ศักยภาพ โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล และพัฒนาการทางสมองเนนใหความสําคัญท้ังความรู คุณธรรม จริยธรรม จัดกิจกรรมใหผูเรียนคิดสรางสรรคและบําเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอสังคม ชุมชน และ ทองถ่ินตามความสนใจ เพ่ือแสดงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสังคม นอมนําหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี งสูการจัดการเรียนรู คือ การนําหลักคิดตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนวิธีคิดกอน ตัดสินใจกระทาํ การใด ๆ ในทุกเรือ่ ง พอเพียงอยา งที่เราเปน ผานโครงงานคณุ ธรรม ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 1. มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย 1.1 สรุปผลการประเมินในภาพรวม ( ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลิศ ) 1.2 ผลการประเมินรายมาตรฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ( ระดับคณุ ภาพ : ดี ) มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ( ระดับคุณภาพ : ดีเลศิ ) มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท เี่ นนเด็กเปน สาํ คญั ( ระดบั คุณภาพ : ดีเลิศ ) 2. มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 2.1 สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวม ( ระดับคุณภาพ : ดี ) 2.2 ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียน ( ระดบั คณุ ภาพ : ดี ) มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ( ระดบั คณุ ภาพ : ดี ) มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน ผูเรยี นเปนสําคัญ ( ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ )

จ คาํ นาํ รายงานการประเมนิ ตนเองตนเองของสถานศึกษา เปน การสรุปผลการจัดการศกึ ษาท่ีสะทอนผลการพัฒนาการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซ่ึงเปนผลสําเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาท่ีสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาเพื่อ การประกันคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา ไดแ ก มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท ี่เนน เดก็ เปนสาํ คัญ มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน ผเู รียนเปน สําคัญ เพอ่ื นาํ เสนอรายงานผลการจดั การศึกษาในรอบปท่ีผานมาเพื่อใหทราบผลผลิตและผลลัพธที่เกิดขึ้นตาม แผนและตามระบบประกันคุณภาพของสถานศึกษา เพ่ือวิเคราะหจุดเดน จุดท่ีควรพัฒนา และระบุแนวทางการ พัฒนาสถานศึกษาในอนาคต โดยใหสถานศึกษาไดใชประโยชนในการปรับปรุงแผนและระบบประเมินคุณภาพ ภายในและนําเสนอผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตอหนวยงาน ตนสงั กัด และสาธารณชนไดรับทราบและรองรับ การประกันคุณภาพภายนอกตอ ไป โรงเรียนบานสองพ่ีนองขอขอบคุณ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผูปกครอง ชุมชน คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียนบานสองพี่นองทุกคน ท่ีใหความรวมมือ และชวยกันพัฒนาคุณภาพ การจดั การศึกษาของโรงเรียนบานสองพ่ีนองใหบ รรลเุ ปาหมายตามที่กําหนดไวเปนอยา งดี นายอคั รพล พลวัฒน ณ นา น ผูอ าํ นวยการโรงเรียนบา นสองพีน่ อง

ฉ หนา ก สารบญั จ ฉ เร่อื ง 1 บทสรปุ สําหรบั ผูบ รหิ าร 11 คาํ นํา 11 สารบัญ 11 ขอมลู พ้ืนฐานของสถานศึกษา 12 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 14 มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย 16 16 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก 17 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 18 มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท ่เี นนเด็กเปน สําคัญ มาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นนผูเรียนเปนสาํ คญั

1 ขอ มูลพนื้ ฐานของสถานศกึ ษา 1. ขอมูลทว่ั ไป โรงเรียนบานสองพ่นี อ ง ทต่ี ้งั เลขที่ 61 หมูท่ี 5 ตาํ บลริมโขง อําเภอเชียงของ จงั หวดั เชยี งราย สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 4 เปดสอนระดบั ช้ัน อนบุ าล 2 - ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 2. ขอมลู บคุ ลากรของสถานศกึ ษา 2.1. ผูอ ํานวยการโรงเรียน นายอคั รพล พลวฒั น ณ นา น โทรศัพท 097 - 9671563 วฒุ กิ ารศึกษาสูงสดุ ปรญิ ญาตรี ดํารงตาํ แหนง ท่โี รงเรยี นน้ตี ั้งแต วนั ท่ี 1 มนี าคม 2562 จนถงึ ปจจุบัน เปน เวลา 1 เดือน 2.2. จํานวนบคุ ลากร บคุ ลากร ผูบ ริหาร ครูผูสอน เจา หนา ที่อื่น ปการศึกษา 2561 1 9 3 2.3. วฒุ กิ ารศกึ ษาสงู สุดของบุคลากร จํานวนบคุ ลากร ตาํ่ กวา ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก รวม ปก ารศึกษา 2561 ปริญญาตรี 9 3 - 13 1 2.4. สาขาวิชาทีจ่ บการศึกษาและภาระงานสอน ที่ ชอื่ ครผู ูสอน สาขาวชิ าท่จี บ สอนใน สอนในกลมุ สาระ การประถมศึกษา ระดับช้นั การเรยี นรู 1 นางสายชม ไชยศรี ป.1-6 2 นายสมัย ทะจนั ทร ประถมศกึ ษา ป.1-6 ภาษาตา งประเทศ 3 นายวรี ะยุทธ ชัยเมืองชืน่ ฟสกิ ส ป.1-6 สงั คมศึกษาฯ 4 นายณัฐชัย มังคลาด ป.1-6 วิทยาศาสตร บรหิ ารธรุ กิจ ป.1-6 สขุ ศึกษาฯ 5 นายวีรชนั นันทะชัย อนบุ าล 3 การงานอาชพี ฯ 6 นางสาวนศิ ารตั น อตุ สาห ประถมศึกษา ป.1-6 ศลิ ปะ 7 นายศุภกจิ สมดวงเลิศ การศกึ ษาปฐมวยั ป.1-6 - 8 นางสาวรัญชนา เขอ่ื นขนั ธ อนุบาล 2 คณิตศาสตร 9 นางสาวสปุ รยี  ฝป ากเพราะ คณิตศาสตร ภาษาไทย ภาษาไทย - การศึกษาปฐมวยั

2 3. ขอ มูลนักเรยี น จาํ นวนนกั เรียนโรงเรียนบา นสองพี่นอง ปการศกึ ษา 2561 รวม 130 คน ชน้ั จาํ นวนหอง จาํ นวนนักเรียนชาย จํานวนนักเรียนหญงิ รวม อนุบาลปท่ี 2 1 10 7 17 อนบุ าลปท่ี 3 1 11 2 13 ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 1 12 12 24 ประถมศึกษาปท่ี 2 1 6 12 18 ประถมศกึ ษาปท ี่ 3 1 7 10 17 ประถมศึกษาปท่ี 4 1 8 8 16 ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 1 4 9 13 ประถมศึกษาปท่ี 6 1 4 8 12 8 62 68 130 รวม 4. ขอ มูลผลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษา 4.1. ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเรียนระดับชาติ (National Test : NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 ปการศกึ ษา 2561 ผลการประเมิน คะแนนเฉลย่ี รอยละ ระดบั โรงเรียน ดานภาษา ดา นคํานวณ ดา นเหตผุ ล เฉลยี่ ทัง้ 3 ดาน ระดับเขตพน้ื ท่ี ระดบั ประเทศ 4.2. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O - NET) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน (O - NET) ประจาํ ปการศึกษา 2561 ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 ระดบั /รายวชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาองั กฤษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น 52.55 30.45 35.82 28.18 คะแนนเฉลยี่ ระดบั จังหวัด 55.53 38.14 40.14 38.58 คะแนนเฉล่ยี สงั กดั สพฐ. 54.61 35.65 38.83 35.47 คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ 55.90 37.50 39.93 39.24

3 4.3. ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 1 - 6 กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ปก ารศึกษา 2561 ระดับชนั้ จํานวน 0 ผลการเรยี น (จาํ นวนคน) 3.5 4 นักเรยี น 1 1.5 2 2.5 3 2 5 3 6 ป.1 24 15362 3 2 ป.2 18 1 332 1 4 ป.3 17 15 42 3 4 ป.4 16 13313 6 ป.5 13 2121 4 ป.6 12 1 32 5 1 2. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 1 - 6 1 กลุม สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร ปการศกึ ษา 2561 ระดับชัน้ จาํ นวน ผลการเรยี น (จํานวนคน) ป.1 ป.2 นักเรยี น 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 ป.3 2 ป.4 24 4 7 6 2 ป.5 18 3 1 3 5 4 3 ป.6 17 4 2 3 4 1 2 16 5 5 3 1 13 4 1 3 4 2 12 2 2 2 3

4 3. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 1 - 6 กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ปการศึกษา 2561 ระดับชัน้ จาํ นวน ผลการเรยี น (จาํ นวนคน) ป.1 ป.2 นักเรยี น 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ป.3 3 6 ป.4 24 3 7 5 1 2 ป.5 18 2 2 4 7 2 ป.6 17 7 5 2 3 1 3 16 1 4 7 2 3 ระดบั ชัน้ 13 1 4 1 1 3 ป.1 12 1 2 3 2 4 ป.2 2 ป.3 4. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 1 - 6 4 ป.4 กลุมสาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปก ารศกึ ษา 2561 1 ป.5 3 ป.6 จาํ นวน ผลการเรียน (จํานวนคน) นกั เรยี น 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 1 24 9 5 3 4 6 18 8 1 17 1 6 6 2 1 16 9 4 1 1 4 13 5 3 2 3 12 1 31

5 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 1 - 6 กลมุ สาระการเรียนรูสขุ ศึกษาและพลศึกษา ปก ารศึกษา 2561 ระดบั ช้ัน จํานวน 0 ผลการเรยี น (จํานวนคน) นกั เรียน 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ป.1 24 13659 ป.2 18 1 1 16 ป.3 17 11 177 ป.4 16 10 6 ป.5 13 2236 ป.6 12 1 56 6. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 1 - 6 กลมุ สาระการเรยี นรศู ิลปะ ปการศึกษา 2561 ระดบั ช้ัน จํานวน 0 ผลการเรียน (จํานวนคน) นักเรยี น 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ป.1 24 4 8 12 ป.2 18 945 ป.3 17 11285 ป.4 16 11554 ป.5 13 23143 ป.6 12 1 272

6 7. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 1 - 6 กลมุ สาระการเรยี นรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ปก ารศึกษา 2561 ระดับชนั้ จํานวน 0 ผลการเรยี น (จาํ นวนคน) นกั เรียน 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ป.1 24 5 3 3 13 ป.2 18 1 7 10 ป.3 17 2 465 ป.4 16 ป.5 13 565 ป.6 12 4117 1 146 8. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 - 6 กลุมสาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ ปการศึกษา 2561 ระดบั ชน้ั จาํ นวน 0 ผลการเรียน (จํานวนคน) นกั เรยี น 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ป.1 24 1 6 10 5 2 ป.2 18 22662 ป.3 17 4523111 ป.4 16 134152 ป.5 13 411142 ป.6 12 112512

7 4.4. ระดบั ปฐมวัย รอ ยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมินพัฒนาการแตละดา น ชน้ั อนุบาล 2 ระดบั ช้ัน จาํ นวน ผลการประเมนิ พัฒนาการนกั เรียน นกั เรยี น ระดับ1 รอยละ ระดับ2 รอ ยละ ระดบั 3 รอ ยละ ดา นรา งกาย ดานอารมณ จิตใจ 17 4 23.53 9 52.94 4 23.53 ดา นสงั คม ดานสตปิ ญญา 17 4 23.53 5 29.41 8 47.06 17 1 5.88 11 64.71 5 29.41 17 12 70.59 5 29.41 0 0.00 ชั้นอนบุ าล 3 ระดบั ช้นั จาํ นวน ผลการประเมนิ พัฒนาการนกั เรียน นกั เรยี น ระดบั 1 รอ ยละ ระดับ2 รอ ยละ ระดับ3 รอยละ ดานรางกาย ดา นอารมณ จิตใจ 13 0 0.00 0 0.00 13 100.00 ดานสงั คม ดา นสติปญ ญา 13 0 0.00 0 0.00 13 100.00 13 0 0.00 0 0.00 13 100.00 13 3 23.08 10 76.92 0 0.00 4.5. ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคป ก ารศกึ ษา 2561 คุณลกั ษณะอันพงึ จํานวน ไมผ าน ผา น ดี ดเี ยี่ยม ประสงค นักเรียน คน รอยละ คน รอยละ คน รอ ยละ คน รอ ยละ 1. รักชาติ ศาสน กษตั ริย 2. ซือ่ สัตยส จุ ริต 100 1 1.00 99 99.00 3. มีวินยั 100 17 17.00 83 83.00 4. ใฝเ รยี นรู 100 36 36.00 64 64.00 5. อยอู ยา งพอเพยี ง 100 5 5.00 36 36.00 59 59.00 6. มงุ ม่ันในการทํางาน 100 17 17.00 83 83.00 7. รกั ความเปน ไทย 100 9 9.00 31 31.00 60 60.00 8. มจี ติ สาธารณะ 100 35 35.00 65 65.00 100 29 29.00 71 71.00 รวม/คดิ เปน รอยละ 800 14 1.75 202 25.25 584 73.00

8 4.6. ผลการประเมินการอาน คดิ วเิ คราะห และเขียนปการศึกษา 2561 ระดบั ชัน้ จาํ นวน ดเี ยีย่ ม ระดับคุณภาพ ไมผ าน ประถมศกึ ษาปท่ี 1 ทัง้ หมด จาํ นวน รอ ยละ ดี ผาน จาํ นวน รอ ยละ ประถมศึกษาปที่ 2 จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ ประถมศึกษาปที่ 3 24 14 58.33 10 41.67 ประถมศกึ ษาปที่ 4 18 7 38.89 11 61.11 ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 17 3 17.65 8 47.06 6 35.29 ประถมศกึ ษาปท่ี 6 16 16 100.00 13 13 100.00 รวม/เฉลย่ี รอยละ 12 5 41.67 7 58.33 100 29 29.00 65 65.00 6 6.00 4.7. ผลการประเมินสมรรถนะสําคัญของผเู รยี น 5 ดานปการศกึ ษา 2561 1. ดา นความสามารถในการสื่อสาร ระดับชัน้ จํานวน ดเี ยีย่ ม ระดบั คุณภาพ ไมผ าน ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 ทั้งหมด จํานวน รอยละ ดี ผา น จาํ นวน รอ ยละ ประถมศึกษาปท ี่ 2 จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ ประถมศึกษาปที่ 3 24 6 25.00 6 25.00 12 50.00 ประถมศกึ ษาปท่ี 4 18 9 50.00 5 27.78 4 22.22 ประถมศึกษาปที่ 5 17 6 35.29 11 64.71 ประถมศึกษาปท่ี 6 16 16 100.00 13 11 84.62 2 15.38 รวม/เฉลย่ี รอยละ 12 4 33.33 7 58.33 1 8.33 100 36 36.00 47 47.00 17 17.00

9 2. ดานความสามารถในการคิด ระดับชนั้ จาํ นวน ดีเยยี่ ม ระดบั คุณภาพ ไมผ า น ประถมศกึ ษาปที่ 1 ท้ังหมด จํานวน รอยละ ดี ผาน จาํ นวน รอยละ ประถมศึกษาปท ่ี 2 จาํ นวน รอ ยละ จาํ นวน รอ ยละ ประถมศกึ ษาปท่ี 3 24 6 25.00 6 25.00 12 50.00 ประถมศกึ ษาปท ่ี 4 18 15 83.33 3 16.67 ประถมศึกษาปที่ 5 17 7 41.18 6 35.29 4 23.53 ประถมศกึ ษาปที่ 6 16 11 68.75 5 31.25 13 2 15.38 11 84.62 รวม/เฉลีย่ รอยละ 12 3 25.00 8 66.67 1 8.33 100 18 18.00 57 57.00 25 25.00 3. ดานความสามารถในการแกป ญ หา ระดบั ช้ัน จํานวน ดเี ยี่ยม ระดบั คณุ ภาพ ไมผาน ประถมศึกษาปท่ี 1 ท้ังหมด จาํ นวน รอ ยละ ดี ผา น จํานวน รอยละ ประถมศกึ ษาปท่ี 2 จํานวน รอยละ จํานวน รอ ยละ ประถมศกึ ษาปท ี่ 3 24 6 25.00 4 16.67 14 58.33 ประถมศึกษาปท ่ี 4 18 6 33.33 7 38.89 5 27.78 ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 17 10 58.82 7 41.18 ประถมศกึ ษาปที่ 6 16 11 68.75 5 31.25 13 13 100.00 รวม/เฉลี่ยรอยละ 12 5 41.67 6 50.00 1 8.33 100 17 17.00 51 51.00 32 32.00

10 4. ดา นความสามารถในการใชทักษะชวี ิต ระดบั ชน้ั จาํ นวน ดีเยย่ี ม ระดับคณุ ภาพ ไมผ า น ประถมศกึ ษาปที่ 1 ทง้ั หมด จาํ นวน รอ ยละ ดี ผาน จาํ นวน รอยละ ประถมศกึ ษาปท่ี 2 จํานวน รอยละ จํานวน รอ ยละ ประถมศึกษาปท ี่ 3 24 7 29.17 9 37.50 8 33.33 ประถมศกึ ษาปท่ี 4 18 15 83.33 3 16.67 ประถมศกึ ษาปท่ี 5 17 14 82.35 3 17.65 ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 16 16 100.00 13 6 46.15 7 53.85 รวม/เฉลีย่ รอยละ 12 11 91.67 1 8.33 100 53 53.00 39 39.00 8 8.00 5. ดานความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี ระดับช้ัน จํานวน ดีเยยี่ ม ระดับคณุ ภาพ ไมผ า น ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 ทง้ั หมด จํานวน รอ ยละ ดี ผา น จํานวน รอ ยละ ประถมศึกษาปท ี่ 2 จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอยละ ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 24 4 16.67 6 25.00 14 58.33 ประถมศึกษาปท ี่ 4 18 17 94.44 1 5.56 ประถมศึกษาปท่ี 5 17 17 100.00 ประถมศึกษาปท่ี 6 16 16 100.00 13 9 69.23 4 30.77 รวม/เฉลยี่ รอยละ 12 5 41.67 6 50.00 1 8.33 100 26 26.00 55 55.00 19 19.00

11 ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 1. มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาปฐมวัย 1.1. สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม ( ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลศิ ) 1.2. ผลการประเมนิ และกระบวนการดําเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก ( ระดับคุณภาพ : ดี ) กระบวนการดาํ เนนิ งาน/พัฒนา โรงเรียนบานสองพี่นองมีกระบวนการพัฒนาเด็กท่ีหลากหลาย สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดานรางกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได โรงเรียนจัดใหเด็กไดรับประทานอาหารท่ีสะอาด ถูก สุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลใหเด็กด่ืมนมเปนประจําทุกวันอยางสม่ําเสมอ มีการช่ัง นํ้าหนัก วัดสวนสูง เดือนละ 1 คร้ัง มีกิจกรรมออกกําลังกายกอนเขาเรียนทุกวัน จัดหา อุปกรณ ซอมแซมสนาม เดก็ เลน ใหม ีความปลอดภัย สะดวก พรอมใชงานอยูตลอดเวลา ไมมีจุดท่ีเปนอันตราย มีกฎ กติกา ขอตกลงในการ ดูแลตนเองใหปลอดภัย หลีกเลี่ยงจากอันตราย มีการจัดบอรดใหความรูแกเด็กเกี่ยวกับโรคติดตอในชุมชน โรคติดตอจากการอยูรวมกัน อุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นไดในชีวิตประจําวัน มีการรณรงคตอตานยาเสพติด มีการจัด กจิ กรรมสุขภาพดีมสี ุขเพอื่ สง เสริมพฒั นาการดานรา งกายใหก ับเดก็ และไดรบั ความรว มมอื จากโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพ ตําบลริมโขง ในการดูแลสงเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก นอกจากนี้ยังมีการสงเสริมใหเด็กไดเลนกีฬา ตามความสามารถ สนับสนุนใหเขารวมการแขงขันกีฬาในระดับกลุมโรงเรียน มีการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา เพื่อ สง เสรมิ ใหเ ดก็ มพี ฒั นาการดานสงั คม ชวยเหลอื ตนเอง เปนสมาชิกที่ดขี องสงั คม มวี นิ ยั ในตนเอง มีสัมมาคารวะกับ ผูใหญ มีมารยาทที่ดี ย้ิม ไหว ทักทาย ชวยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน สามารถรับประทานอาหาร ดว ยตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร รูจักดูแลรักษาความสะอาด ท้ังภายในและนอกหองเรียน โดย การจัดกิจกรรมแบงเขตพื้นที่รับผิดชอบ รูจักชวยเหลือ แบงปนเพ่ือนในหองเรียน ทํางานรวมกับเพื่อนๆ ได โดย การใชก จิ กรรมกลมุ ในการจดั ประสบการณ การเรียนรู รจู ักเก็บของเลน ส่ิงของเครื่องใช ของตน และของสวนรวม ปลกู ฝง ใหน กั เรยี นรจู กั ประเพณีวัฒนธรรม ดวยกจิ กรรมอนุรกั ษวฒั นธรรมไทย รูจักทดแทนบุญคุณพอ แม ครู โดย จดั กิจกรรมวนั สาํ คัญทางชาติ กิจกรรมวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เชนพอ วันแม วันไหวครู วันเขาพรรษา สงเสริมพัฒนาการดาน อารมณ จิตใจ ปลูกฝงใหเ ดก็ มีความซ่ือสตั ยสจุ รติ ไมเอาสง่ิ ของของผูอื่นมาเปนของตน มีความอดทน มีความม่ันใจ กลาพูด กลาแสดงออก ย้ิมแยมแจมใส มีการจัดกิจกรรมทางดานศิลปะ ดนตรี ใหนักเรียนไดวาดภาพ ระบายสี เพื่อสรางจินตนาการและมีอารมณผองใส ใหเด็กไดทํากิจกรรมดวยความสนุกสนาน มีปฏิสัมพันธท่ีดีกับเพื่อน ท้ัง ในและนอกหองเรียน โดยครูไดดําเนินการจัดประสบการณการเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณการ เรียนรู และมีการจัดกิจกรรมรอง เลน เตน อาน ใหเด็กไดแสดงออกตามศักยภาพของตน โรงเรียนไดสงเสริมให เดก็ มพี ัฒนาการดานสติปญญา สื่อสารได มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรูได โดยการเขารวมโครงการ บา นนักวทิ ยาศาสตรนอยแหง ประเทศไทย โครงการคายวิทยาศาสตร ทาํ ใหเ ด็กไดฝ ก ปฏิบตั กิ ารทดลอง การสังเกต ความคดิ สรา งสรรค รูจกั แกป ญหา มีการจดั กจิ กรรมโครงงานเพื่อการเรียนรู โดยสงเสริมใหเด็กมีความสนใจเรียนรู สิ่งตางๆ รอบตัว กลาซักถามเพื่อคนหาคําตอบ มีการจัดกิจกรรมหนูรักภาษาไทย เพ่ือสงเสริมใหเด็กมีทักษะทาง ภาษา มีนิสัยรักการอาน สงเสริมใหเด็กอานนิทานและเลานิทานที่ตนเองอานใหครูและเพื่อนฟง มีการสงเสริม สนับสนุนใหเ ด็กเขารวมกจิ กรรมการแขงขันทกั ษะทางวชิ าการในระดับตางๆ

12 มกี ารสรางสรรคผลงานดา นศลิ ปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ สงเสริมใหเด็กไดเสนอผลงานดวย ภาษาที่เหมาะสมตามวัย จัดกิจกรรมการเรียนรูนอกหองเรียนเพ่ือใหเด็กไดปฏิสัมพันธกับบุคคลภายนอก เรียนรู นอกสถานท่ี แกปญหาในสถานการณจริง ผลการดําเนินงาน/หลักฐานจากการดาํ เนินงาน - รายงาน สรุป โครงการ/กิจกรรม - เดก็ มพี ฒั นาการดานรางกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ยั ท่ี ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได รอ ยละ 100 - เกียรตบิ ัตร/เหรียญรางวลั จากการแขง ขันกฬี าระดับกลุม - เด็กมีพฒั นาการดา นอารมณ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณได รอยละ 100 สังเกตไดจากการ กลาพูด กลาแสดงออก รูจักเขาแถว รอคิว ในการรับประทานอาหาร รูจักหนาท่ีรับผิดชอบ ตามท่ีไดรับมอบหมาย ท้งั ในและนอกหองเรียน ตามเขตพื้นทีร่ บั ผดิ ชอบ ราเรงิ แจม ใส - เด็กมพี ฒั นาดา นสงั คม ชวยเหลือตนเอง และเปนสมาชิกท่ีดีของสังคม ไดรอยละ 100 สังเกตไดจากการ ชวยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน รูจักเก็บสิ่งของเครื่องใช ท้ังของสวนตัวและสวนรวม รูจักยิ้ม ทักทาย อยเู ปนนิจ อยูรว มกับผอู ืน่ ไดอยางมีความสุข - เด็กมพี ฒั นาการดานสติปญญา สื่อสารได มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรูได คิดเปนรอยละ 50 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพ ให สูงขึ้น 1. โครงการสงเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั 2. โครงการทศั นศึกษานอกสถานที่ 3. โครงการสง เสรมิ สุขภาพ 4. โครงการอบรมคณุ ธรรมจริยธรรมนกั เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ( ระดับคุณภาพ : ดีเลศิ ) กระบวนการดาํ เนนิ งาน/พัฒนา การจดั การศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบานสองพี่นองไดมีการกําหนดเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจของ สถานศึกษาไวอยางชัดเจน มีองคประกอบที่สําคัญเพ่ือที่จะขับเคล่ือนการศึกษาระดับปฐมวัยไดแก การพัฒนา วิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ไดมีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ใหสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณของเด็ก โดยเปนหลักสูตรท่ีมุงพัฒนา เด็กทุกดาน ท้ังดานรางกาย อารมณจิตใจ สังคม และสติปญญา เพื่อใหผูเรียนมีความสุขในการเรียนรู มีการ พัฒนาครูและบุคลากรใหมีศกั ยภาพ สําหรบั ดานระบบกลไก การเสริมสรางความตระหนักรับรู และความเขาใจ การจัดการศึกษาปฐมวัย โดยใหผูมีสวนรวมทุกฝายไดมีบทบาทในการมีสวนรวมการจัดการศึกษา โดยใหมีการ ประสานความรวมมอื เพ่ือรวมกันพัฒนาผูเ รียนตามศักยภาพ

13 โรงเรียนบานสองพ่ีนอง ไดจัดส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีจําเปนซ่ึงเอ้ือประโยชน และอํานวยความสะดวก ตอ การพัฒนาเดก็ ท้งั ดานรางกาย อารมณแ ละจิตใจ สังคม และสตปิ ญญา คือ จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพท่ี เอือ้ ตอการเรียนรูอยางมีคุณภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการเพ่ือการจัดการ เรียนรู เชน จัดใหมีหองสมุดเพื่อใหเด็กไดศึกษาหาขอมูล จัดใหมีอุปกรณ ของเลน ของใช เคร่ืองนอน เครื่อง อํานวยความสะดวกตา งๆ ใหพอเพียงกับเดก็ โดยจัดใหเหมาะสม สะอาด ปลอดภัย ใหมีมุมหนังสือท่ีจําเปนตอ พัฒนาการของเด็ก ใหเพียงพอและเหมาะสมกับวัย จัดใหมีเคร่ืองเลนสนาม เคร่ืองเลนน้ํา เลนทราย ที่ เหมาะสมปลอดภัย จัดใหมีพ้ืนท่ีสําหรับแปรงฟน ลางมือ ทําความสะอาดรางกาย หองนาหองสวม พรอม อุปกรณท่ีจําเปนและเหมาะสมกับเด็ก มีหลักสูตรปฐมวัยท่ียืดหยุนและสอดคลองกับหลักสูตรสถานศึกษาเปน รูปแบบการจัดประสบการณที่กอใหเกิดการเตรียมความพรอม เนนการเรียนรูผานการเลนและการลงมือปฏิบัติ ดวยตนเอง สอดคลอ งกับวถิ ชี ีวิตของครอบครัว ชุมชน และทองถ่ินจัดครูท่ีเหมาะสมกับการจัดประสบการณการ เรยี นรู คือมคี รูประจาํ การท่ีจบการศกึ ษาปฐมวยั สง บคุ ลากรเขา รบั การอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพอยางตอเน่ืองเพื่อ พัฒนาคุณภาพครูดานการศึกษาปฐมวัยอยางตอเนื่อง ซ่ึงสงผลใหครูดานการศึกษาปฐมวัยทุกคนลวนมีความรู ความสามารถในการวิเคราะหและออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณและการ ประเมินพัฒนาการเดก็ เปน รายบุคคล มีประสบการณในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการ ปฏิสัมพันธท่ีดีกับเด็กและผูปกครองมีการจัดสภาพแวดลอมท้ังภายในและภายนอกหองเรียนที่คํานึงถึงความ ปลอดภัยของผูเรียน สงเสริมใหเกิดการเรียนรูท้ังแบบรายบุคคลและรายกลุม มีมุมประสบการณและสื่อการ เรียนรูท ่หี ลากหลายท่ไี ดจากธรรมชาตหิ รอื ส่อื ในชมุ ชน มุง เนนใหเกิดการเรียนรูแบบเรียนปนเลนมีความสุขในการ เรียนรู มีส่ือเทคโนโลยีใชในการสืบเสาะหาความรู มีการจัดส่ิงอํานวยความสะดวกใหบริการดานส่ือเทคโนโลยี สารสนเทศ อุปกรณเพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณเพ่ือพัฒนาครูอยางเพียงพอและทั่วถึง มีการกําหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณท่ีสถานศึกษา กําหนด มีการจัดทําแผนการจัดประสบการณท่ีสอดคลองกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการ ประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดําเนินงานและจัดทํารายงานผลการประเมิน ตนเองประจาํ ป มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝายมีสวนรวม พรอมท้ัง รายงานผลการประเมนิ ตนเองใหหนวยงานตนสงั กดั อยา งตอเนื่อง ผลการดาํ เนนิ งาน/หลักฐานจากการดาํ เนินงาน - แผนปฏิบัตกิ าร หลกั สูตร - หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย - รายงานผลการเขารวมอบรมพัฒนาของครูและบุคลากร - โครงการพัฒนาสภาพแวดลอมทางกายภาพใหเอ้ือตอการเรียนรู - โครงการทศั นศึกษา

14 - โครงการจดั หา/จัดทาํ เคร่ืองเลนสนาม - แผนการจดั ประสบการณท่ีสอดคลองกับมาตรฐานตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั - รายงานผลการประเมนิ ตนเองประจําป แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ให สูงข้ึน 1. โครงการสง เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั 2. โครงการจัดทาํ แผนปฏบิ ัติการ 3. โครงการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาระดบั ปฐมวัย 4. โครงการปรบั ปรงุ พฒั นาหลักสูตรระดบั ปฐมวัย ป 2560 มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท ี่เนนเด็กเปนสําคัญ (ระดบั คุณภาพ : ดีเลศิ ) กระบวนการดําเนนิ งาน/พัฒนา จัดการศึกษาปฐมวัยมุงเนนความสําคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ดาน ทั้งทางดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา มีความรู คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต ซ่ึงเปนการจัด ประสบการณก ารเรียนรูท ีเ่ นนผูเรยี นเปนสําคัญ เพื่อสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางเปนสุข ภายใตคําวา เกง ดี มีสุข ประสบการณในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู แบบเรียนผานเลน เพ่ือใหเด็กไดประสบการณตรง เกิดการ เรียนรูและมีการพัฒนาทั้งทางดานรางกาย อารมณจิตใจ สังคม และสติปญญา ซ่ึงสามารถยืดหยุนไดความ เหมาะสมและสอดคลองกับหลักสูตรปฐมวัย ท้ังในหองเรียนและนอกหองเรียน มีการใชสื่อและเทคโนโลยีท่ี เหมาะสมกับวัย จัดประสบการณการเรียนรูที่ครอบคลุมพัฒนาการในทุกๆดานใหเหมาะสมกับวัย ดังน้ี ดาน รา งกาย พัฒนาการเคล่อื นไหวทางรา งกาย เดก็ เคลือ่ นไหวอยา งเหมาะสมตามจินตนาการเพ่ือใหรางกายทุกสวนท้ัง กลา มเนอ้ื มัดใหญมัดเลก็ ใหทํางานอยางมีประสิทธภิ าพดานอารมณ จติ ใจ เดก็ มพี ัฒนาการดานอารมณความรูสึกได อยางเหมาะสม รูจักยับย้ังช่ังใจ รูจักการรอคอย กลาแสดงออก ชวยเหลือแบงปนมีความรับผิดชอบดานสังคม เด็กชวยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันได มีวินัยในตนเอง เลนรวมกับผูอื่นได มีสัมมาคารวะตอผูใหญ ดานสติปญ ญา มีความคิดรวมยอด รจู ักการแกปญ หา ส่อื สารและมีทกั ษะความคิดพื้นฐานแสวงหาความรูไดอยาง เหมาะสมตามวัยจัดประสบการณการเรียนรูที่สงเสริมใหเด็กไดประสบการณโดยตรง จากการเรียนผานการเลน โดยลงมือปฏิบัติจริงดวยตนเองและการเรียนรูรายกลุม เพ่ือกอใหเกิดความมีนํ้าใจ ความสามัคคี การแบงปน และการรอคอย เพื่อสงผลใหเด็กเกิดการเรียนรูไดอยางมีความสุข จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่สงเสริมความสนใจ ใหแกผ ูเ รียน ชนั้ เรียนมีบรรยากาศเตม็ ไปดวยความอบอุน ความเห็นอกเห็นใจ มีความเอื้อเผื่อเผื่อแตตอกันและ กัน ซึ่งเปนแรงจูงใจภายนอกท่ีกระตุนใหผูเรียนรักการอยูรวมกันในชั้นเรียน และปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ใหแ กเ ด็กนกั เรยี น

15 หองเรียนมีบรรยากาศ แจมใส กวางขวางพอเหมาะ มีมุมสงเสริมประสบการณการเรียนรู มีการ ตกแตงหองเรียนใหสดใส และมีสื่อการเรียนรูที่เอื้อตอการจัดประสบการณการเรียนการสอน การประเมิน พัฒนาการของเดก็ ปฐมวัย จากการจัดประสบการณการเรียนรู และการจัดกิจวัตรประจําวัน ดวยเคร่ืองมือและ วิธกี ารท่หี ลากหลาย เชน การสังเกต การสอบถาม การสํารวจ และการวิเคราะหผลพัฒนาการของเด็ก โดยให ผูปกครองมีสวนรวม เพื่อไดนําผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของเด็กและพัฒนาการจัดประสบการณการ เรียนรูในช้ันเรียนเพื่อพัฒนาครูอยางเพียงพอและทั่วถึง มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่ สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณที่สถานศึกษากําหนด มีการจัดทําแผนการจัด ประสบการณท ี่สอดคลอ งกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา ติดตามผลการดาํ เนนิ งานและจัดทํารายงานผลการประเมินตนเองประจําป มีการนําผลการประเมิน ไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝายมีสวนรวม พรอมท้ังรายงานผลการประเมินตนเองให หนว ยงานตนสงั กดั อยางตอเน่ือง ผลการดาํ เนินงาน/หลกั ฐานจากการดําเนนิ งาน - มุมประสบการณ - แบบบันทกึ การพฒั นาการของเดก็ - รายงานผลการประเมนิ ตนเอง - บรรยากาศ หอ งเรยี นแจมใส มมี ุมสง เสรมิ ประสบการณการเรียนรู - การจดั กิจวตั รประจาํ วนั แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพ ให สูงขึน้ 1. โครงการปรับปรุงพฒั นาหลกั สูตรระดับปฐมวัย ป 2560 2. โครงการพัฒนาแหลงเรียนรภู ายในโรงเรยี น 3. โครงการปรบั ปรุงสภาพแวดลอมโรงเรยี น 4. โครงการสงเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั 5. โครงการสงเสรมิ สุขภาพ 6. โครงการอบรมคณุ ธรรมจริยธรรมนกั เรยี น 7. โครงการวันสําคญั

16 2. มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 2.1. สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวม ( ระดับคุณภาพ : ดี ) 2.2. ผลการประเมินและกระบวนการดําเนินงานตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียน ( ระดบั คุณภาพ : ดี ) กระบวนการดําเนนิ งาน/พัฒนา สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผเู รียนดว ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย ครจู ดั การเรียนรู ใหเ ปน ไปตามศกั ยภาพ ของผูเรียน และเปน ไปตามมาตรฐานและตวั ช้ีวดั ของหลักสตู ร มกี ารออกแบบการจัดการเรียนรทู ่เี หมาะสมกับ ผูเรียน โดยมีการจัดการเรียนรูทง้ั รูปแบบ การระดมสมองแบบลงมอื ปฏบิ ตั ิจริง แบบรว มมือกันเรียนรู แบบใช กระบวนการคิด กระบวนการใชปญหาเปน หลัก และเนนเรอ่ื งการอา นออกของผเู รยี นเปนเรือ่ งสําคัญที่สุด โดยมงุ พฒั นาใหผูเ รียนทุกคนอา นออกและเขยี นไดต้ังแตระดับช้นั ป. 1 พัฒนาครูทกุ คนใหมคี วามสามารถในการนํา เทคนคิ วธิ สี อนใหตรงตามศักยภาพผเู รียน ใชส่ือเทคโนโลยีในการจดั การเรยี นการสอน มแี หลงเรียนรูและแหลง สบื คนขอ มลู ไดแ ก หองสมุด ครกู ําหนดแผนการจัดการเรียนรู การวดั และประเมนิ ผลแบบ บรู ณาการ ครเู นนการ ใชคาํ ถามเพื่อพฒั นาทักษะการคดิ ของผูเรยี น การจัดกิจกรรมคายวิชาการทุกกลมุ สาระการเรียนรูเพื่อใหผูเ รยี นได เขารวมกจิ กรรมตามฐานการเรยี นรู มกี ารจัดคายภาษาองั กฤษ (English Camp) เพือ่ ใหผ เู รยี นมเี จตคติทด่ี ีตอ วชิ า ภาษาอังกฤษเพิ่มศกั ยภาพในการเรยี นของผเู รยี นมากย่ิงขึ้น และยังไดจัดตวิ กอนสอบโอเนต็ ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที่ 6 โดยครผู รู บั ผิดชอบประจาํ วชิ า ศึกษาจุดประสงคต ัวชวี้ ดั จากเทสบลูปริน้ จัดตารางสอนการตวิ ทุกวัน นอกจากน้ี สถานศึกษาไดม ีการดําเนนิ การเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิตของผูเรยี น เพ่ือใหอยูในสงั คมไดอยา งมี ความสุข เนนการพฒั นาดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม ท่เี หมาะสมกบั วัยของผูเรยี น และ เนนใหผ เู รยี นมีวินยั ซ่ือสตั ย รับผดิ ชอบ และมจี ิตสาธารณะ มรี ะบบการแนะแนว และการดแู ลสขุ ภาวะจติ นําภมู ิปญญาทองถิ่นมารวมกนั วาง แผนการจัดการเรยี นการสอน และมีการเรยี นรูในโลกกวา ง การเขาไปศึกษากับภูมปิ ญ ญาในชมุ ชนรอบๆ สถานศกึ ษา จดั กจิ กรรมสถานศกึ ษา “ออ นหวาน” ใหความรเู รอ่ื งพิษภัยจากขนมกรุบกรอบ นํา้ หวาน น้าํ อัดลม สง เสรมิ การออกกาํ ลงั กาย และเพ่มิ เวลารูเรื่องอาชีพ เชน การรอ ยพวงมาลยั การผลิตของใช กระทงใบตอง เปน ตน ผลการดําเนนิ งาน/หลักฐานจากการดําเนินงาน ในดานผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ทางวิซาการ ผูเ รียนสามารถอานออกและอานคลองตามมาตรฐานการ อานในแตล ะระดบั ช้ัน สามารถเขยี นสือ่ สารไดดี รจู กั การวางแผน สามารถทาํ งานรว มกบั ผูอน่ื ไดดีตามหลัก ประชาธปิ ไตย กลา แสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือวพิ ากษ ไดอยา งสรางสรรค สบื คน ขอ มลู หรือแสวงหา ความรูจากสือ่ เทคโนโลยีได ดวยตนเอง รวมท้ังสามารถวิเคราะห จาํ แนกแยกแยะไดวา สงิ่ ไหนดี สาํ คัญ จาํ เปน รวมทงั้ รูเทา ทัน สื่อและสังคมทเ่ี ปลีย่ นแปลงอยา งรวดเร็ว ผูเรียนรแู ละตระหนักถงึ โทษและพิษภยั ของส่ิงเสพติด ตางๆ เสือกรับประทานอาหารทสี่ ะอาด และมปี ระโยชน รกั การออกกาํ ลังกาย นักเรียนทกุ คน สามารถเลนกฬี าได อยา งนอยคนละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลมุ ของสถานศึกษา ของสงั คม มีทศั นคติที่ดีตอ อาชีพสจุ รติ รวมถงึ มคี วามเขาใจเร่ืองความแตกตางระหวา งบุคคล และระหวา งวยั

17 จากการวางแผนพัฒนาดานวิชาการในปการศึกษา 2561 ทําใหผลการสอบRT ชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 อยู ในระดบั ดี ถึง ดีมาก ผลการสอบ O - NET เพิ่มข้นึ เปนอนั ดบั 1 ของเชียงของโซน 2 ซ่ึงอยูในเกณฑทนี่ า พอใจ แนวทางการพฒั นาคุณภาพใหสูงข้ึน 1. ปลุกจิตสํานึกใหผเู รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม และคา นยิ มที่พึงประสงค ผูเรียนไดรับการปลูกฝงการเปน ลูกที่ดีของพอแมเปนนักเรียนที่ดีของสถานศึกษา และเปนคนดีของชาติ รวมกิจกรรมวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  ขนบธรรมเนียมประเพณศี ลิ ปะวัฒนะธรรมของชมุ ชนมีความรับผิดชอบ รจู ักการบําเพ็ญประโยชน เพอ่ื สวนรวม สามารถปรับตัวเขากบั สงั คมได 2. คณะครรู ว มกันวางแผนการทํางานเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใหต อเนือ่ งและเนน ผเู รียนเปน สําคัญ จดั กจิ กรรมวิชาการอยางนอ ยเทอมละ 1 ครั้ง เปนตน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ( ระดับคณุ ภาพ : ดี ) กระบวนการดาํ เนนิ งาน/พัฒนา โรงเรียนไดดําเนินการวิเคราะหสภาพปญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผานมา โดยการศึกษาขอมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุม ระดมความคิดเหน็ จากบุคลากรในสถานศกึ ษาเพ่ือวางแผนรวมกันกําหนดเปาหมาย ปรับวสิ ัยทัศน กําหนดพันธกิจ กลยทุ ธ ในการจดั การศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป ใหสอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา พรอมท้งั จัดหาทรัพยากร จดั สรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผูรับผิดชอบ ดําเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให บรรลุเปาหมายที่กําหนดไว มีการดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงาน และสรุปผลการ ดาํ เนนิ งาน ผลการดาํ เนินงาน/หลกั ฐานจากการดําเนนิ งาน 1. สถานศึกษามีการกําหนดเปาหมาย วิสัยทัศนและพันธกิจสอดคลองกับสภาพปญหาความตองการ พัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความตองการของชุมชน ทองถ่ิน และสอดคลองกับแนว ทางการปฏิรูปตามแผนการศกึ ษาชาติ 2. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป สอดคลองกับการพัฒนาผูเรียนทุก กลมุ เปา หมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีความรูความเชี่ยวชาญ ตามมาตรฐานตําแหนง ขอมูล สารสนเทศมีความถูกตอง ครบถวน ทันสมัย นําไปประยุกตใชได ดําเนินการอยางเปนระบบ และมีกิจกรรมจัด สภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมทก่ี ระตนุ ผูเ รยี นใหใ ฝเรียนรู 3. สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป ใหสอดคลองกับ สภาพปญหา ความตอ งการพัฒนา และนโยบายการปฏิรปู การศึกษาโดยผูมีสวนไดเสียมีสวนรวมในการพัฒนาและ รวมรบั ผิดชอบ 4. ผูเก่ียวของทุกฝาย และเครือขายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีสวนรวมในการรวมวางแผนพัฒนา คุณภาพการศกึ ษา และรบั ทราบ รับผิดชอบตอ ผลการจดั การศึกษา 5. สถานศึกษามีการนิเทศ กํากับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ที่เหมาะสม เปน ระบบและตอเน่ือง เปดโอกาสใหผ ูเกยี่ วของมสี ว นรว มในการจดั การศกึ ษา

18 6. สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝายมีสวนรวม ยึดหลักธรรมาภิบาล และ แนวคดิ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยมุงพัฒนาผูเรียนตามแนวทางปฏริ ปู การศึกษา 7. สถานศึกษามกี ารระดมทรัพยากรเพ่อื การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาจากเครอื ขา ยอุปถัมภ สง ผลให สถานศกึ ษามีส่ือ และแหลงเรียนรูทม่ี คี ุณภาพ แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพใหส งู ขน้ึ 1. เนน ใหโ รงเรียนมกี ารบริหารและการจดั การอยางเปนระบบ โรงเรยี นใชเทคนิคการประชุมท่ีหลากหลาย วธิ ี เชน การประชมุ แบบมีสว นรว ม การประชุมระดมสมอง การประชมุ กลุม เพ่ือใหท ุกฝายมีสว นรวมในการกําหนด วสิ ัยทัศน พนั ธกิจ เปา หมาย ทชี่ ัดเจน มีการปรบั แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําป ท่ี สอดคลองกบั ผลการจดั การศึกษา สภาพปญหา ความตองการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษาทีม่ ุงเนน การพฒั นาใหผเู รียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรตู ามหลักสตู รสถานศึกษาครูผสู อนสามารถจัดการเรยี นรูได อยา งมีคณุ ภาพ มีการดาํ เนินการนิเทศ กํากับ ตดิ ตามประเมินผล การดําเนินงาน และจัดทาํ รายงานผลการจัด การศกึ ษา และโรงเรียนไดใชกระบวนวจิ ยั ในการรวบรวมขอมูล เพื่อใชเปนฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา 2. ผูบ รหิ ารใหข วญั และกาํ ลังใจในการทํางานของผใู ตบ งั คับบญั ชามีใจเปน กลางและยุติธรรมเห็น ความสําคญั ของผใู ตบังคับบัญชาทุกคนเทาเทยี มกนั เพ่ือใหการบรหิ ารในโรงเรียนเปน ไปดวยความเรียบรอ ย 3. เปดโอกาสใหผ ปู กครองไดมสี วนรวมในการเสนอความคิดเห็นในการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาผเู รยี น 4. สรางเครือขา ยความรวมมือของผมู สี วนเกยี่ วของในการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นใหมีความเขม แขง็ มี สวนรว มรับผดิ ชอบตอผลการจัดการศกึ ษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจดั การศึกษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผเู รียนเปน สําคัญ (ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ ) กระบวนการดําเนนิ งาน/พัฒนา โรงเรียนดําเนินการสง เสริมใหครูจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สําคัญโดยการดาํ เนนิ งาน / กิจกรรมอยา งหลากหลาย ไดแก งานหลกั สูตรมีการประชมุ ปฏิบตั กิ ารปรับปรงุ หลักสูตรสถานศึกษา พฒั นาสู ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล มีการบูรณาการภาระงาน ช้ินงาน โดย ทุกระดับชน้ั จัดทําหนว ยบรู ณาการ อาเซยี น เศรษฐกิจพอเพียงปรับโครงสรางรายวชิ า หนว ยการเรยี นรู ลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู สดั สว นคะแนนแตละ หนว ยกาํ หนดคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคท่สี อดคลองกับหนวยการเรียนรู สนับสนุนใหครจู ดั การเรยี นการสอนที่ สรา งโอกาสใหน กั เรียนทกุ คนมีสวนรวม ไดลงมอื ปฏิบตั ิจริงจนสรปุ ความรไู ดดว ยตนเอง จัดการเรยี นการสอนท่เี นน ทักษะการคิด เชน จัดการเรยี นรูดว ยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหนาท่ีใหนักเรยี นจดั ปายนิเทศ และบรรยากาศ ตามสถานท่ีตาง ๆ ท้ังภายในหองเรยี นและนอกหองเรยี น ครูใชส่ือการเรียน การสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปญญาทองถิน่ มกี ารประเมินคณุ ภาพและประสิทธิภาพของสือ่ การสอนที่ใช ครูทกุ คนทํางานวจิ ัยในชนั้ เรยี นป การศกึ ษาละ 1 เรอ่ื ง

19 ผลการดําเนนิ งาน/หลกั ฐานจากการดําเนนิ งาน จากการดําเนินงาน / โครงการ / กิจกรรมอยางหลากหลาย เพอ่ื พัฒนาใหครูการจัดการเรยี นการสอนท่ี เนน ผเู รียนเปนสําคัญ สงผลใหผลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานที่ 3 อยูในระดบั ดมี าก แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพใหสงู ขนึ้ ครูมคี วามตั้งใจ มุงม่นั ในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมใหน ักเรียนไดเ รียนรโู ดยการคิด ไดป ฏบิ ัตจิ ริง มีการใหวธิ กี ารและแหลงเรยี นรูท่หี ลากหลาย ใหน ักเรยี นแสวงหาความรจู ากส่อื เทคโนโลยดี วยตนเองอยางตอเนอ่ื ง นกั เรยี นมสี วนรว มในการจัดบรรยากาศสภาพแวดลอมทีเ่ อ้ือตอการเรียนรู และผลงานวจิ ัยในชน้ั เรียนของครทู กุ คน

ภาคผนวก - คาํ สงั่ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายใน - เกียรตบิ ตั รผลงาน ดีเดน ของโรงเรยี น

คําสั่งโรงเรียนบา นสองพน่ี อ ง ท่ี 021 / 2562 เรื่อง แตง ตง้ั คณะกรรมการจัดทาํ รายงานการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา (SAR) ปการศึกษา 2561 ............................................................................................................................ ดวย โรงเรียนบานสองพ่นี อ ง กําหนดจดั ทํารายงานการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา (SAR) ปการศึกษา 2561 ในวันที่ 25 มีนาคม 2562 เพื่อเปนการรายงานผลการดําเนินงานในรอบปการศึกษาของ สถานศึกษาตองสะทอนใหเห็นภาพความสําเร็จท่ีเกิดขึ้น ตามบริบทของโรงเรียนตามมาตรฐานการประกัน คณุ ภาพการศกึ ษา เพอ่ื ใหก ารดาํ เนนิ งานเปนไปดวยความเรียบรอ ย มปี ระสทิ ธิภาพ จึงแตงตงั้ คณะกรรมการดาํ เนินงานตาม มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ดังน้ี 1. คณะกรรมการฝา ยอํานวยการ 1. นายอคั รพล พลวฒั น ณ นา น ผูอํานวยการโรงเรียนบานสองพ่ีนอง ประธานกรรมการ 2. นางสายชม ไชยศรี ครชู ํานาญการพเิ ศษ กรรมการ 3. นางสาวนศิ ารตั น อุตสาห ครู กรรมการ 4. นายศภุ กิจ สมดวงเลิศ ครูผูชว ย กรรมการและเลขานุการ หนา ที่ อาํ นวยความสะดวก ใหคาํ แนะนาํ ในการจัดทาํ รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา (SAR) ปก ารศึกษา 2561 2. คณะกรรมการจดั ทาํ มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย 1. นางสาวนิศารตั น อุตสาห ครู ประธานกรรมการ 2. นางสาวสปุ รีย ฝป ากเพราะ ครผู ูชวย กรรมการและเลขานุการ หนาท่ี จดั ทํารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก , มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ และมาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณทเ่ี นนเด็กเปนสําคญั 3. คณะกรรมการจดั ทาํ มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กรรมการชุดท่ี 1 1. นางสายชม ไชยศรี ครูชํานาญการพิเศษ ประธานกรรมการ 2. นางสาวรญั ชนา เขือ่ นขันธ ครู กรรมการ 3. นายศภุ กิจ สมดวงเลิศ ครผู ชู ว ย กรรมการและเลขานุการ หนาท่ี จัดทํารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ รียน

กรรมการชุดท่ี 2 1. นายสมัย ทะจนั ทร ครชู ํานาญการ ประธานกรรมการ 2. นายวีรชนั นนั ทะชัย ครู กรรมการและเลขานุการ หนาท่ี จดั ทาํ รายงานการประกนั คุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ กรรมการชุดที่ 3 1. นายวีระยุทธ ชัยเมอื งชื่น ครูชาํ นาญการ ประธานกรรมการ 2. นายณฐั ชัย มงั คลาด ครู กรรมการและเลขานุการ หนาที่ จัดทาํ รายงานการประกันคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สําคญั ใหคณะกรรมการที่ไดร บั การแตงตง้ั ปฏิบัตหิ นาที่ตามที่ไดร บั มอบหมายใหเ ปนไปดว ยความเรยี บรอย อัน บังเกดิ ประโยชนส งู สดุ ตอ ทางราชการตอไป ทง้ั นี้ ตง้ั แต บัดนี้เปน ตน ไป สั่ง ณ วันท่ี 22 เดือน มนี าคม พ.ศ. 2562 ลงชื่อ ( นายอคั รพล พลวฒั น ณ นาน ) ผอู ํานวยการโรงเรียนบานสองพีน่ อ ง



ประกาศโรงเรียนบานสองพีน่ อง เรื่อง ใหใ ชมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กําหนดเปาหมายและยุทธศาสตร ในการประกัน คณุ ภาพการศึกษาไทยในอนาคตประกอบกับมีนโยบายใหปฏริ ูปการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและ ภายนอกของทกุ ระดบั กอ นจะมกี ารประเมนิ คุณภาพในรอบตอไป โดยมปี ระกาศใชกฎกระทรวงวาดวยการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ลงวันท่ี 20 กุมภาพันธ พ.ศ. 2561 โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ( นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป ) กําหนดใหสถานศึกษาแตละแหงจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษาแตละ ระดับ ประกอบกบั ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง ใหใชมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน และระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานศูนยการศกึ ษาพิเศษ ประกาศเม่ือวนั ที่ 6 สงิ หาคม พ.ศ.2561 น้ัน โรงเรียน บานสองพ่นี อง จงึ ไดกําหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดย ความเห็นชอบขอองคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของ ทั้งบุคลากรทุกคนใน โรงเรยี น ผูปกครอง และประชาชนในชุมชน รายละเอียดตามเอกสารแนบทายประกาศน้ี เพื่อใชเปนเปาหมาย ใน การพัฒนา คุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตอ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ 29 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2561 ลงชอ่ื ( นายอัครพล พลวัฒน ณ นาน ) ผอู ํานวยการโรงเรยี นบา นสองพ่นี อ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook