Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore aqplants_usersmanual_th

Description: aqplants_usersmanual_th

Search

Read the Text Version

คูมือการปลูกผักน้ําทสี่ าํ คัญทางเศรษฐกิจในสี่เมืองหลกั ของ เอเซียตะวันออกเฉียงใต 1

ผลการศึกษาภายใตการสนับสนุนของสหภาพยโุ รป (โครงการศึกษาระบบการปลกู พชื และสัตวน ้ําในเขตเมืองในเอเซยี ตะวนั ออกเฉียงใต) สารบัญ บทนาํ เทคนคิ การปลูกผกั นา้ํ บรเิ วณรอบเมืองกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย - บทนาํ - คูมือการปลกู ผกั บุงน้ําบริเวณรอบเมอื งกรงุ เทพมหานคร ประเทศไทย - คมู อื การปลูกผกั กระเฉดบรเิ วณรอบเมืองกรงุ เทพมหานคร ประเทศไทย เทคนคิ การปลูกผักนาํ้ บรเิ วณรอบเมืองโฮจมิ นิ ส ประเทศเวียดนาม - บทนาํ - คูมอื การปลกู ผกั บงุ นํ้าบริเวณรอบเมืองโฮจมิ ินส ประเทศเวียดนาม - คูมอื การปลูกผกั กระเฉดบรเิ วณรอบเมอื งโฮจิมนิ ส ประเทศเวยี ดนาม เทคนคิ การปลกู ผกั นํ้าบริเวณรอบเมอื งฮานอย ประเทศเวยี ดนาม - บทนํา - การปลูกผักบุงนํ้าบรเิ วณรอบเมอื งฮานอย ประเทศเวยี ดนาม - ๑. การปลกู ผักบงุ แบบลอยน้ํา - ๒. การปลูกผกั บุงน้าํ ในแปลงนา - คมู ือการปลูกผักกระเฉดบรเิ วณรอบเมอื งฮานอย ประเทศเวยี ดนาม - คมู อื การปลกู ผักชลี อ มบริเวณรอบเมอื งฮานอย ประเทศเวยี ดนาม - คูมอื การปลกู วอเตอรครีสบริเวณรอบเมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม เทคนิคการปลกู ผกั น้ําบริเวณรอบเมอื งพนญเปญ ประเทศกัมพชู า - บทนํา - คมู อื การปลกู ผักบงุ นาํ้ บริเวณรอบเมอื งพนญเปญ ประเทศกัมพูชา - คูมอื การปลกู ผักกระเฉดบริเวณรอบเมอื งเมืองพนญเปญ ประเทศกมั พูชา บทสรปุ โดยรวม 2

บทนํา ผลการศึกษานเ้ี นนในเรือ่ งปรมิ าณและมูลคาของพืชนา้ํ ทีป่ ลูกในประเทศเอเซียตะวนั ออก เฉียงใตซ ่ึงไมไ ดร บั ความสนใจใหอ ยใู นรายงานสถิตปิ ระจาํ ปขององคการอาหารและการ เกษตรกรรมแหงโลก (FAO) ในหมวดสินคา ประเภทการเพาะเล้ียงสัตวน ํ้า ซงึ่ ในการศึกษาคร้ังน้พี บวา อาชีพเหลานี้ไดสรางรายไดแ ละสรา งงานใหก ับคนจํานวนมากใน เขตชมุ ชนรอบๆเมืองใหญ นอกจากนี้ยังไดร ับผลประโยชนท างออ มเชนความสามารถในการ บาํ บัดนาํ เสียในชุมชนเมืองใหส ามารถนาํ กลบั มาใชใหมไ ดแ ละพืชนาํ้ เหลา นีย้ ังสรา งความ เขียวขจแี ละเปนแหลงอาหารท่ีสาํ คัญในชวี ติ ประจําวนั ของคนนบั ลา นในเขตเมืองใหญๆ เหลา น้นั คูมอื การปลกู พืชน้ํานี้ไดจัดทําขึ้นมาจากผลการศึกษาของโครงการศกึ ษาระบบการปลกู พชื และสัตวน ํ้าในเขตเมอื งในเอเซียภายใตก ารสนับสนนุ ของสหภาพยุโรปตะวนั ออกเฉียงใต โดยคณะผูทําการศกึ ษาในแตละเมอื งไดร วบรวมและเขียนขน้ึ จากการเขา ไปศึกษาจาก เกษตรกรในทองถ่นิ ของพชื นาํ้ แตล ะชนิด โดยผจู ัดทาํ หวงั วา ผลงานนค้ี งเปน ประโยชนต อ ผสู นใจทวั่ ไปและผทู ่ีสนใจจะทาํ การเพาะปลกู พชื น้าํ เหลา น้ีบาง โดยระบบการปลูกพชื น้าํ ท่ี รวบรวมไวจะมีทั้งแบบพ้ืนบานและระบบการปลกู เพือ่ การคา โดยในคมู อื นีไ้ ดรวบรวมการปลูกพชื นาํ้ ในเมอื งหลักๆของประเทศในเอเซียตะวนั ออกเฉยี ง ใต คอื กรงุ เทพมหานคร ฮานอย นครโฮจิมนิ ส และพนญเพญ หลงั จากท่โี ครงการใชเ วลา ตลอดท้งั สามปใ นการเก็บรวบรวมขอมูลจากเกษตรกรผูป ลกู ผกั นา้ํ ในบริเวณชมุ ชนของเมือง หลกั ดังทก่ี ลาวมาแลว ขอมลู เหลา น้ไี ดร วบรวมมาจากผลการสัมภาษณก ลมุ เกษตรกรใน ทอ งถนิ่ การจดั ทําสมั นาเชงิ ปฏิบตั ิการในหมูบา น การทาํ แบบสอบถามรวมถงึ การสังเกตการ ทํางานของเกษตรกรในแปลงนาตลอดทงั้ ปท ีเ่ ราไดจดั การเก็บขอมลู พนื้ ฐานของครัวเรอื นใน หมบู านที่ไดรบั คัดเลือกใหเ ปนพนื้ ที่ศึกษา โดยในคูมอื นี้ไดรวบรวมหลกั การปลูกพชื น้าํ ชนิด เดียวกนั แตอาจมคี วามแตกตา งกนั บางในเร่ืองเทคนิคการปลูกในแตละเมอื งซ่ึงในคูมือน้ีกไ็ ด ทาํ การแยกวธิ กี ารปลูกในแตล ะเมอื งเขาไวดวยกนั โดยทา นสามารถดาวโหลดดวี ีดีท่ีสราง ขึ้นพรอมๆ กับคูม ือฉบับนี้ “เรอ่ื งผลผลิตทีห่ ลบซอน” ความยาวยี่สิบหานาทีโดยเน้ือหาสว น ใหญเกีย่ วกับเกษตรกรผปู ลูกพืชนาํ้ ในแตล ะประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใตโดยทา น สามารถดาวโหลดไดจากเวปไซดป าปสุ ซา (www.papussa.org) พืชนํา้ ทีพ่ บปลกู ในสเี่ มอื งหลักๆ ของเอเซียตะวนั ออกเฉียงใตที่รวบรวมไวในคมู ือนี้คือ ผักบุง ช่ือวทิ ยาศาสตร Ipomoea aquatica ผกั กระเฉด ชือ่ วิทยาศาสตร Neptunia oleracea ผกั ชีลอ ม ชื่อวทิ ยาศาสตร Oenanthe stolonifera วอเตอรครสี ช่อื วิทยาศาสตร Rorippa nasturtium-aquaticum และ แหน ช่อื วิทยาศาสตร (Lemna and Wolffia spp.) ซงึ่ มักพบอยูในแปลงนาผักกระเฉด 3

เทคนคิ การปลูกผกั นา้ํ บริเวณรอบเมืองกรงุ เทพมหานคร ประเทศไทย คมู ือการปลกู ผกั บุงนา้ํ บทนํา ผักบงุ นา้ํ เปน ผักพน้ื บา นของไทยทส่ี าํ คญั ชนิดหนึง่ เปนทน่ี ิยมบรโิ ภค เนอ่ื งจากมี ราคาไมแพงมากนกั และอดุ มไปดวยวติ ามนิ ทสี่ าํ คญั คือ วติ ามนิ เอและซี มเี ยอื่ ใยสูง ยอ ย งา ย และมีแรธาตเุ หล็ก เปน องคป ระกอบทีส่ าํ คัญ การปลูกผักบุง นา้ํ ในประเทศไทยมีมาชา นานและมีแนวโนม ขยายตวั ของการเพาะปลูกเพม่ิ สูงขน้ึ ในป 2547 มพี ืน้ ท่ปี ลูกทใี่ หผล ผลติ ประมาณ 63,485 ไร ใหผลผลิตประมาณ 58,275ตัน กวา 80 เปอรเซน็ ต ของผลผลิต ดังกลา วมาจากพื้นท่ีการผลิตในเขตปริมณฑลรอบๆกรุงเทพฯมหานคร (กรมสงเสริม การเกษตร 2548) เนือ่ งจากเปน ผกั ท่สี ามารถนาํ มารบั ประทานไดท กุ สว น ทั้งลาํ ตน ใบ และ ราก ทําใหมกี ารบริโภคกันอยางแพรห ลาย เนอื่ งจากสามารถนํามาประกอบอาหารไดหลาย รูปแบบ ไดแก ตม ผัด ซปุ (แกงเทโพ) ผดั พริกกบั เน้ือตา ง ๆ และรับประทานดิบ ๆ กับสมตํา เปน ตน สายพนั ธผุ ักบุง ผกั บงุ นํ้า white variety ทน่ี ยิ มปลูกในแปลงนาแบบพฒั นา ผกั บุงนํ้าเปน ผักท่ปี ลูกงา ยเจริญเตบิ โตเร็ว ใหผ ลผลิตสงู และใหผลตอบแทนกลบั คืน เรว็ สามารถทาํ การปลกู ไดตลอดทั้งป ท้งั ในพน้ื ทีร่ าบสูง หรอื ตํา่ อยา งไรก็ตาม พนื้ ทร่ี าบ ลมุ จะเปน ทาํ เลทเ่ี หมาะสมสําหรับการทาํ ฟารม เพาะปลกู ผกั บงุ นาํ้ แบบพฒั นา ผักบงุ นาํ้ สามารถการเพาะปลกู ไดใ นดินไดเกือบทกุ ประเภท ไดแก ดนิ รว น ดนิ รว นปนทราย และดนิ เหนยี ว การเพาะปลูกสว นใหญท าํ กนั ในนาขาวเปน แปลงรปู สเ่ี หล่ยี มผนื ผา ไมจ าํ กัดขนาด พื้นท่ี การเตรยี มการเพาะปลูกผักบุงน้าํ และการบํารุงดูแลรักษาก็คลายคลึงกบั การทํานาขา ว ทีส่ ําคญั คือตองมีปริมาณนาํ้ ใชเพยี งพอตลอดระยะเวลาของการเพาะปลกู ดังน้ัน จึงแนะนํา ใหเ ลอื กทาํ เลทีส่ ามารถมีปรมิ าณนํ้าเพียงพอใชไดตลอดทง้ั ป แหลง นาํ้ ท่ีนาํ นํา้ มาใช โดยทัว่ ไป ไดแก แมน ้ํา ลาํ คลอง คลองซอยในพน้ื ท่ีตาง ๆ และการชลประทาน เปนตน เทคนิคการปลูกผักบงุ น้ําในแปลงนาแบบพฒั นา สามารถดาํ เนนิ การตามข้นั ตอนตา ง ๆไดด งั ตอไปน้ี 4

1. การเตรยี มแปลงเพาะปลูก การเตรยี มแปลงเพาะปลูกเหมือนกับการทํานาขา วทัว่ ไป โดยใชรถไถนาไถพรวน แปลงนาพลิกหนาดิน จากน้นั ทาํ การทบุ ดนิ ใหละเอยี ดปลอยหมกั ท้งิ ไวใ นนํ้าลกึ 5-10 เซนตเิ มตร ประมาณ 1-2 สปั ดาห ควรทําการทุบซํา้ อีกครงั้ หนึ่งวัน กอ นทําการปลูก 2. วิธีการเพาะปลูกผกั บุงนาํ้ 2.1 การเตรยี มตน ตอและการปก ดาํ ตน ตอควรเปนผักตนใหมและควรตัดยอดทิง้ กอนปลูก โดยท่วั ไปใชตน ตอทีม่ ีความ ยาวประมาณ 50-60 เซนติเมตร สามารถนํามาปกดําไดเลยหรอื ใชตนตอที่เตรียมไวจ าก การผงึ่ ในทร่ี ม และใชกระสอบคลมุ รดนาํ้ ใหมีความช้นื กอ นปลูกประมาณ 1-2 คนื เพอื่ กระตุนการแตกรากตามขอ ปลอ งของตนตอ การปก ดาํ จะใชตนตอ 2-3 ยอด ปกดําเปน กอ ๆ ในแปลงนาท่เี ตรียมไวดังกลาวแลว โดยปก ดําใหเปนแถวหางกันกอละประมาณ 20-30 เซนติเมตร และระหวา งแถวใหห า งกัน ประมาณ 2-3 เมตร เวลาปก ดําสวนใหญไดท้งั ชว งเชาหรอื ตอนเย็น โดยสามารถปก ดําตน ตอไดทง้ั ในสภาพทมี่ นี า้ํ ขังและไมม นี ํา้ ขัง อยางไรก็ตาม กรณปี กดําตน ตอในสภาพท่ีมนี ํา้ ขัง จะตอ งไขน้าํ ทง้ิ ออกจากแปลงนาภายใน 1-2 วนั จากนัน้ ทาํ การตากแปลงใหแหง อยางนอ ย 20-25 วัน ในชวงแรกของการตากแปลงควรฉีดพน ยาเพือ่ ควบคมุ วัชพชื เมอ่ื แปลงแหง หมาดควรโรยปนู ขาวในอตั รา 100 กิโลกรัมตอ ไร เพื่อปรบั สภาพความเปน กรด-ดาง ของดนิ และฆา เชือ้ โรค ลักษณะการปก ดาํ ตนตอหลงั การเตรียมแปลงเสร็จสิน้ 5

การฉีดพน ยาเพื่อควบคมุ วชั พืชภายหลังการปก ดําตน ตอ การตากแปลงนาใหแ หงจนแตกระแหง 2.2 การใสปยุ และการจดั การ หลังจากตากแปลงนาใหแหงจนดินแตกระแหงตามระยะเวลาดงั กลา วขา งตนเปนที่ เรยี บรอยแลว ใหไขนํา้ เขาทว มแปลงลึกอยางนอย 30 เซนติเมตร วนั ตอ มาใหใ สป ยุ เคมี สูตรตาง ๆ ท่นี ยิ มใชค อื 25-7-7 หรือ 20-20-0 หรอื 16-20-0 ในอตั ราประมาณ 50 กโิ ลกรมั ตอ ไร หลังจากนั้นประมาณ 1 สปั ดาห กส็ ามารถตดั ผักบงุ มีดแรกไดแ ละวันถดั มาหลังการ ตัดผักจะแนะนาํ ใหใสป ยุ และและฉีดพนยากําจดั แมลง โดยทัว่ ไป การตดั ผกั และฉีดพน ยา กําจดั แมลงจะดําเนินไปทุก ๆ สปั ดาห โดยอตั ราการใสปุยจะลดลงเหลือเพยี งประมาณ ครงึ่ หนึง่ หลังจากการตัดผักประมาณมดี ท่ี 5 เปน ตน ไป ในระหวา งนี้ควรรกั ษาระดับน้ําใน แปลงนาไมใหตํ่ากวา 30 เซนตเิ มตร การฉีดพน ยากาํ จัดแมลงจะใชเคร่ืองพนยาเคร่อื งยนต เบนซินขนาดความจุ 12-20 ลติ ร ควรทําการฉดี ยาพน ในตอนเชา และควรสวมใสเคร่ือง ปองกนั เชน ผา ปดจมกู และใสถ งุ เทา ผา เพื่อปอ งกันละอองยาและเปลอื กหอยในแปลงนา บาด 6

การสบู น้ําเขาทวมแปลงนาหลงั จากการตากแปลง ตวั อยางปยุ เคมีและตอกที่จาํ เปนตอ งใชในกระบวนการผลติ ตวั อยางสารเคมีทีใ่ ชกาํ จดั แมลงศตั รพู ืชและวชั พชื 7

2.3 การเกบ็ เกยี่ ว โดยท่ัวไป การปลกู ผักบุงน้ําจนกระท่งั เกบ็ เก่ยี วคร้ังสดุ ทา ยจะใชเ วลาประมาณ 90- 105 วัน ในชวงเวลาดังกลาวสามารถทาํ การเกบ็ เก่ียวผลผลิตไดท งั้ ส้นิ ประมาณ 9-15 มีด (คร้งั ) ข้นึ กบั ความหนาแนน ของผัก การตดั ผักจะทาํ ในตอนเชา และส้ินสดุ กอนเท่ียง โดยใช มดี ปลอกผลไมค วามยาวประมาณ 6 นวิ้ ตัดผกั จากโคนทต่ี ัดจนถึงปลายยอดออ นใหความ ยาวประมาณ 40-60 เซนตเิ มตร และผตู ัดจะทําการมัดผกั ที่ตัดไดโ ดยใชต อกใหไ ดม ดั ละ 1 กํามือ ซ่งึ ใชผักประมาณ 6-7 ยอด การลําเลยี งผกั จะใชเ รอื เหลก็ หรือเรอื ไฟเบอรก ลาสเพ่อื สง ผักไปทาํ การมดั รวมใหเปน ฟอ นใหญอีกครง้ั โดย 1 ฟอ น จะใชผ ักทีม่ ัดเปนกํา ๆ แลว รวมประมาณ 25 กาํ หอดวยแผน พลาสติกใส ซงึ่ มีนาํ้ หนกั ประมาณ 5-6 กิโลกรัม ผลผลิต ท้งั หมดทไี่ ดประมาณ 8-10 ตันตอไร การเก็บเกย่ี วผกั บุง นํ้าในแปลงนาและการลําเลยี งผลผลติ ผลผลติ ผกั บุงน้ําทบ่ี รรจุในหอ พลาสติกใสพรอ มท่จี ะลาํ เลยี ง 8

3. การตลาด ชองทางการตลาดโดยทั่วไปสามารถดาํ เนินการใน 2 รูปแบบ จากการขายผลผลิต โดยเกษตรกรเอง คือ การขนสง ผลผลิตไปขายเองสว นใหญจะสงขายท่ตี ลาดคา สงซึ่งเปนที่ รวบรวมสนิ คา เกษตรหลายชนดิ ในกรณีน้ี เกษตรกรจาํ เปนตองมีรถเปนของตนเอง รถกระบะ (ปคอัพ) 4 ลอ เปน ท่ีนิยมในการลําเลียงขนสงซึ่งสามารถบรรทุกไดถ งึ 1-2 ตัน ตอ เท่ียว การขายผลผลิตในอกี รปู แบบหนึ่งคือ การขายผลผลติ ผักบุงนํ้าใหกับพอคาคนกลางทม่ี ารบั ซอ้ื ถงึ ทแ่ี ปลงเพาะปลกู ซ่ึงเกษตรกรสว นใหญจ ะขายโดยวธิ ีนี้ เนอื่ งจากไมตองเสียเวลาใน การขนสง และเสยี คา ใชจ ายตลาด แตเกษตรกรจะขายผลผลติ ไดใ นราคาถูกกวาวิธแี รก การลําเลียงขนสง ผลผลิตผักบุงนา้ํ ไปขายที่ตลาดคาสง ผลผลติ ผักบงุ น้ําท่ีทําการซื้อขาย ณ ตลาดคาสง 9

ปญหาในการเพาะปลกู ผักบงุ นํา้ สว นใหญเปนปญหาทเ่ี กิดจากแมลง หนอน และโรคระบาดในผักบงุ ทีเ่ กดิ จากเชือ้ รา และแบคทีเรีย ดังนี้ 1. หนอนหนังเหนยี ว เปน หนอนชนดิ หน่งึ มีช่ือทางวทิ ยาศาสตรว า Acherontia lachesis (Sphingidae) ขนาดตวั เตม็ วัย 10-12 เซนติเมตร มีสเี ขยี วลายพาดตามยาวตวั สเี หลอื งขอบสนี ้ําเงนิ ท้ังสอง ขา งของลําตัว วางไขบ นใบผกั บุงใชเวลาในการฟกเปน ตัวประมาณ 5 วนั ระหวางเปนตัว หนอนจะใชเวลาประมาณ 3 สัปดาห ซึง่ จะกนิ ใบผักบงุ เปนอาหาร และจะเขา สูร ะยะดกั แดใ ช เวลาอกี ประมาณ 2 สปั ดาห โดยตัวเต็มวัยจะมสี นี า้ํ ตาล สารเคมีที่ใชในการกําจดั คือ Abamectin ในอตั รา 30 ซซี ี ตอน้าํ 20 ลิตร, Cypermethyl 50 ซีซี ตอ นาํ้ 20 ลิตร, และ Methomyl 20-25 กรัม ตอนํ้า 20 ลติ ร หนอนหนงั เหนยี ว 2. เพล้ยี แปง (Aphids) เพลี้ยแปง เปนแมลงชนิดหน่ึงทีม่ ีชื่อวทิ ยาศาสตรว า Aphis gossypii (Aphidiae) ระยะวัยรุน จะมีหลากหลายสแี ตสว นใหญจ ะมสี ีเขียวเขมจนถึงดาํ ขนาดเลก็ กวา 1 มิลลิเมตร จะมสี เี หลืองออนจนถงึ ขาว ระยะวยั รนุ จะพบอยตู ามใตใ บผักบุงเมอื่ มีอากาศรอ น ในเขตรอ น เพลย้ี แปง สามารถทจี่ ะออกลกู เปน ตัวไดเ ลยแทนที่จะวางไขซึ่งพบไดบนใบและดอก ระยะ วัยรุนเจรญิ จนเปนตัวเตม็ วยั ใชระยะเวลา 4-20 วัน ขนึ้ กับอณุ หภมู ิ ตวั เตม็ วัยสามารถผลติ 20-140 ตวั วยั รนุ ทกุ ๆ 2-9 วนั โดยดูดน้าํ เล้ยี งจากผกั บุง การปองกนั และกาํ จัด ใชส ารเคมีตามคาํ แนะนาํ เชนเดยี วกบั ขางตน 3. โรคราขาว (white rust) เปนเชือ้ ราชนดิ หนง่ึ มีช่อื วิทยาศาสตรว า Albugo ipoemoea-aquaticae (Sawada) ทาํ ใหเกิดจุดสีเหลืองออ นบนใบและเปนตุมอยใู ตใ บขนาด 1-2 มลิ ลเิ มตร เปนปมตามลาํ ตน และตามใบ โดยทัว่ ไปจะเกิดการระบาดในฤดหู นาว เม่อื พบการระบาดใหใ ช “Zeneb” ฉีด พน ท่ีความเขม ขน 30-40 กรมั ตอ น้ํา 20 ลติ ร ทุก ๆ สัปดาห 10

4. โรคใบไหม โรคใบไหมสว นใหญพ บในฤดแู ลง เกดิ จากเชือ้ แบคทเี รียมชี ่อื วทิ ยาศาสตรว า Xanthomonas compestris pu. (Pathovar.) ลักษณะเปน ตุมใสข้ึนใตใ บและลามเปนสี นาํ้ ตาลและดํา ทําใหใบมสี ีเหลืองซีด เหีย่ วและหลุดลว ง การปอ งกนั และแกไ ข เมื่อพบการระบาดของโรคดงั กลา ว ใหกําจดั โดยการเผาทิง้ การปองกันทีด่ ี คือ การเตรียมแปลงปลกู ท่ดี ี สะอาด โดยการโรยปนู ขาวในระหวางเตรียม แปลงอัตรา 60-100 กโิ ลกรมั ตอ ไร และตากแปลงใหแหงอยา งนอย 3-4 สปั ดาห หรือจะใช วิธกี ารปลกู พืชผกั ชนดิ อน่ื สลับหมนุ เวียนกบั การปลูกผกั บงุ ก็สามารถปอ งกันการระบาดของ โรคนไ้ี ดในระดับหนง่ึ 5. อนื่ ๆ 5.1 การระบาดของหอยเชอรี่ (Golden Apple Cherry Snail) การระบาดของหอยเชอร่ี โดยวางไขติดตามลาํ ตน ของผกั บุงน้ําทําใหล ําตน ดางไม สะอาด ทําใหผ กั ทขี่ ายมคี ุณภาพไมด สี ง ผลตอ ราคาขาย การกําจดั แนะนําใหใชกากชาที่ความเขม ขน 20-30 กิโลกรัม ตอ ไร หวานทัว่ แปลง นาหลงั จากไขนาํ้ ท้งิ แลว 5.2 การเจริญเติบโตชา สวนใหญเกิดขึ้นในฤดูหนาวทําใหไ ดผลผลิตตอพ้ืนทตี่ ่ํา ทาํ ใหมีตน ทุนการผลติ ท่ี เพิ่มสงู ขึน้ กวาการปลูกในฤดูกาลอ่ืน ๆ แมว า ผักจะสงู ก็ตาม การแนะนาํ ใหใชฮ อรโมนเรงการ เจริญเตบิ โตสามารถแกไขไดในระดบั หน่งึ เทา นั้น 5.3 การใชส ารฟอกขาว (ซัลเฟอรไ ดออกไซด) การใชส ารละลายซลั เฟอรไดออกไซดเ พอ่ื ฟอกใหลําตน ผกั บุงขาวภายหลังการเก็บ เกยี่ ว ซ่ึงซลั เฟอรไดออกไซดเ ปน สารตองหามทมี่ อี นั ตรายและอาจตกคา งในผกั และอาจกอ อนั ตรายตอผบู ริโภคได ซง่ึ พบวา ยังคงมีการลักลอบใชก ันอยูมาก เอกสารอา งอิง กรมสง เสริมการเกษตร 2548 สถิติผลผลติ ผักในประเทศไทย ป 2547 กระทรวงเกษตรและ สหกรณ 11

คูมือการปลกู ผกั กะเฉด บทนาํ ผักกะเฉดเปนผักพน้ื บานทส่ี ําคัญชนิดหนึง่ ที่เกยี่ วของกบั วถิ ชี วี ติ ของคนไทยมาชา นาน เปนผักทม่ี ีรสชาดดี เปน ท่ีนิยมบรโิ ภค สามารถเพาะปลกู ไดง ายท้ังในสภาพแหลง น้ํา ธรรมชาตติ ามคลองและในนาทม่ี ีนา้ํ สนบั สนนุ จากคลองชลประทาน จงึ มผี ลผลิตอยา ง ตอเนอื่ งสมํ่าเสมอตลอดทั้งป อยา งไรกต็ าม ราคาผักกะเฉดจะแปรปรวนตามฤดกู าลและตาม ปรมิ าณผลผลิตที่ออกสทู องตลาด โดยทั่วไปอยทู ่ีประมาณ 60-300 บาท ตอ ฟอน (1 ฟอ น มีนํา้ หนักประมาณ 12-15 กโิ ลกรมั และเม่อื ลอกเอาทุน ที่หอ หุมลาํ ตนออกจะเหลือน้ําหนกั เพียง 7-8 กโิ ลกรมั ) โดยทั่วไปราคาปกตจิ ะอยูทป่ี ระมาณฟอนละ 100 บาท และพบวา ในฤดู หนาวผกั กะเฉดจะมรี าคาสงู สุด ตกราคาฟอนละ 220-300 บาท ผักกะเฉดที่นยิ มเพาะปลูกในประเทศไทย แหลงเพาะปลกู ผกั กะเฉดท่ีสาํ คัญสวนใหญอ ยูในเขตพื้นที่ราบลุม ของจังหวัด ปริมณฑลรอบ ๆ กรุงเทพมหานคร ซง่ึ นิยมเพาะปลูกในนาขา วแบบพฒั นา เพยี งแตดดั แปลง นาขา วโดยการขุดคูรอบแปลงนาลึก 30 เซนติเมตร กวา ง 1-2 เมตร ขั้นตอนในการเตรียม แปลงเพาะปลกู และการบาํ รุงดูแลรกั ษาก็คลา ยคลงึ เหมือนกับการทาํ นาขาว ซง่ึ จาํ เปน ตอ ง ใชป ุย เคมีและยากําจดั ศัตรูพืชตลอดชวงเวลาของการเพาะปลกู อยา งไรก็ตาม ควรเลือก ทาํ เลท่มี แี หลงน้าํ ทส่ี ามารถสนบั สนุนปรมิ าณนาํ้ ใชไดต ลอดทั้งป ไดแ ก แมน ํา้ ลําคลองตาง ๆ คลองชลประทาน ทีม่ กี ารถายเทของน้าํ ไดด ี โดยคลองจะทําหนาท่ีทง้ั เปนแหลง น้าํ สนับสนนุ น้าํ ใชใ นการเพาะปลูกและเปนแหลง รับนาํ้ ทิง้ ภายหลังจากการเก็บเกีย่ ว คมู อื ฉบับนีจ้ ะนําเสนอเทคนิคการปลกู ผักกะเฉดในนาขา วแบบพัฒนา ซึ่งสามารถ ดําเนินการตามขนั้ ตอนได ดงั ตอ ไปน้ี 3. การเตรยี มแปลงเพาะปลูก โดยท่ัวไปจะใชรถไถนาทําการไถพลกิ หนา ดินบนพื้นทอ งนา ตอ จากนนั้ ทําการทบุ ดินใหล ะเอียดในน้าํ ลึก 5-10 เซนติเมตร เพือ่ เตรียมปรบั สภาพพนื้ ผวิ หนาดนิ สําหรับการปก ดําและหมกั ท้งิ ไว 7 วนั และควรทําการทุบซาํ้ อกี คร้ังและไขนาํ้ ออก 1 วัน กอนทําการ เพาะปลูก 12

การเตรยี มแปลงเพาะปลูกและการปก ดําตนพันธุ 4. วธิ กี ารเพาะปลูก ใชต น พันธทุ ่ีมยี อดออ นความยาวประมาณ 1 เมตร จํานวน 3-5 ตน ปกดาํ เปนกอใน แปลงนาท่ีเตรียมไว โดยปกดําใหล ําตนลกึ ลงไปในดินประมาณ 6-7 เซนติเมตร ปลกู เปน แถวโดยเวน ระยะหางระหวา งกอและแถวประมาณ 2x2 ตารางเมตร ทําการตากแปลงนาให แหงพอหมาดอยา งนอ ย 7 วัน แลวจงึ สูบนา้ํ เขา แปลงนาใหมคี วามลึก 10-15 เซนติเมตร เพื่อใหล ําตนสามารถทอดยอดลอยบนผวิ นาํ้ เคร่ืองยนตด ีเซลทใี่ ชสบู นํา้ เขา แปลงนา 13

5. การใสป ยุ และการจดั การ ปุยเคมเี ปนที่นยิ มใชส าํ หรับการเพาะปลูกผักกะเฉดแบบพัฒนา มกี ารใชอ ยหู ลาย สตู ร ไดแก 25-7-7, 16-20-0 หรอื 18-12-6 อตั ราทใ่ี ชโดยท่ัวไปประมาณ 50 กิโลกรัมตอ ไร โดยจะใสในวนั รุง ขึ้นหลังจากวนั ตัดผักกะเฉดเปนที่เรยี บรอยแลวพรอ มกบั ฉดี พนยากําจดั ศตั รูพชื ซงึ่ จะกระทําทกุ ๆ สัปดาห สวนในกรณที ่ีตองเรงการเจรญิ ของยอดผักกะเฉด สามารถใสป ยุ ยูเรียเพ่มิ ในอตั รา 3-5 กิโลกรมั ตอไร ทกุ ๆ สัปดาห การรกั ษาระดับนํา้ จะใชว ิธสี บู นํ้าเขา แปลงทุก ๆ สปั ดาห จากระดับความลึก 10-15 เซนตเิ มตร จนไดระดับความลึกประมาณ 60 เซนติเมตร ภายใน 1-1.5 เดือน และรักษา ระดบั ความลึกนต้ี ลอดระยะเวลาของการเพาะปลูกจนเสรจ็ ส้ินการเก็บเกย่ี วคร้ังสุดทา ย โดย ในระหวา งน้ีจะปลอยใหแหนเปดที่ติดมากับตน พันธุผักกะเฉดขึ้นในแปลงนาและขยายจน เต็มพน้ื ท่ีผวิ น้ํา ซึง่ ประโยชนของแหนจะชว ยใหทุนลอย (นมผกั กะเฉด) ทีห่ อ หุม ลําตนขาว สะอาด ทาํ ใหผ ลผลิตผักกะเฉดทีต่ ดั ดสู ะอาดทําใหมีราคาดเี ปน ทีต่ อ งการของผูบรโิ ภค ผกั กะเฉดที่ขึน้ รวมอยูก บั แหนอยางหนาแนน 4. การเกบ็ เกีย่ วผลผลติ การเกบ็ เกีย่ วผกั กะเฉดจะใชม ีดปลอกผลไมความยาวประมาณ 6 นว้ิ ตัดลาํ ตน ผกั กะ เฉดจนถึงปลายยอดใหม คี วามยาวประมาณ 1 เมตร โดยสามารถเรมิ่ ทาํ การตัดครัง้ แรกเมอื่ ปก ดาํ ตนพันธุไ ปแลวประมาณ 3 สัปดาห และจะทาํ การเก็บเกี่ยวผลผลติ ไดทกุ ๆ สปั ดาห โดยจะใชเ วลาเพาะปลกู ทงั้ สน้ิ ประมาณ 75-90 วนั ซึ่งสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดถึง 11- 12 ครงั้ ใหผลผลติ ประมาณ 6-7.5 ตัน ตอไร การตดั ผกั นิยมกระทําในตอนเชาและส้ินสุด กอนเทีย่ ง โดยจะมดั ลาํ ตนผกั กะเฉดท่ตี ดั ไดป ระมาณ 10 ยอด ตอ 1 กํามือ และจะหอ รวม 25 กาํ เขา ดวยกันเปน 1 ฟอ นใหญ ดวยแผนพลาสติกใสหอ หุมซึ่งมนี ํ้าหนักรวม โดยประมาณ 12-15 กิโลกรัม ในบางพ้ืนทีแ่ นะนําใหจ มุ ผักกะเฉดลงในสารละลายสารสม (อะลมู ินัมซลั เฟต) ทีค่ วามเขมขน 2-5 กรมั ตอ นํา้ 100 ลิตร กอ นทาํ การบรรจผุ ัก 14

การเกบ็ เกี่ยวผลผลิตผักกะเฉด การบรรจผุ ักกะเฉดดวยแผนพลาสตกิ ใส 15

บรรจุภัณฑผ กั กะเฉดพรอ มทจ่ี ะขนสงลําเลยี ง สารละลายสารสม ที่ใชทําความสะอาดผักกอ นการบรรจุหบี หอ 3. การตลาด ชองทางการตลาดของการคาขายผักกะเฉด โดยทั่วไปจะดําเนนิ การใน 2 รปู แบบ คือ การขนสง ผักกะเฉดไปขายเองทตี่ ลาดคาสง สนิ คา เกษตรซง่ึ จะเปน สถานที่ซื้อขาย ในชว งเย็นของวนั เพอ่ื กระจายสินคาสตู ลาดคา ปลีก ซุปเปอรม ารเ ก็ต รา นอาหาร และ ผูบริโภคทีม่ าซือ้ โดยตรง ในกรณนี ้เี กษตรกรตอ งมรี ถเปนของตนเอง โดยทั่วไปนยิ มใชรถ กระบะ (ปค อัพ) 4 ลอ ซงึ่ สามารถบรรทกุ ไดในปริมาณสูงสุดถึง 1-2 ตนั ตอเทย่ี ว การขาย ในอีกรูปแบบหน่ึงคอื การขายใหก บั พอ คาคนกลางท่ีมารับซ้อื ถงึ ทแ่ี ปลงเพาะปลูก ซง่ึ เกษตรกรสวนใหญจะขายโดยวิธีนี้ เน่ืองจากเกษตรกรคดิ วาไมต อ งเสียเวลาในการขนสง และเสยี คาใชจ า ยตลาด โดยถา พอคา คนกลางซ้อื ในปริมาณมากจะใชรถยนตบ รรทกุ 6 ลอ การขนสงสวนใหญจะดําเนนิ การในชวงบายของวนั หลังจากเสร็จสนิ้ การบรรจุผลผลติ เปนท่ี เรียบรอ ยแลว 16

รถกะบะ 4 ลอ (ปค อพั ) ท่ีใชข นสง ผักกะเฉดมาขายทีต่ ลาดคา สง ฟอนผกั กะเฉดท่ีวางซอื้ ขายในตลาดคาสง 17

ปญ หาในการปลกู ผักกะเฉด ปญ หาในการเพาะปลูกผกั กะเฉดแบบพฒั นาในแปลงนา สว นใหญเปน ปญหาดาน แมลงศตั รูพชื และหนอน เชน เพลี้ยแปงจะดดู นํ้าเลย้ี งจากใบผักกะเฉดและยอดในระหวาง การแตกยอดใหมเ ปนผลทาํ ใหยอดผักกะเฉดถูกทาํ ลาย หนอนบางชนิดสามารถชอนไชผาน ทุนลอย(ฟองนาํ้ ของผกั กะเฉด) บางชนิดในระยะวยั รุนท่ีเปนหนอนจะกินรากผกั ตวั เต็มวยั จะ กนิ ใบกะเฉด ทําใหผกั ชะงกั การเจรญิ เตบิ โต สารเคมที ีใ่ ชในปองกันและกําจดั แมลงศตั รูพืชและหนอน คือ Abamectin ในอตั รา 30 ซซี ี ตอ น้ํา 20 ลิตร, Cypermethyl 50 ซซี ี ตอนํา้ 20 ลิตร, และ Methomyl 20-25 กรัม ตอ น้ํา 20 ลิตร สวนโรคระบาดจากเชือ้ แบคทีเรยี ไดแ ก โรคใบจุดเหลือง ลักษณะเปน จุดเหลอื งบน ใบ ใบรวง ทาํ ลายยอด เปน ตน การเจริญเติบโตชา กพ็ บเปน ปญหาทส่ี าํ คญั ในการเพาะปลูกผกั กะเฉดทาํ ใหไดผล ผลติ ตอ พืน้ ที่ตาํ่ ตน ทุนการผลิตท่เี พ่ิมสงู ข้ึนและตอ งใชร ะยะการเพาะปลกู ที่ยาวนานขน้ึ สวน ใหญพบเปนปญ หาทเี่ กดิ ขนึ้ ในฤดูหนาวมากกวา ในฤดูกาลอน่ื ๆ แมวา จะไดร าคาผักกะเฉดท่ี สงู ก็ตาม การใชฮอรโมนเรง การเจริญเติบโตฉดี พนสามารถชว ยแกไขไดใ นระดับหน่งึ 18

เทคนิคการปลกู ผกั นาํ้ บริเวณรอบเมืองโฮจมิ นิ ส ประเทศเวยี ดนาม บทนาํ ในบางพ้ืนท่ีของเขตชานเมืองโฮจิมินสซ ่งึ เปน พน้ื ท่ลี ุมน้ําเทย่ี วถงึ ทกุ ป ทําใหการ ปลกู ขาวไมไ ดผ ลดีในฤดูฝน ดงั นนั้ ผักน้าํ จึงเปนอีกทางเลือกหนง่ึ ของเกษตรกรประสบ ปญหาภัยธรรมชาตไิ มสามารถเพาะปลูกขา วไดในพืน้ ทดี่ ังกลา ว ผักบงุ และผักกระเฉดเปน ผกั สองชนดิ ท่มี กั พบการเพาะปลกู อยโู ดยท่วั ไปในแถบพืน้ ที่ลุมนํ้าบรเิ วณชานเมืองโฮจิมินส โดยผักท้งั สองชนิดน้มี สี าํ คัญตอเกษตรกรมากสามารถทํารายไดใ หแ กครอบครัวผู เพาะปลกู มากขึ้นทําใหมคี รอบครัวของเกษตรกรเหลาน้มี ีชีวิตความเปน อยูทดี่ ขี ึน้ รวมถงึ ขอดขี องระบบการเพาะปลกู ผกั นํ้าเหลา นก้ี ค็ อื การลงทุนตา่ํ และสามารถเพาะปลูกไดงา ยไม ซาํ้ ซอ น ทําใหเ กษตรกรผสู นใจสามารถทาํ เปนอาชพี ไดท ันที คมู ือฉบับนมี วี ัตถปุ ระสงคเ พื่อ อธิบายวธิ ีการเพาะปลูกผักนาํ้ เบื้องตนสาํ หรับผูท่ีสนใจตอไป - คูมอื การปลกู ผักกระเฉดบริเวณรอบเมอื งโฮจิมินส ประเทศเวยี ดนาม คมู ือการปลกู ผักบงุ น้าํ บริเวณรอบเมืองโฮจมิ นิ ส ประเทศเวียดนาม 1. การเลือกตน พันธ หลกั การเลอื กตน พนั ธท่ดี ี คือ ƒ มลี กั ษณะภายนอกทด่ี ี แขง็ แรง กง่ิ อวบสวยงาม มคี วามยาวโดยเฉล่ียประมาณ 30 – 40 เซนตเิ มตร ƒ มีจํานวนใบหนาแนน และมรี ากมาก ตน พนั ธตองไมเ ปน ยอดท่ี ออ นเกินไป ƒ ไมเ ปนโรค 2. การเตรียมแปลง ƒ ขนาดของแปลงกจ็ ะตา งกันขึ้นอยูกับความสามารถของผปู ลูก ขนาดแปลงทเ่ี หมาะสม สาํ หรบั การจดั การที่จะแนะนาํ คือ 1000 – 2000 ตารางเมตร ƒ แปลงเพาะปลูกควรต้งั อยูใกลแ หลงน้ํา ƒ ควรมีแหลงนํ้าใชเ พียงพอตลอดทั้งปรวมถงึ นํ้าทีใ่ ชตอ งไมมนี ้าํ เค็มปนเปอนในฤดู แลง ƒ แปลงปลกู ควรมกี ารไถกอนท่จี ะมีการปกยอด เพอ่ื ใหดินเหมาะสมตอ การ เจรญิ เตบิ โต ของพืช ƒ ควรมีการเปล่ยี นถายน้ําเขาและออกจากบอ 4 – 5 คร้ัง กอ นการปก ยอดผกั บุง ƒ ควรใชย าฆา หญา กอนการปลกู ผกั บงุ ƒ ควรหวา นปยุ อนิ ทรียเชนมูลววั กอ นการปลกู ผกั 19

3. การปก ดาํ ตน พันธผักบงุ ในแปลงนา ƒ ควรนาํ น้าํ เขา แปลงปลกู ประมาณ 20 cm จากนนั้ นําตนพันธมาปลกู ลงในแปลงโดยกด โคนใหลึกลงไปในดินประมาณ 5 cm ปลอ ยสวนทเ่ี หลือใหทอดยาวไปบนดนิ ควรเวน ระยะหา งระหวา งตนอยา งนอย 30 cm ƒ โดยเฉล่ยี จะใชตน พันธผุ ักบุง ประมาณ 1,500 กิง่ ตอ พ้ืนทขี่ นาด1000 ตารางเมตร โดย จะปลูกไดประมาณ 500 กอ ƒ ควรรักษาระดับนาํ้ ท่ี ไวประมาณ 20 – 30 cm และควรเปลี่ยนถายน้ําทุกวนั ถาเปน ไปได 4. การดแู ลรกั ษา ƒ รกั ษาคณุ ภาพนํา้ ในบอ โดยการเปลย่ี นถายนา้ํ เทาทีท่ าํ ได ƒ ตอ งถอนหญาในแปลงผกั บุงออกบอ ยๆ และควรกําจดั หอยเชอรี่ซ่งึ เปนศตั รูตัวรา ยของ ผักบงุ โดยการทําลายไขทีเ่ กาะอยูในบอ ท้ิงไปป ƒ โดยปกตจิ ะมกี ารหวานปยุ เคมภี ายใน 10 วนั หลงั จากปลูกผักบุงแลว ตวั อยา งอตั ราการ ใชป ุยในนาผักบุงขนาด 1000 ตารางเมตร คอื ปยุ ยเู รีย 7 กโิ ลกรมั ดเี อพี 5 กิโลกรมั ฟอสเฟต 5 กิโลกรมั ซงึ่ จะในทีน่ ี้จะใชป ยุ เคมีเพียงสองครัง้ ตลอดการเพาะปลกู (35 – 38 kg/ครอป) ƒ ยากาํ จดั ศัตรูพชื จะใชเพือ่ กาํ จดั หนอนใบ เพ้ยี นํา้ ตาลและเพีย้ ขาว และแมงมมุ แดงซึ่ง เปนภัยกบั ผักบงุ ƒ ยากาํ จดั ศัตรทู ่ีพบใชใ นแปลงนาผกั บุงคือ Bifoliar, Applaud 10 WP, atolik ปรมิ าณท่ใี ช ขนึ้ อยกู บั สถานการณและตามทีฉ่ ลากแนะนําทต่ี ิดมากับยาแตละชนิด รูปท่ี 6 รูปยากําจัดศตั รพู ืชสาํ หรัยผักบุง 20

ขอควรระวงั ดังตอ ไปนี้คือนํา้ เค็มปนเปอ นอาจเปนอันตรายตอผักบุงนาํ้ แสงแดดแรงเกนิ ไป อาจทาํ ใหเ กิดความเปนกรดสูงในนํา้ ใหร ากผกั บุงเนาถอนรากไดหรือชว งใดทฝ่ี นตกมาก เกินไปก็อาจทําใหผกั บุง รากเนา ได บอยครง้ั ท่พี บวา การถา รจู กั การสงั เกตุอาการของโรค ผกั บุง กจ็ ะพบวา ปญ หามักจะเกดิ ในชว งระยะเวลาหรอื ฤดกู าลเดียวกันเสมอๆ ทําใหเ รารูจ ัก การปองกันหรอื หลีกเลยี่ งชวงระยะเวลาดงั กลาวได รปู ที่ 7: อาการของใบมวนทเ่ี กดิ จากหนอนผกั บุง รปู ท่ี 8 การตายของผักบุงในแปลงทม่ี ีนาํ้ เคม็ เขา มาปนเปอ น 21

5. แรงงาน สาํ หรบั พืน้ ทป่ี ลกู ผักบงุ ประมาณ 1000 ตารางเมตรนน้ั ตองการคนงานเพียง1 คน เทาน้ันและจะใชเวลาในแปลงผักบงุ เพยี ง 1 – 2 ช่ัวโมงตอ วนั ตกประมาณ 20วนั ตอ เดอื น ในชว งเวลา วันของการเกบ็ เกยี่ วในหน่ึงเดอื นน้นั ตองการแรงงานเพิ่มอีกอยา งนอยหน่ึงคน เพ่อื ทาํ การเก็บผักบุงโดยใชเวลาอยางนอ ย 3 – 6 ช่ัวโมงตอ วัน ในการเพาะปลกู ผักบุงน้ันใชแ รงงานนอยกวา ระบบการเกษตรอ่ืนๆ มาก อยางไรก็ ตามในชว งการเกบ็ เกยี่ วกอ็ าจจะเปนชวงท่ที ํางานหนักกวาปกติเสมอ 6. อปุ กรณ อปุ กรณทใ่ี ชจะเปนอปุ กรณพ ื้นฐานทัว่ ๆไปเชน ถงั พนยา, ถงั ใสป ุย, ถงุ มือ,หนากาก, จอบ, และมดี สําหรับการเกบ็ เกยี่ ว สว นรถจักรยานยนตน ั้นเปนสิง่ จําเปนที่ใชใ นการเดินทางและนาํ ผกั บงุ ไปขาย รูปที่ 9 การขนยายผกั บุงโดยรถจักรยานยนต 7. วิธีการเกบ็ เกีย่ วผักบงุ หลงั จากปลูกผกั บุง ไปได 35 – 38วนั ก็จะเร่ิมทําการตัดไปขาย โดยใชม ีดขนาดเล็ก เลอื กตดั เฉพาะยอดผกั บุงโดยจะตดั ทกุ ยอด หลงั จากนั้นนาํ ยอดผักบุงมามัดรวมกนั เปนกาํ โดยน้ําหนกั เฉลยี่ กาํ ละ 1.2 กโิ ลกรมั โดยปกติเกษตรกรจะสามารถเลอื กไดวาจะขายเฉพาะ กา นซ่งึ จะตอ งจา งแรงงานมาชวยตดั ใบท้ิงกอ นนาํ ไปขายสง ท่ีตลาด หรอื เกษตรกรบางราย อาจนําผกั บุง ทงั้ หมด (รวมทง้ั ใบ) ไปขายใหกับบอ ปลาเพ่ือเปน อาหารใหปลากินพชื ท้งั หลาย 22

รปู ท่1ี 0 ภาพผกั บงุ ท่ีกําลังเจริญงอกงามดใี นแปลงนา รูปท1่ี 1 ภาพเกษตรกรกําลังเกบ็ เกย่ี วผักบุง รปู ที่ 12 การตัดใบผกั บงุ ทงิ้ กอนการสงขายตลาด 23

ปจจยั เรือ่ งฤดกู าล พบวาผลผลติ ของผักบงุ ในชวงฤดูแลง จะนอยมาก (ม.ค.-พ.ค.) โดย พบวาสามารถเกบ็ เกี่ยวไดเ พยี ง 30 กาํ ตอพ้ืนที่ 1000 ตารางเมตรในชว ง 10 วนั ของการเก็บ เก่ียวในแตร ุนเทาน้ัน สว นในฤดูฝนพบวา ผักบุงเจรญิ งอกงามดี โดยสามารถเก็บเกีย่ วไดถงึ 60กาํ ตอพ้ืนที่ 1000 ตารางเมตรในการเก็บเกย่ี วของแตล ะวนั และอาจจะตดั ผกั บุง ไดถ ึง 15 วันตอครอป การเก็บรักษา ผักบงุ ท่ถี ูกตัดแลวแตย งั ไมไ ดสง ขายตอ งเกบ็ ในท่ีเย็นและตอ งไมใหผกั ถกู แสงแดด เพอื่ ใหผักคงความสดควรรดน้ําบอ ยๆ เพือ่ ปอ งกนั ผักเหย่ี วจะทําใหเ สียราคาตาม ไปดว ย การเปลยี่ นพันธผักบงุ ใหม โดยสวนใหญเกษตรกรจะเปลยี่ นกิ่งพนั ธผักบงุ ทจี่ ะใชป ลูกทุกๆ 1 – 1.5 ป เพื่อใหมั่นใจวาจะไดผ ลผลิตตอ เน่ืองเพราะเมอ่ื ผกั บุงทป่ี ลกู อายเุ พิ่มขน้ึ เรอื่ ยๆจะทํา ใหผ ลผลติ ลดลง ราคา ราคาผลผลติ ผกั บุงคอ นขา งจะคงที่ โดยราคาเฉลย่ี อยูที่กําละประมาณ สาม-หา บาท แตใ นฤดแู ลงราคาจะเพิ่มขึน้ ถงึ ประมาณกําละ สบิ บาท 8. โรคผักบุง โรคใบมวนท่ีเกิดจากหนอน เพ้ียนา้ํ ตาล เพยี้ ขาว และแมงมุมแดง รวมถึงหอยเชอร่ี ส่ิง เหลาน้ลี วนเปน ศัตรูตอ การปลูกผกั บงุ ขอ มลู เรือ่ งการกาํ จดั ศตั รพู ชื สามารถรับไดจ ากกรม ควบคมุ ศัตรพู ืชและบรษิ ทั ผผู ลิตยาฆาแมลงบางชนิด 9. โรคผกั บงุ และการรักษา (ขอมูลจาก ธาน ธิ เทยี น อนั กรมปองกันพันธพุ ชื คณะ อตุ สาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยนองลมั แหง นครโฮจมิ นิ ส) ก. โรคราสนิม ลกั ษณะของโรค ƒ เกดิ การตดิ เช้ือที่ตาออ น กาน และกา นใบ ƒ ใบเกิดการผิดรูป เชนใบหงกิ ƒ ใบถกู ปกครมุ ดว ยราสีขาว ƒ ถาไมไ ดรบั การรักษา ราสขี าวเหลา น้ีจะขยายเปนวงกวา งซงึ่ สามารถเกิดความ เสยี หายตอ ใบผักบุงได การปอ งกนั และรกั ษา ƒ จดั การแปลงเพราะปลกู อยางดี ƒ นาผกั บงุ ควรสูบนาํ้ ออกและตากใหแ หงในชว งการเตรยี มแปลงเพาะปลูก ƒ ใชยา Mexyl MZ 72WP, Zineb 80WP ฉดี พน เพื่อการฆา หญา ในแปลงนา ในชวงการเตรยี มแปลงเพาะปลูก ƒ เพอื่ ปองกันโรคระบาดแนะนาํ ใหใ ช Alpine 80WP, Curzate M-8 50W ฉดี พน ให ทว่ั เม่ือพบวา ผกั บุงเปนโรคในระยะแรก 24

รปู ที1่ 3 ภาพแสดงใบผักบุง ท่ีพบวาเปนโรคราสนมิ ข. โรคจุดตามใบผกั บงุ ลกั ษณะของโรค ƒ สามารถเกิดไดในผักบุงทุกชวงอายุ แตสว นใหญจะพบในใบแกก อน ƒ เมอ่ื เรม่ิ ตดิ เช้ือจะพบวาใบผักบงุ จะมีจุดกลมๆ รูปไขเกดิ ขนึ้ ขนาดประมาณ 2-3 มลิ ลิเมตร จนอาจใหญไดถ งึ 1 เซนติเมตร ƒ เม่ืเกิดการระบาดแบบหนักๆ จะพบจดุ ท่ีเกิดขน้ึ ตามใบจะเปล่ียนสีเปนสเี ทาหรอื สี นาํ้ ตาลแดง ƒ การติดเชื้อโรคทีใ่ บผักบุงนีอ้ าจทําใหใบฉีกหกั หรือตายได ƒ โรคท่ีพบมกั จะเกิดกับใบดานลางกอนเสมอๆ การปองกนั และรกั ษา ควรตดั ใบทพ่ี บตดิ โรคนําออกไปทงิ้ นอกแปลงนาหรือเผาทาํ ลายเสีย ใชยา Zineb 80WP, Rovral 50WP, Funguran OH 70WP aทป่ี รมิ าณการใชที่ ความเขม ขน 0.2% เพื่อนํามาพน บริเวณใบเพอ่ื ปองกันโรคระบาด รปู ที่14 โรคใบจดุ ในผักบุง 25

10. ปญ หาท่ีพบ ƒ ปญหาที่สําคญั คืแมลงศตั รูพืช ƒ ไมส ามารถควบคมุ การเปล่ยี นแปลงของสภาพอากาศได ƒ มลภาวะทางน้ําทําใหผ กั บงุ ตายและขาดการเจรญิ เตบิ โตเปน จํานวนมาก ƒ ผลจาการใชยาฆาแมลงมากเกินไปกอใหเกิดการตกคางอยใู นผกั บุงและจะเปน ผลเสียตอ ผูบริโภค 11. การปองกนั ƒ ใชถุงมือยาง หนา กาก ยาง เส้อื ครมุ เมอ่ื จะฉดี พนยาฆา แมลง 12. ผลกําไรที่ไดร ับ จากผลการศึกษาพบวา พื้นท่ปี ลกู โดยเฉลี่ย 2500 ตารางเมตร นัน้ ตอ งใชแรงงานใน ครอบครัว ส่คี น พบวาเกษตรกรสามารถทํารายไดเ ขา ครอบครัว 77980 บาทตอ ป โดย รายไดท้งั หมดนีจ้ ะเปนคา ใชจายแรงงานในครอบครัวประมาณ 50 บาทตอวัน โดย ยังพบวา อาชพี นีย้ งั คงทาํ รายาํ ดคอนขางตํา่ คอื 3094 ตอป สาํ หรับ 2500 ตารางเมตร 13. ผลประโยชนที่ไดจ าการปลูกผักบุง ผักบุงเปนผักที่มคี วามตองการจากผูบริโภคในเวียดนามสูงมาก โดยสามารถนาํ ไป ปรุงอาหารไดห ลากหลาย และผักบงุ ยงั เปน แหลงอาหารทส่ี ําคัญในชวี ติ ประจําวนั สําหรับคน ในเมอื งโฮจิมนิ ส ดว ยรายไดท ดี่ จี ึงมเี กษตรกรปลูกผกั บุงจาํ นวนมาก นอกจากน้ีอาชีพปลูกผกั บงุ ยัง ชวยกระจายรายไดแ ละสรางงานไปยังหนวยตางๆ เชนการจางคนมาตดั ใบทง้ิ กอรนาํ ไปสง ขาย 26

คมู ือการปลกู ผกั กระเฉดบริเวณรอบเมอื งโฮจมิ ินส ประเทศเวียดนาม 1. การเลือกตน พันธ การปลกู ผกั กระเฉดท่ปี ระสบความสําเรจ็ ข้ึนอยูกับคุณภาพของตน พันธเปน หลกั เราจึงควร เลือกตนพนั ธทุ ด่ี ีตามหลกั การตอไปน้ี ƒ มลี กั ษณะภายนอกทีด่ ี แข็งแรง กิ่งอวบใหญ มที นุ ทีส่ มบรู ณ สวยงาม ƒ มคี วามยาวโดยเฉล่ยี ประมาณ 40–60 เซนติเมตร ƒ มจี ํานวนใบหนาแนน และมีรากแขง็ แรง ควรเปน ยอดออ น อยา เลือกยอดตนพันธท ีแ่ ก เกินไป ƒ ไมเ ปนโรคท้ังทบ่ี ริเวณก่ิง กา นรวมถึงทุนรอบๆกงิ่ ควรมีใบทส่ี ด แขง็ แรงไมม อี าการเหี่ยว หรือใบเหลืองปรากฎ รปู ท่ี 1 ภาพการการผกั กระเฉดท่เี รมิ่ ปลูกใหมๆ 2. การเตรียมนาปลูกผักกระเฉด ƒ ขนาดของแปลงกจ็ ะตา งกนั ขนึ้ อยูกบั ความสามารถของผูปลูก ขนาดแปลงทเ่ี หมาะสม สําหรับการจดั การท่จี ะแนะนําคอื 1000 – 2000 ตารางเมตร ƒ แปลงเพาะปลกู ควรต้งั อยใู กลแหลงนํ้าสามารถเปลี่ยนถายนาํ้ ไดสะดวก ƒ ควรมแี หลงน้ําใชเพียงพอตลอดทงั้ ปร วมถึงนํ้าทใี่ ชตอ งไมมีนํ้าเคม็ ปนเปอ นในฤดแู ลง ผกั กระเฉดตองการนาํ้ ท่มี ีคุณภาพดี การเปลยี่ นถายน้ําบอ ยก็ทําใหผ ักมกี ารเจริญเตบิ โตดีขึ้น ƒ แปลงปลกู ควรมกี ารไถกอ นท่ีปลกู ผัก เพ่อื ใหดินเหมาะสมตอ การเจรญิ เติบโตของพชื ƒ ควรมกี ารอดุ รอยร่ัวของแปลงนาผักกระเฉด(ถา มี)ทุกครงั้ ทต่ี ากบอในบริเวณนํ้าทว มถงึ ควร สรา งคนั นาสูงกวาปกติเพือ่ ปอ งกันนํ้าทว ม ƒ ควรใชย าฆา หญา กอ น 2-3 การนา้ํ เขา แปลงนา ƒ ควรปลกู ผกั กระเฉดหลงั จากนําน้ําเขาแปลงนา 4 – 7 วนั เพ่ือใหดนิ และนํ้ามกี ารปรบั สภาพ หรือเกษตรกรควรมีบอ พกั น้ําเพ่ือพกั นํา้ ไวอ ยา งนอ ย 2-3 กอ นการสบู นํา้ เขา แปลงนา 27

ƒ หลังจากนาํ นา เขาบอแลวสามารถหวา นปยุ คอกเพื่อใหเ ปนสารอาหารคงอยูในน้าํ กอนการ ปลูกผกั ถา ใชป ยู ขีห้ มู ควรใชในอตั ราสวน 50 กก./1000 ตอ ตารางเมตร 3. การปลกู ผักกระเฉดในแปลงนา การปลกู นน้ั มีสองวิธีท่ใี ชอยใู นเมอื งโฮจิมินสคือ วิธที ี่ 1นําผักกระเฉดมาแยกเปนกาํ ๆ กาํ ละ3 – 4 ยอด แลวกน็ ําแตล ะกาํ ไปมดั กับไมไผซ่ึง ตรงึ อยกู บั กน บอ ควรควรเวน ระยะหางละหวา งกอ กอละ1.5 – 2 เมตรซึ่งจะทาํ ใหผ กั กระเฉด จะทอดยอดไดด ขี ้นึ แตถาเวน ระยะนอ ยเกนิ ไป ผักกระเฉดจะแนนเกินไป ทาํ ใหก าร เจริญเติบโตและผลผลิตไมด ีเทาทคี่ วร วธิ ที ี่ 2 คือการนํายอกผักกระเฉดทเี่ ปนตนพนั ธไุ ปมดั ไวกับเชอื กท่ขี งึ กบั หลักซ่งึ สามารถ เลื่อนข้นึ ลงตามระดับนาํ้ ในบอได โดยแยกเปน แถวๆ แตล ะแถวมีระยะหางอยางนอยคร่งึ เมตรเพือ่ การเจรญิ เติบโตทด่ี ี ผกั กระเฉดมกั จะปลูกรว มกับแหนเพ่ือใหแ หนชว ยบงั รม ใหผกั กระเฉดทําใหแ สงแดดสง ผา น ไมถ งึ กนบอทาํ ใหไมมีสาหรายในบอ แตเ กษตรกรก็ตอ งกําจัดแหนออกบา งถามมี ากเกินไป เพราะแหนเหลา นีก้ ด็ ดู แรธาตุในบอ ผักกระเฉดดว ยเหมอื นกัน ปกตแิ ลวแหนท่ีไดจากนาผัก กระเฉดจะถูกขายใหบอปลาเปนรายไดเ สริมตอ ไป 4. การดูแลรักษาและการจัดการ ƒ ควรเปลี่ยนถายนํา้ ในบอบอยๆ เพ่ือรักษาคณุ ภาพนาํ้ ในบอ โดยปกติแลวเกษตรกรที่น่ีจะ ถายนา้ํ ประมาณ สองคร้ังตอเดอื น นา้ํ ทจ่ี ะนํามาเปล่ียนถา ยก็ควรเปน นํา้ ที่มีคณุ ภาพดีเชน ในชว งนา้ํ ข้นึ เปน ตน ƒ ควรกําจัดแหนออกเปน ประจําเพราะถา มแี หนมากเกินไปนอกจากผักกระเฉดจะโตไมไ ดี แลวยังทาํ ใหมีหนอนจาํ พวก Nymphula enixalis และ Pyralis sp.ซ่งึ จะทาํ ลายผลผลิต ผกั กระเฉดจํานวนมาก ปญ หาเรอ่ื งปริมาณที่เหมาะสมของการปลูกผักกระเฉดรว มกบั แหนนนั้ สามารถเรียนรูไดจากประสบการณ รูปท่ี 2 การดแู ลรกั ษาผักกระเฉดในแปลงนา เชนการเปล่ียนเชอื กมดั 28

แหนท่ไี ดจ ากแปลงผกั กระเฉดสามารถขายเปนอาหารปลาเพอื่ เปน รายไดเสรมิ ไดแ ต เกษตรกรกต็ อ งใสปยุ ลงในแปลงนาเพ่ิม การหวา นปยุ ในนาผักกระเฉดน้นั อัตราการใชจะแตกตางกันไปเชนจะกระทําทุกๆ 3 วนั ในชวงเดือนมีนาคมถงึ เดือนสิงหาคม และเกษตรกรสว นใหญจะหวา นปยุ ทกุ วันในชวงเดอื น กันยายนถงึ เดือนกุมภาพันธุ สวนปยุ ทใ่ี ชจ ะมีดังตอ ไปน้ี ƒ ปยุ ยูเรยี 3 – 5 กิโลกรมั ตอ ครัง้ นาํ มาละลายในนํา้ สาดใหท ั่วบอ ƒ ปยุ ฟอสเฟต 7 – 10 กิโลกรมั ตอครงั้ นํามาละลายในน้าํ สาดใหทวั่ บอ ƒ DAP: 3 – 5 กิโลกรัมตอครง้ั นํามาละลายในนําสาดใหทั่วบอ ƒ ปุย หมักท่ไี ดจ ากการหมกั ผักหรือหญานมาสาดในบอในปรมิ าณ 0.3 – 0.5 กโิ ลกรมั ตอ ครั้ง ยากาํ จดั แมลงศตั รูพชื ควรใชในอตั ราสวนทร่ี ะบุในฉลากยาโดยควรใชเฉพาะเมือ่ พบวามี แมลงรบกวนใบหรือทุน ของผกั กระเฉดเทา นั้น ยาทใี่ ชควรฉีดพน เหนือแปลงผักกระเฉด เทาน้นั เกษตรกรควรสงั เกตรแปลงผักกระเฉดของตวั เองอยา งใกลชิดเพอ่ื การปอ งกนั โรคหรือแมลง ไดท นั เวลา โดยปกติแลวผักกระเฉดเปน ผักทไี่ มคอยทนทานตอ โรคสามารถตดิ โรคและ ระบาดไดทั่วแปลงนาภายในสามวนั ซึ่งยาฆาแมลงท่ใี ชกันอยูท้ัวไปคอื Wofatox 50ND, Furadan, Basudin 10H, Sevin 50BHN, DDT 30ND อยา งไรก็ตามอัตราการใชไมคอ น แนน อนขึ้นอยูกับปรมิ าณการระบาดของโรค 5. แรงงาน โดนเฉลีย่ แลวพบวาเกษตรกรผูปลูกผักกระเฉดหน่ึงครอบครวั มแี ปลงนาขนาด ตารางเมตร แรงงานสวนใหญม ีหนาที่ตัดผักกระเฉดหรือดูแลแปลงผักเปนสวนใหญ โดยเฉพาะชว งเกบ็ เกยี่ วผักกระเฉดซง่ึ สวนใหญม ักจะทาํ งานเต็มเวลาทาํ ใหเ กษตรกรผูปลกู ผกั กระเฉดไม สามารถทาํ งานอืน่ ได 6. อปุ กรณภ ายในฟารม การปลูกผกั กระเฉดไมจาํ เปนตองมีอุปกรณมาก ไมตองลงทนุ มากเกินไป การปลูกผกั กระเฉดกค็ งใชเพยี งจอบ ยาฆา แมลงและควรมจี กั รยานยนตเ พอ่ื การสงผกั ไปขายตลาด 7. การเกบ็ เกีย่ วผกั กระเฉด หลงั จากปลูกผักกระเฉด 3 – 4 วัน กส็ ามารถตดั ผักขายได โดยปกติในการตดั ครงั้ แรกจะ เลอื กตดั ยอดผกั กระเฉดออกเพียงครง่ึ เดยี วกอนเพ่ือปลอยใหย อดทเี่ หลอื เจริญเติบโตทด่ี ีขนึ้ ควรตดั ผักยาว 0.5 – 1 เมตร ผลผลติ ท่ีไดจะแตกตา งกันไปตามฤดูกาลเชนในฤดรู อ นจะตัดผักไดเพียงหนึ่งครง้ั ตอ สปั ดาห็ แตในฤดูฝนสามารถตดั ผักไดท กุ วนั 29

รปู ท่ี 3 แสดงภาพการตดั ผกั กระเฉด การบรรจุหีบหอเพ่อื การขาย กอ นการขายตองจัดผักและกาํ เปนมดั ๆเพือ่ สงขาย กอนหนา นัน้ คอื การทําความสะอาดตัดราก ใบท่เี นาเสยี รวมถงึ ทุน ออกจากยอดผกั กระเฉดกอ นการนาํ ไป มดั รวมเปน กํา แตแ ละกําประกอบดวย ผกั กระเฉด 10 – 20 ยอด ขึ้นอยกู ับขนาดของยอดซึง่ โดยปกตแิ ลวแตละกาํ จะหนกั เฉลี่ยประมาณ5 กิโลกรมั จากน้ันกน็ ําสง ขายไดเ ลย การเก็บรกั ษา ผกั ท่ไี ดห ลงั จากการเก็บเกย่ี วแลว น้ัน ตอ งสงตลาดใหเ รว็ ที่สดุ เพือ่ รกั ษาความ สดของผัก นอกจากนีค้ วรจะเก็บผักไวใ นท่ีเย็นและฉดี พนนํ้าบอยเพ่อื รกั ษาคณุ ภาพผกั และ ไดราคาดเี มื่อสงขาย การปลูกผักกระเฉดใหมใ นแตล ะรนุ ผกั กระเฉดตองมีการปลูกใหมท ุกๆ ป เพื่อใหผ ลผลิต ตอ เน่ืองและคงคุณภาพดี เพราะผลผลิตจะตกต่ําเมอื่ ผกั แกขึ้น การขายผลผลิต ผกั ที่เก็บเกยี่ วและทาํ ความสะอาดแลวมกั จะถูกขายในตลาดคาสง ในชว กลางคืน แตเกษตรกรบางรายกข็ ายใหกบั พอคาคนกลาง รา นคาปลีกท้งั ใกลและไกล ราคา ราคาของผักกระเฉดจะไมคอยคงทีข่ นึ้ อยกู ับคุณภาพทีไ่ ดแ ตร าคามกั จะสูงเสมอ ในชวงฤดรู อ นเพราะปริมาณผลผลติ ทไี่ ดนอยกวาฤดูอ่นื ๆ ซ่ึงพบวาบางปราคาผักกระเฉดใน ฤดูรอนอาจสูงกวาราคาผักกระเฉดในฤดูหนาวถึง 3 เทา 8. โรคผักกระเฉด ไมม กี ารระบแุ นชัดเรอื่ งโรคและการรกั ษาโรคในผักกระเฉดรวมถงึ การจดั การคณุ ภาพนํ้าใน บอดวยโโยสว นใหญเ กษตรกรก็จะใชยากาํ จัดศัตรูพืชสําหรับพชื ใบทวั่ ไปในการรักษาโรคผัก กระเฉด 30

รปู ท่ี 5: แสดงทนุ ของผกั กระเฉดในแปลงนา 9. ปญหา ƒ ไมม ีวธิ ีการปองกนั โรครวมถงึ วธิ กี ารรักษาทีแ่ นนอน ƒ สถาพอากาศที่ไมเ หมาะสม เชน หมอกลง อาจเปน สาเหตขุ องการตายหรอื ผลผลิต ตกต่าํ ƒ ยงั ไมม ีวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมในการปลูกผักกระเฉด ƒ นาํ้ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรมทาํ ใหเ กษตรกรปลูกผักกระเฉดไมไ ดผลดี ƒ ราคาตกต่ํา 10. การปอ งอันตรายท่ีจะเกดิ กับสขุ ภาพของเกษตรกร การปองกันตัวแบบงายๆ เพ่อื ปองกนั อนั ตรายทจ่ี ะเกิดกบั สุขภาพของเกษตรกรคือ การใชถงุ มอื รองเทา ยาง และหนา กากในการฉีดพนยาศตั รพู ชื อยา งไรก็ตามมเี กษตรกรเพียงบางคน เทาน้นั ท่ีใชอุปกรณปื อ งกนั เหลา น้ี 11. เศรษฐกจิ พ้นื ทเี่ ฉลย่ี ของแปลงนาพ้ืนที่ 2000 ตารางเมตร โดยใชแ รงงาน สองคน ทํางานเตม็ เวลา เกษตรกรกจ็ ะสามารถทาํ รายไดประมาณหาหมืน่ บาทตอ ปซงึ่ จะเปนรายไดห ลกั หลงั หกั คาใชจายคอื ประมาณสีห่ มื่นบาท 12. ประโยชนของการปลูกผักกระเฉด การปลูกผกั กระเฉดไมไ ดหมายความวา จะไดประโยชนแ ครายไดเ ทา น้นั แตยงั เปน แหลง อาหารทส่ี าํ คญั ใหกบั คยในประเทศและยังชว ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและผลผลิตทางการเกษตร ของเมอื งโฮจิมินสใ นพนื้ ท่นี ํ้าทว ม แตอ ยางไรก็ตามพบวา การขยายตัวของชุมชนเมืองเปน สาเหตใุ หค ุณภาพน้ําตกต่ําและเปน สาเหตใุ หเกษตรกรทาํ การเพาะปลกู ผักกระเฉดไดยาก ขน้ึ 31

เทคนคิ การปลูกผกั น้าํ บริเวณรอบเมอื งฮานอย ประเทศเวียดนาม จดั ทําโดย ดร. ฟาม อัน ตว น, นางเหงยี น ธิ เฟอ ง, นส. เหงยี น ธิ ฮาน เธยี น, นางโฮ คมิ เดียป , นายฟาม เบา และนาง เหงียน ธิ ธาน สํานกั วจิ ยั เพ่อื การเพาะเลีย้ งสตั วนาํ้ เมืองดนิ แบง ฮานอย ประเทศเวยี ดนาม บทนาํ ผักน้ําเปน สวนหนง่ึ ของชีวติ ประจาํ วันเปน แหลง สารอาหารวิตามนิ และแรธ าตอุ ยางดีตอ ประชาชน บริเวณพน้ื ท่เี ขตชุมชนเมืองมคี วามเหมาะสมตอการปลูกพชื นา้ํ เปน อยางดเี พราะ ลักษณะพน้ื ทีท่ หี่ ลากหลายก็สามารถนาํ มาปลูกผักนา้ํ ไดดี โดยเฉพาะผักบงุ สามารถปลูกได ดที ั้งในนา้ํ และบนดนิ นอดจากนย้ี งั สามารถปลกู และเกบ็ เก่ยี วผลผลติ ไดนานถึง 9 เดือน ใน รอบปยกเวน ในฤดหู นาว คือชว ง ธ.ค.-ก.พ. จะไมส ามารถปลูกผกั ระเฉดไดผลดี แตเมื่อผลผลติ ผักบุง ลดลงก็ยังมผี ักกระเฉดและวอเตอรครสี ทเ่ี จริญเตบิ โตไดด ที ้ังบนดนิ และในนํ้าแตตอ งใกลแหลงนาํ้ สามารถเปล่ียนถา ยนํา้ ไดด ี ผักกระเฉดจะเกบ็ เก่ียวไดดี ในชวง ม.ี ค.-ก.ค.และ ผลผลิวอเตอรครีสจะออกในชวง ต.ค ถงึ เดอื น มี.ค. หลกั การปลกู พชื น้ําเหลานค้ี อนขา งจะงาย การลงทนุ ตํา่ และยังสามารถใชแรงงานภายในครอบครัว ซง่ึ จาก การศึกษาพบวา พืชนาํ้ เหลา น้ีทาํ รายไดใหเกษตรกรคอ นขางสูง การปลกู ผกั บงุ นํ้าบริเวณรอบเมอื งฮานอย ประเทศเวียดนาม ในเมืองฮานอย ประชาชนชอบรับประทานผักบงุ มาก ปกติจะใชประกอบอาหารอยทู ุกวัน ท่ี การปลูกผักบุง ของเมืองฮานอยสว นใหญจะปลูกในนํา้ ท้ิงท่สี ง มาจากชมุ ชนเมอื งเมือง เมืองฮานอยมีการปลูกผักบงุ ไดสองวิธี คือ การปลกู ผกั บงุ แบบปลอ ยลอยน้าํ เกษตรกรผปู ลกู ผักบุงแบบลอยอยนู ้ําในเมอื งฮานอยจะเรม่ิ ทําการเพาะปลกู ในชวงเดือน พฤษภาคม และจะทําการเก็บเก่ยี วหลงั จากปลกู หนึง่ เดือนไปจนถึงปลายเดอื นกันยายน ซึ่ง ปกตจิ ะเก็บเกี่ยวผลผลติ ประมาณ 20วันตอ รนุ 1. การเตรียมแปลงนาหรือคลองทจ่ี ะปลกู ผักกระเฉด ƒ การปลกู ผักบงุ โดยการปลอ ยลอยอยใู นนํ้าน้ันสามารถสามารถปลูกไดเ ปนจํานวนมากๆ เชนในลาํ คลองหรอื บอ ทเี่ คยเปน นาขาวหรอื บอปลามากอ นกส็ ามารถเปล่ยี นมาเปน 32

แปลงนาบุงได โดยพื้นท่เี พาะปลกู จะแตกตา งกนั ไปแลว แตเกษตรกรแตละราย โดย พืน้ ทเี่ พาะปลูกที่พบโดยเฉล่ยี คอื 300 – 400 ตารางเมตรซง่ึ จะงา ยตอการดูแลรกั ษา ƒ แปลงนาผกั บุง ควรมีทอ น้ําเขาและออกในแตล ะแปลง ƒ อยาเพิ่งหวา นปุยในชว งการเตรยี มแปลง 2. วธิ ีการปลูก ใชยอดผักบุงอายุ 30-40 วนั มาตดั ยอดออกแลงมัดรวมเปน กําใหญๆ (ดงั รูปที่ 1) จากน้ันท้งิ ไวป ระมาณหนึง่ อาทติ ย ซ่ึงชวงนี้ใบผักบงุ ทเี่ พิ่งปลกู จะหลุดลวงออก และก็จะเรมิ่ แตกยอด ใหม (ดงั รูปท2ี่ ) เมื่อผกั บุงท่ปี ลกู ไวเ ร่ิมทอดยอดในรองน้ํายาวข้ึน ควรจะนาํ ไมมาปกเพ่อื ให ผักบุงอยใู นพ้นื ที่เดิม (ดังรปู ท3่ี ) ผลผลิตที่ไดต กประมาณ 100-150 กิโลกรัมตอ พนื้ ที่ 150 ตารางเมตร รูปท่ี 1 การรวบรวมยอดผักบงุ เขา ดวยกันเพื่อใชเปนตน พนั ธุ รปู ท่ี 2 ยอดออนทีเ่ พ่ิงแตกตัวใหมจ ากยอดผักบงุ เดมิ 33

รปู ที่ 3 ผักบงุ เร่มิ ทอดยอดไปท่ัวลาํ นํ้า 3. การจัดการและการใสปยุ ƒ หลังจากการปลกู 5-7 วนั ควรมีการใสป ุยยเู รยี 2-3 กก.ตอพนื้ ที่ 360 ตารางเมตรตอ รุน ƒ ควรรักษาระดับน้าํ ในแปลงนาผักบุงท่ี 2-3 เซนติเมตร ควรเติมนํ้า 1-2 ครงั้ ตอสปั ดาห ƒ หลังการเก็บเกีย่ วทกุ คร้งั ควรมหี วานปยุ ยเู รยี ตามอตั ราท่ีแนะนาํ 4. การใชย าฆาแมลงในเมืองฮานอย เกษตรกรสวนใหญจ ะใชยาชื่อมอนเิ ตอร โดยมีสวนผสมหลักๆ คือ Dimethylacetin phosphoramidothioate 40% ใชฉดี พน ทกุ คร้ังหลังการเกบ็ เกย่ี วหรือเมอื่ พบวาผักบงุ เรมิ่ แตกยอดออ น 3-5เซนติเมตร 5. การเก็บเกี่ยว ผักบงุ ที่ลอยอยใู นนา้ํ จะสามารถเกบ็ เก่ยี วไดหลังจะปลอยลงในน้ําแลว 17-20 วนั ถาพบวา นํ้าลึกเกนิ ไปก็สามารถใชเรอื เขา ไปตัดผักบุง ได วิธีการเกบ็ เก่ียวที่ดที ี่สุดคอื การเด็ดดว ยมือ โดยตัดออกประมาณ 35 เซนติเมตรจากยอดและตอ งสูงจากรากประมาณ 5 เซนติเมตร หลังจากตดั ยอดออกแลว นาํ มาทําความสะอาด กําจัดใบเหลืองๆ หรือใบเนาออกจากนัน้ มา มามัดเปน กาํ หนกั กาํ ละ 800-900 กรัม ผลผลลลติ โดยเฉล่ยี 400-500 กํา ตอ พื้นท่ี 360 ตารางเมตร เกษตรกรสวนใหญจ ะตดั ผักบุง ในชวง บายสามโมงถงึ หา โมงเย็น เพื่อในไปสง ตลาดในชว งกอนหกโมงเยน็ เพือ่ ใหไ ดราคาดที สี่ ุด 34

หลงั จากการเก็บเกีย่ วคร้ังที่ สาม ประมาณ 60 วนั ตอ งทาํ ลายแปลงนาผกั บงุ เดิมและปลกู ใหมเพราะผลผลิตเรมิ่ ลดลงเพราะผกั บุงแกเ กินไป การปลกู ผักบงุ นา้ํ ในแปลงนา วิธีการปลูกผกั บุงแบบน้ตี องเติมนาํ้ เขาบออยา งนอ ย 2 คร้ังตอสปั ดาห ซึ่งจะคลา ยๆ กบั การ ปลูกผกั แบบผสมผสาน 1. การเตรียมแปลงนา การปลูกผักบุงแบบน้สี ามารถปลูกไดท ้งั ในพน้ื ท่ีลุมนํา้ หรอื พน้ื ดินธรรมดา พื้นท่ที ่จี ะ ใชปลกู ก็ข้นึ อยูกับความตอ งการของเกษตรกรแตข นาดทีแ่ นะนําคือ 360 ตารางเมตรซึง่ จะ งายตอ การจัดการ ƒ แปลงนาควรอยใู กลแ หลงน้าํ ƒ ควรไถนากอนการปก ดาํ ตนพนั ธุ ƒ ควรใสป ยุ ดังตอ ไปน้ี ฟอสเฟส 10 กก. ตอ พ้นื ที่ 360 ตารางเมตร 2. วิธีการเพาะปลูก สวนใหญเ กษตรกรจะเรมิ่ ปลกู ผกั บงุ ในเดือนมีนาคม และเรมิ่ เก็บเก่ยี วจากเดอื นเมษายนไป จนถึงเดอื นธันวาคม ซ่ึงสามารถเกบ็ เกี่ยวผลผลติ ไดประมาณ 10-13 คร้ัง ตอ รุน การปลูกจะทําไดโ ดยเตรียมยอดผักบงุ มาเปนตนพันธุจ ากนั้นนาํ มาปกลงในดินเปนกอ กอล ละ 2-3 ตน ใหเ ปน แถวตรง โดยเวนระยะหา งระหวา งกอประมาณ 15 เซนติเมตร และท้งิ ระยะหางระหวา งแถวคอื 20 เซนติเมตร ควรรกั ษาระดบั นาํ้ ใหสูงประมาณ 3-5 เซนติเมตร 3. การจกั การและการใสปยุ การจัดการและการใสปุยจะขึน้ อยูกับฤดูกาล ฤดูรอ น (เม.ย.-ส.ค.) ใสป ยุ ยเู รีย 5กก. และปุยฟอสเฟต 10 กก.ตอ พืน้ ท่ี 360ตารางเมตร ทกุ คร้ังหลงั เมอ่ื พบวาผกั บุงแตกยอดออนออกมาประมาณ 5-7 เซนติเมตร ฤดหู นาว (ก.ย.-ก.พ.) เมือ่ เริ่มปลกู ผักบุงรุนใหมใหใสป ุยฟอสเฟต 10-15กก. และ NPK 20 กก.ตอพนื้ ที่ 360 ตารางเมตรทุก เม่อื ผกั บงุ แตกยอดยาว 7เซนติเมตร ใหใ สปยุ ยเู รยี เพ่มิ 3 35

กก.ตอ พ้ืนที่ 360 ตารางเมตร ถา สภาพอากาศไมดีกไ็ มควรนา้ํ ทิง้ เขาบอ แตสวนใหญพบวา เกษตรกรจะเกบ็ ผลผลิตชวงฤดูหนาวไวใ ชใ นการปลูกผกั บุงในรุนตอไป 4. การใชย าฆาแมลง ควรฉีดพน ยาหรอื จากผักบงุ เร่ิมแตกยอดออ นยาว 5-7เซนตเิ มตร หรือเม่อื พบวามแี มลง ศัตรูพชื ปรากฏ ตัวอยา งของยาฆา แมลงทพี่ บใชในเมืองฮานอย คอื ƒ ยาชอ่ื มอนเิ ตอร โดยมีสว นผสมหลกั ๆ คือ Dimethylacetin phosphoramidothioate 40% ใชฉ ีดพนทกุ คร้งั หลงั การเกบ็ เกีย่ วหรอื เมอ่ื พบวาผกั บุง เร่ิมแตกยอดออ นยาว 3-5 เซนติเมตร ƒ 90 SP โดยมีสว นผสมหลกั ๆ คือ Trichlorfor 90%, Adjuvant: 10% รูปที่ 4 การฉดี พนยาฆาแมลงในแปลงนาผักบุง 5. การเก็บเก่ียว ผักบุง ท่ลี อยอยใู นนํ้าจะสามารถเกบ็ เกย่ี วไดหลังจะปลอยลงในนํา้ แลว 20-25 วนั ผกั บงุ ได วธิ กี ารเกบ็ เก่ียวท่ดี ที ีส่ ุดคือ การเด็ดดว ยมือทีละยอดเพราะจะทําใหผ กั โตเร็วขน้ึ หลังจากตัด ยอดออกแลว นํามาทาํ ความสะอาด กําจัดใบเหลืองๆหรือเนาออก จากนั้นนํามามดั เปน กํา หนักกาํ ละ 700-900 กรมั ผลผลิตโดยเฉลี่ย 400 กาํ ตอ พ้ืนที่ 360 ตารางเมตรในฤดหู นาวถงึ 36

เกษตรกรสามารถเกบ็ เกย่ี วไดถ ึง 10-11 ครง้ั ตอรนุ และผลผลิตโดยรวมคือ 4.5 – 5.5 ตนั ตอพื้นที่ 360 ตารางเมตรตอปป รปู ที่ 5 แสดงการขายผกั บุงของเกษตรกรแกพอ คา คนกลางเพื่อนําไปขายทีต่ ลาดตอไป 6. บันทึก ƒ ควรกาํ จัดหญา และวัชพืชออกจากแปลงนาเพ่ือปองกันเแมลง ƒ จาํ กัดการใชยาฆาแมลง ƒ หลังจากเกบ็ ผักบุงไป 3คร้งั แลว ควรกําจัดใบหรอื ยอดเกาทิ้งบา งเพอื่ เพิม่ ผลผลิต ƒ ไมควรนาํ น้าํ ทง้ิ เขา แปลงนาผกั บงุ หรือใสปุยยเู รยี ในชว งฤดหู นาว 37

คูมือการปลกู ผกั ชีลอมบรเิ วณรอบเมืองฮานอย ประเทศเวยี ดนาม 1. การเตรยี มแปลง ควรเลือกดินทเ่ี ปน ดนิ รวน มีคา พีเอชเปนกลาง (pH 6 -7) โดยมพี น้ื ทีเ่ พาะปลูกอยา งนอ ย 300-400 ตารางเมตร เพ่ือการจัดการท่ีดีนอกจากนีค้ วรมีระบบระบายนํา้ ทีด่ ี รนุ ท1ี่ : ไถพรวนดิน แลวตากใหแ หง 5 - 7วนั จากนน้ั ไถพลิกกนาดินอีกครั้งหน่ึง ใสปนู ขาว โรยปนู ขาวประมาณ 20 - 25 กก. ตอ 360 ตารางเมตร เพ่อื ปรับสภาพดนิ และ ทําลายวัชพืช หลังจากนั้น 1 –2 วนั นาํ นาํ้ เขาแปลงนาแลวกถ็ า ยออกเพอ่ื ชะลางสาหรา ย หรอื มอสท่ีไมตองการออกไป การใสปยุ หมกั (แตกตา งกนั ไป แลวแตเทคนิค) ƒ ใสปยุ พวกกระดกู ปน 30 – 50 กก.ตอ พ้ืนที่ 360 ตารางเมตรแลงจึงนาํ นํา้ เขาแปลงนาให สงู จากพื้นดนิ ประมาณ 2 –3 เซนติเมตร ƒ หรือใชพวกกระดกู ปน 100 กก.ตอพืน้ ท่ี 360 ตารางเมตรตอ การเกบ็ เกี่ยว 2-3 ครง้ั ƒ หรือ ใสป ุยคอก เชน มลู หมู 300 กก.ตอ พ้ืนท่ี 360 ตารางเมตร ƒ หรือใชป ยุ ทั้งสองแบบผสมเขา ดว ยกนั ในอตั ราสวนกระดกู ปน 20 กก.ตอพ้นื ที่ 360 ตารางเมตรและมลู ไก 30 กก.ตอพน้ื ที่ 360 ตารางเมตร หลงั การเกบ็ เกย่ี วครั้ง 2nd:: ไถพรวนดนิ แลวตากใหแ หง 5 – 7วันถาดินยงั แขง็ อยูค วรไถ เพ่ิมอกี ครง้ั หน่งึ หรือถาดนิ รว นดีแลว ก็กําจัดวชั พชื และหวานปุย จําพวกกกระดูกปน 20 กก. ถาในแปลงนามมี อสควรสาดปูนขาวเพ่มิ ในอตั รา 30 กก.ตอ 360 ตารางเมตร 2. วิธกี ารเพาะปลกู เกษตรกรมกั เริ่มปลกู ผกั ชีลอ มในเดือนกรกฎาคม แตอ ยา งไรกต็ ามชว งที่เหมาะสมทส่ี ดุ ตอ การปลูกผักชลี อ มคือ ธ.ค.ถึง ก.พ.ของทุกป การเลือกตนพันธ เลือกตนทโ่ี ตเต็มวัย และแขง็ แรง 38

วธิ ีการเพาะปลูก แบง ที่ดินขนาด 360 ตารางเมตร ออกเปน แปลง อยางนอย 5-6 แปลง (กวางประมาณ เมตร ตอ แปลง) ปลกู ตน ผักชีลอ มเปนแถวยาว โดยเวน ระยะหา งระหวา งตน ประมาณ 5 – 7 เซนตเิ มตร รปู ท่ี 6 ผกั ชลี อมท่ีเพงิ่ ปลกู ใหม 3. การดแู ลรักษา ควรรักษาระดบั น้ําใหสูงประมาณ 3-5 เซนตเิ มตร (ดังภาพ 6) อยา สปู นาํ้ เขา แปลงนาสูง จนเกนิ ไปอาจเปนสาเหตุใหรากเนา ได อุณหภมู ิท่ีเหมาะสมคอื แกก ารเพาะปลกู คือ 15- 200C. 1st การใสป ยุ คร้งั แรก: 10-15 วนั หลังจากการยา ยมาปลูกในแปลงนาซ่งึ พบวา ผกั ชีจะมี ความสงู ประมาณ 7-10 cm หลงั จากนัน้ หวานปยุ ยูเรยี 2 กก. และ NPK อกี 20 กก.ตอ 360 ตารางเมตรอีก หลงั จากน้ัน วันควรฉดี ยาฆา แมลง 2nd การใสป ุยครั้งที่สอง: หลังจากหวานปยุ ครงั้ แรก 7-10 วัน ก็หวานปยุ ซํ้าลงไปใหม โดย ใชอตั ราสวน ปุย ยเู รยี 1.5กก. และ ฟอสเฟต อีก 5 กก.ตอ 360 ตารางเมตรอีก หลังจากนั้น วนั ควรฉดี ยาฆา แมลง 3rd การใสปยุ ครัง้ ที่สาม: หลงั จากผานไปหนึ่งเดือน ตอ งหวา นขี้เล่ือยหรือขเ้ี ถา ประมาณ 20 กก.ตอพ้ืนท่ี 360 ตารางเมตร หลังจากน้ัน 10 วนั ก็เรม่ิ การเกบ็ เกย่ี วครั้งแรก การใสปุยตามธรรมชาติ หวานปยุ ในชวงกลางวันและฝนไมต ก 39

รูปที่ 7 การหวานปยุ ในแปลงผกั ชีลอ ม การใชปยุ เคมี เกษตรกรมกั จะใชป ยุ เคมีอาทติ ยละหนง่ึ ครัง้ เพื่อชว ยการ เจรญิ เติบโตของใบ อัตราทส่ี ว นที่ใชควรอา นจากฉลากขา งขวด รูปที่ 8 ตวั อยา งปยุ เคมีทเี่ กษตรกรใช ตัวอยางของปยุ เคมีทีเ่ กษตรกรในเมืองโฮจิมนิ สใชก ารปลฏู ผักชีลอ มคือ ƒ TS 96 ซ่งึ มสี ว นผสมหลักคือๆ K2O ≥ 1,5%, Cu ≥ 0.05%;Zn ≥ 0,5%;Mn ≥ 0.05% ;Bo ≥ 0.02% mineral , acidamin ƒ HQ 909 ซึง่ มสี ว นผสมหลักคอื ๆ N 10%, P2 O5: 5%, K2O : 5% Ca, Mg, Cu, Zn, Fe, Bo, Co.>1000ppm และแรธ าตุ, วิตามนิ ทไ่ี มเปน 40

ƒ PHITO ซ่ึงมีสวนผสมหลักคือๆ §a lîng : N, K2O, P2O5 Vi lîng : Fe, Cu, Zn, MO, Mn, Mg การฉดี พนสารเคมี การฉดี พนสารเคมีควรทาํ ในชวงเชาพบวา เกษตรกรจะใชยาเพ่ือปองกนั แมลงศตั รพู ชื อยา ง นอ ย 2 ถึง3 คร้งั ในชว งการปลกู ครง้ั แรก ถา เปน ชว งอากาศไมดี ไมค วรใชย าฆาแมลง และ ควรเวนระยะการเกบ็ เกี่ยวอยางนอย 7 – 10 วนั หลงั การฉดี พน ยาฆาแมลง ตัวอยา งสารเคมี ท่ีเกษตรกรใชคือ ƒ TIL หรอื FORO เปน ยากาํ จัดแมลงศตั รูพชื ควรฉีดพน อยางนอ ย 2 ถึง3 ตอ ครอป หรอื ฉดี พนทนั ทเี มื่อพบการระบาดของแมลง ƒ Cyperkill ซึง่ มสี วนผสมหลักคอื ๆ Cypermethrin 100g/lit ƒ Sherpa Super 550EC ซ่ึงมีสว นผสมหลักคอื ๆ Chlorpyrifos ethyl 50%, Cypermethrin 5%, Adjuvant: 45% ƒ 90 SP ซ่ึงมสี ว นผสมหลักคอื ๆ Trichlorfor 90% และ Adjuvant: 10% ƒ Score ซึง่ มสี ว นผสมหลักคอื ๆ Difenoconazole/L ƒ Red spider (จนี ) หรอื เรยี กอกี อยา งหนงึ่ วา Ortus 5SC จากประเทศญีป่ นุ รูปท่ี 9 แสดงตวั อยา งของยาฆา แมลงท่ีใชในการปลกู ผกั ชลี อ 41

4. การเก็บเก่ยี ว วันกอนการเก็บเกี่ยวผลผลิต อยา เติมนา้ํ เขาแปลงผัก เพราะอาจทําใหใบเนา ได วนั ที่ เหมาะสมตอการตัดผักคือวนั ทไี่ มม ลี มตะวันออกเฉียงเหนือพัดผา น เพราะจะทําใหผักชีไม เหย่ี วงา ยหรือตน ลมจากแรงลม การตดั ผักชีลอ มจะทาํ โดยใชมดี ตัดทีโ่ คนจากนั้นนํามาลางทําความสะอาดแยกใบเสยี ท้ิงไป จากนัน้ มามามัดรวมเปน กาํ แตล ะกําหนักประมาณ 700-800กรมั ชวงของการเกบ็ เกี่ยวมกั เปนชวงทีต่ อ งทาํ งานหนักมาก หลงั จากเก็บเก่ียวผักชลี อมออกจากแปลงนาแลวควรไถพรวน โดยปกติแลว จะมกี ารปลกู ผกั ชลี อ ม 3-4 ครั้งตอป ผลผลิตที่ไดประมาณ 2.5 - 3.0 ตันตอ พน้ื ที่ 360ตารางเมตรตอรนุ แตล ะรนุ จะใชเ วลาในการปลูกประมาณ 2.5 เดือน มกั เรม่ิ ปลกู กันในเดือนกรกฎาคมถึง กลางเดอื นกันยายน แตถา อากาศดผี ักชีลอ มก็จะเจรญิ เตบิ โตดี และถึงขนาดทต่ี ลาด ตอ งการไดเร็วและมากกวา โดยพบวาปริมาณผลผลิตสว นใหญคอื มากกวา 1000 กก.ตอ พน้ื ที่ 360ตารางเมตรตอ รุน การปลกู ผักชลี อมในรุน ที่สองในรอบป จะใชเวลาประมาณ เดือน ชวง ก.ย.ถึง พ.ย. เพราะ อากาศหนาวผักไมเ จรญิ เติบโต ผลผลติ โดยเฉลยี่ ประมาณ 800กก.ตอพ้ืนที่ 360ตารางเมตร ตอรนุ รปู ที่ 10 แสดงการลางผักชลี อ มกอนการสงขายตลาด 42

การดูแลรกั ษาแปลงตนพันธุผักชีลอม โดยทวั่ ไป เกษตรกรจะทําแปลงขนาดเลก็ เพอื่ เก็บตน พันธุไวในการเพาะปลูกในปถดั ไป โดยแปลงผักมขี นาด 100-200ตารางเมตร จะตอ งรดนาํ้ อยา งสมํ่าเสมอ แตไมตองหวานปุย หรือฉดี พน ยาฆา แมลง 5. บันทึกชวยจํา ƒ ควรขึงตาขา ยรอบแปลงผักชลี อมเพื่อปอ งกนั หนูนา ƒ ไมจําเปนตอ งฉีดพนยาฆา แมลงกบั การปลูกรนุ ท่ใี นแตล ะป เพียงแตปลอยนา้ํ เขาแปลง นาแลว ทิง้ ไวประมาณหนงึ่ ชั่วโมงกอนปลอ ยนา้ํ ออกจากแปลงผัก เพื่อใหแ มลงจมน้ําตาย ไปเอง ƒ ผกั ชีลอมไมตอ งการปุย ปริมาณมากเพราะถาใสม ากเกนิ ไปอาจจะทําใหผกั เฉาตายได ƒ 10 วนั หลังจากทําการยายผักจากแปลงเพาะชําไปลงแปลงปลกู ควรฉดี พน ยาฆาแมลง เพือ่ กนั แมลงศัตรพู ืช 43

คูมอื การปลกู ผักกระเฉดบรเิ วณรอบเมืองฮานอย ประเทศเวยี ดนาม 1. การเตรียมแปลงนา ƒ ไถแลว ตากดินไวใหแหงประมาณ 5 -7 วนั ƒ ไถอกี ครง้ั หน่ึง ƒ นาํ นํา้ เขาแปลงนาใหระดับนา้ํ สงู ประมาณ 50-60เซนตเิ มตร ƒ พ้นื ท่ีทแ่ี นะนําวาเหมาะสมตอการปลกู ผักกระเฉดคือ ตารางเมตร ควรใกลแหลงนาํ้ มที อ นาํ้ เขาและทอนํ้าท้ิงและอยาเพงิ่ ใสป ุย 2. วิธีการเพาะปลูก เกษตรกรจะปลูกผกั กระเฉดในชวง เดอื นเมษายน โดยเกษตรกรจะปลกู ตนพนั ธุบนแปลงผกั เล็กๆ หลังจากผกั กระเฉดมีอายุได 15 วนั ก็สามารถมายา ยไปปลูกในแปลงใหญไ ด การเลอื กตน พนั ธุ เลอื กทร่ี ปู รา งแขง็ แรง และมีรากสีแดงและยาว พรอมกบั มีทนุ สีขาวสวย วธิ ีการปลกู ตนพนั ธผุ กั กระเฉดในนาํ้ เกษตรกรสว นใหญใ ชวิธีนี้ในการปลูกผกั กระเฉด ทาํ ไดโดยผูกเสนเชือกในบอใหเปน แถว แตละแถวหางกันประมาณ1.3 – 1.5 เมตร แตล ะ ยอดจะถกู ผกู เปน แถวโดยแตละตนจะถูกผกู หางกันประมาณ 40-50 เซนติเมตร (จากรูป 11) รูปที่ 11 แสดงภาพผกั กระเฉดทเี่ พ่ิงปลกู ใหมในแปลงนา หลังจากปลูกไปประมาณ 10-15 วนั ผักกระเฉดจะแตกยอดยาวประมาณ 80 เซนตเิ มตรถึง หน่ึงเมตร ควรตดั ยอดแรกออกประมาณ 60 เซนติเมตร เพ่ือใหการแตกยอดดขี ้ึน 44

3. การจดั การและการใสปยุ ƒ ควรใสแ หนลงในแปลงนาอยางนอย 40 กก.ตอ พ้ืนที่ 360 ตารางเมตร ƒ ไมค วรใสแ หนมากเกินไปเพราะแหนจะไปแยงธาตุอาหารจากผกั กระเฉด ƒ หลงั การเก็บเกี่ยวครั้งแรกควรชอ นแหนออกประมาณ 160 กก. ตอพืน้ ท่ี 360 ตารางเมตร ƒ ควรรักษาระดบั น้าํ ในบอท่ี 50 เซนติเมตรแตเ กษตรกรบางทานอาจน้ํานาํ้ เขาสูงถงึ หนงึ่ เมตร ƒ เกษตรกรควรจดั แปลงผักบอยๆเพ่ือใหมชี องวา งเพ่มิ มากขึน้ ทาํ ไหไดผ ลผลติ มากขึ้น ƒ ถา ปลูกผกั กระเฉดในน้าํ ทิ้ง ควรสาดปยุ ยเู รียประมาณ 3กกตอ พื้นที่ 360 ตารางเมตร ƒ แตถ าไมไ ดปลกู ในนํา้ ทิ้งควรเพ่ิมปริมาณยเู รียเปน10 กก. รูปท่ี 12 การชอ นแหนออกจากแหปลงนาผกั กระเฉด เพอ่ื น้ําไปเปนอาหารปลา 4. การเก็บเกยี่ ว ƒ เมื่อยอดผกั กระเฉดทอดยาวถงึ 100 -120 เซนตเิ มตร ควรเก็บขายไดโดยการเด็ดดว ย มอื ออกทล่ี ะยอดแตละยอดยาว 70 เซนติเมตร หลงั จากน้ันนาํ ผกั กระเฉดมาลางแลวตดั รากออก(ดังภาพที่ 13ก)จากนั้นนําไปมดั เปนกาํ ๆ ละ 4-5 ยอด ƒ หลังจากเกบ็ เกยี่ วไปได ครั้ง เกษตรกรควรมีการปลูกผกั กระเฉดเพม่ิ โดยใสย อดออนเพ่มิ 4-6 ยอด เพม่ิ รักษาปริมาณของผลผลิต (ดงั ภาพ13ข) ƒ การผกู ยอดผักกระเฉดเพิ่ม(ดงั รปู 13ค) 45

60 เพอ่ื การเกบ็ เกย่ี ว cm สว นนี้ทง้ิ ไป 40 ตัด แถว cm แนว แถว นาํ มาผูกกับเสน วนั ถดั มา เชือกทข่ี ึงไวใหม ยอดทต่ี ดั ขาย รูปท่ี 13ก ตดั สวนนี้ออกประมาณ 60cm เพือ่ ขาย รูปท่ี 13ข ตดั กิ่งยอดสว นนี้ทง้ิ ไป รปู ท่ี 13ค นํายอดทไี่ ดใ หมม าผูกกบั เสนเชอื กเพ่ือขยายพันธตุ อไป รูปที่ 14 การเกบ็ เกีย่ วผลผลิดผักกระเฉดโดยมดั รวมเปนกาํ ๆ 46

การรักษาตน พันธุ ƒ หาพ้นื ทีเ่ ล็กๆขนาด ตารางเมตร เพอ่ื เปนท่ชี ําพันธุผ ักกระเฉดกอนถา ยลงมา ปลกู ในแปลงนา ไมควรนํานาํ้ ทิ้งมารดผกั ƒ จากคาํ บอกเลา พบวา เปนการยากมากทจี่ ะรักษาพนั ธผ ักกระเฉดตองมี ประสบการณส ูง ปกติเกษตรกรในเมอื งฮานอยจะซอ้ื พนั มุ าจาก เมอื งอื่น 5. บันทกึ ชวยจํา ƒ ไมควรใชยาฆาแมลงกับผกั กระเฉด ƒ ถามีสารพษิ ตกคา งงในนํ้าสงู ใบผักกระเฉดจะกลายเปน สีเหลอื ง ƒ โรคระบาดในผกั กระเฉดจะพบมากในเดอื นเมษายนหรอื พฤษภาคม 47

คมู อื การปลกู วอเตอรครีสบริเวณรอบเมอื งฮานอย ประเทศเวียดนาม 1. การเตรียมแปลง ควรเลอื กปลูกผกั วอเตอรครสี ในพืน้ ท่ลี มุ นํ้า ทําไดโ ดยการไถพรวนแลว ตากดนิ ใหแ หง ประมาณ 5- 7 วนั จากน้ันไถพรวนอกี คร้ังหนึ่งเพอ่ื ปรับระดบั หนาดนิ พน้ื ที่ทจ่ี ะใชทําการ เพาะปลูกผกั วอเตอรค รสี คือ 300-400 ตารางเมตร โดยตอ งมีคันบอสูงประมาณ 50-60 เซนตเิ มตร บอ ท่ีใชควรมที างระบายนํ้าทีด่ ี การใสปูนขาว ใชปนู ขาวประมาณ 15 กก.ตอพืน้ ท่ี 360ตารางเมตร การใสปยุ อตั ราสวนทใี่ ชคอื ปุยฟอสเฟต 10กก.ตอ พ้ืนท่ี 360ตารางเมตร ถาเปนการปลูกใรรนุ ท่สี องไมจ าํ เปนตองใชปูนขาวเพ่ิม ควรรกั ษาระดับนํา้ ไวในบอประมาณ 3 –5เซนติเมตร และกเ็ ริ่มปลูกผกั ในแปลงไดทันที 1-2 วนั หลังจากน้ัน 2. วธิ ีการปลูก เกษตรกรในเมืองฮานอยจะปลูกผกั วอเตอรครีสในเดอื นกันยายนซึง่ กข็ ึน้ อยกู บั สภาพอากาศของแตล ะป ปกติแลวจะเรม่ิ เกบ็ เก่ียวไดในชว งเดือนตุลาคมจย ถึงเดอื นมนี าคมของอีกปถ ัดไป จากขอ มูลพบวา บางครง สามารถเกบ็ เกีย่ ววอเตอรค รสี ได 5คร้งั ตอ รนุ การเลือกพนั ธุ เกษตรกรตองเลือกกิ่งที่แกแ ละแข็งแรง วธิ กี ารปลูก ปกดํากิ่งพนั ธผุ กั วอเตอรครสี 2-3 ตนตอหลุม โดยเวนระยะใหหา ง กนั หลุมละ 10 – 15 เซนติเมตร โดยปลูกเปน แถวๆ เวน ระยะระหวา งแถว 10 เซนติเมตร 3. การดแู ลรกั ษาและการใสป ุย รักษาระดับน้ําในแปลงผักวอเตอรครสี ใหไ ดระดับ เซนติเมตร และพยายาม ถอนหญา ออกจากแปลงผักบอ ยๆ การใสปยุ ครงั้ แรก ควรทาํ หลังจากการปก ดําแลว วัน โดยทว่ั ไปจะหวา นปุย ในชวงกลางวนั และตอ งไมม ีฝนตก อัตราสว นปยุ ท่ใี ชค ือปุยยูเรยี 3 กก.ตอ 48

พน้ื ท่ี 360 ตารางเมตร และหลงั จากนั้น 1-2 วันควรฉีดพนยาฆา แมลงเพ่ือ ปอ งกันแมลงศตั รพู ืช การใสป ยุ ครงั้ ท่สี อง หน่งึ อาทิตยหลังจากการใสปยุ ครัง้ แรก ก็ควรใสปยุ อีก ครงั้ หน่ึง โดยอัตราสวนปยุ ทใ่ี ชค อื ปุยยูเรีย 2 กก.รว มกบั ปยุ ฟอสเฟต 9-10 กก.ตอ พนื้ ท่ี 360 ตารางเมตร แตถา ทา นนา้ํ นา้ํ เสยี เขามาในแปลงผักทา นกไ็ ม ตองใสปยุ ยูเรยี การใชยาฆาแมลง ผักวอเตอรค รสี มีแลงศัตรูคือพวกแมลงตัวเล็กๆ เพ่ือเปน การปอ งกนั จึงควรฉีดพน ยาฆาแมลงดงั ตอ ไปนี้ ƒ Cyperkill ซ่ึงมสี วนผสมหลกั คอื ๆ Cypermethrin 100g/lit ƒ Sherpa Super 550ECซง่ึ มสี วนผสมหลกั คอื ๆ Chlorpyrifos ethyl 50%, Cypermethrin 5% และ djuvant: 45% ƒ 90 SP ซง่ึ มสี ว นผสมหลกั คือๆ Trichlorfor 90% และ Adjuvant: 10% ƒ Red spider Red spider (จนี ) หรอื เรียกอกี อยา งหนึ่งวา Ortus 5SC จากประเทศ ญีป่ นุ 4. การเกบ็ เกี่ยว ผลผลิตตผักวอเตอรค รสี สามารถเกบ็ เกี่ยวไดถงึ 25 – 40 วนั ขึ้นอยูกบั สภาพอาการ เกษตรกรจะตดั ยอดผักดว ยมดี ลา งทําความสะอาด กําจัดใบทเ่ี นา เสยี ออก แลวนําไปมดั เปนกาํ ๆ หนกั กาํ ละ 750-850 กรมั ตองปดําตน พนั ธุใหมเสมอๆ เพอ่ื ใหไ ดผลตอเนือ่ ง เกษตรกรบางทา นกท็ าํ แปลงเพาะพันธุเล็กๆ แยกอยูต างหากเพือ่ เกบ็ ผักวอเตอรคฺ รสี ไวปลกู ในรุนตอไป 6. บันทกึ ชว ยจาํ ƒ ควรรกั ษาระดับน้าํ ไวท ร่ี ะดับ เซนติเมตร สองหรือสามหรือในฤดู ƒ ไมใสปยุ ยูเรยี มากจนเกนิ ไป ƒ ควรใชปยุ สูตร NPK ƒ ควรโรยขี้เถาแกลบกอ นการเก็บเกีย่ วเสมอๆ ƒ ไมาจําเปน ตองใชยาฆาแมลงการเพาะปลูกรนุ ท่ี หนาว 49

สรุป คูมอื ฉบบั น้ีไดร วบรววมจากเกษตรกรในหมูบ า นบางบี เมอื งฮองเลยี ต และจากกลมุ เกษตรกร ในเมอื งธานฤ ท้ังสองหมบู านตั้งอยใู นจงั หวัด ธานธิ เมอื งฮานอย จากการเก็บขอมลู ในชวง 3/2004 – 1/2005 คณะผูจดั ทําอยากจะแจงใหทราบวาเราไมม วี ัตุถปุ ระสงคเ พ่ือแนะนาํ ใหเกษตรกรใชยาหรอื สารเคมีจากบรษิ ทั ใด โดยขอมูลท่ีไดแ สดงไวใ นคมู ือนเี้ ปน เพยี งสวนหน่ึงทไี่ ดรับขอ มูลมา จากเกษตรกรผเู พาะปลกู จรงิ ๆ และคณะผูจดั ทําก็อยาากเตอื นใหเกษตรกรปฏิบัตติ าม หลักการใชย าฆา แมลงอยางเครง ครดั เชนสวมชดุ ปอ งกัน ใสถ งุ มอื และหนา กากขณะฉดี พน สารเคมเี หลา นน้ั เนอื้ หาบางสวนไดร บั ความอนุเคราะหจากคูม อื การปลกู ผกั ของ (ดง ฮอง ดัส, 2002) 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook