Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore main

Description: main

Search

Read the Text Version

หนังสอื เรยี นรายวชิ าเลอื ก สาระการประกอบอาชพี เรื่อง เกษตรสูก ารพฒั นาอาชพี อช 33057 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั นครราชสมี า สาํ นกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

. .

ก ¤Òí ¹Òí สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นครราชสมี า รว มกบั สถานศึกษาในสังกัด ไดดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนรายวิชาเลือกสาระการประกอบอาชีพ เรอ่ื งเกษตรสกู ารพัฒนาอาชีพ (อช 33057) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มวี ัตถปุ ระสงคใ นการพัฒนาผเู รยี นใหมคี วามรคู วามเขา ใจ ทกั ษะและเจตคตทิ ดี่ ใี นงานอาชพี มองเหน็ ชอ งทางและตดั สนิ ใจประกอบอาชพี ไดต ามตอ งการและศกั ยภาพ ของตนเอง รวมท้ังจัดการอาชีพของตนเองอยางมีคุณธรรมและมีการพัฒนาอาชีพใหมีความม่ันคง บรรลุตามกรอบสาระและมาตรฐานการเรยี นรทู ่ีกาํ หนดไวต ามหลักสูตร สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครราชสีมา และสถานศึกษาในสังกัด ขอขอบคุณในความรวมมืออยางดียิ่งจาก ผูบริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา (32 แหง) คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกทาน ในการจัดทําหนังสือเรียนรายวิชาเลือกสาระ การประกอบอาชีพ เรื่องเกษตรสูการพัฒนาอาชีพ (อช 33057) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มาในโอกาสน้ี สาํ นักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั นครราชสมี า มีนาคม 2555

.

ข ÊÒúÑÞ หนา คาํ นํา ก สารบญั ข คาํ แนะนาํ ในการใชหนังสอื เรยี น 1 โครงสรา งรายวชิ าเลือก 2 คาํ อธบิ ายรายวิชา อช 33057 2 รายละเอียดคาํ อธิบายรายวิชา 4 แบบทดสอบกอ นเรยี น 9 บทท่ี 1 การเพาะเห็ดฟาง 17 บทที่ 2 กฎหมายเกยี่ วกบั ธุรกิจการเกษตร 47 บทที่ 3 สินเชื่อการเกษตร 115 แบบทดสอบหลังเรียน 137 เฉลยแบบทดสอบกอ นและหลังเรียน 143 บรรณานกุ รม 145 ภาคผนวก 147 คณะผจู ัดทํา 148

.

1 คําแนะนําในการใชหนงั สือเรยี น หนังสือเรียนรายวิชาเลือกสาระการประกอบอาชีพ เร่ือง เกษตรสูการพัฒนาอาชีพ (อช33057) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปน หนงั สอื ที่จัดทาํ ข้ึนสําหรบั ผูเรยี นท่ีเปน นกั ศึกษานอกระบบ ในหนงั สอื เรยี นรายวชิ าเลอื กสาระการประกอบอาชพี เรอื่ งเกษตรสกู ารพฒั นาอาชพี (อช33057) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผูเ รียนควรปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวชิ าใหเ ขา ใจหวั ขอ และสาระสาํ คญั ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั และขอบขา ยเนอื้ หา ของรายวิชาโดยละเอยี ด 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาแตละตอน ทํากิจกรรม แลวตรวจสอบกับเฉลยหรือแนวตอบกิจกรรม ถาผเู รยี นตอบผิดควรกลบั ไปศกึ ษาและทําความเขา ใจเนอ้ื หาน้ันใหมใ หเขาใจ กอ นท่ีจะศกึ ษาเนอ้ื หาตอ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเร่ืองของแตละตอน เพื่อเปนการสรุปและทบทวนความรูความเขาใจเนื้อหา ในเรอ่ื งนนั้ ๆอกี ครง้ั ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมแตล ะตอนผเู รยี นสามารถนาํ ไปตรวจสอบกบั ครแู ละเพอ่ื นๆทร่ี ว มเรยี น ในรายวิชาและระดบั เดยี วกันได 4. หนงั สอื เรียนเลมน้ี ประกอบดว ยเนอ้ื หา 3 บท ไดแก บทที่ 1 การเพาะเห็ดฟาง บทท่ี 2 กฎหมายเกี่ยวกับธรุ กิจการเกษตร บทท่ี 3 สนิ เช่ือการเกษตร 5. ใหผูเรียนประเมินตนเอง โดยทําแบบทดสอบกอน-หลังเรียน และตรวจคําตอบจากเฉลย ในภาคผนวก รวมท้งั ทํากจิ กรรมการเรยี นรตู ามท่ีกาํ หนด

2 โครงสรางรายวิชา คาํ อธิบายรายวิชา เกษตรสูก ารพฒั นาอาชีพ (อช 33057) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรูร ะดับ มีความรู ความเขาใจในการพัฒนาอาชีพ ใหมีผลิตภัณฑหรืองานบริการ สรางรายไดพอเพียง ตอ การดํารงชวี ิต มเี งินออมและมีทนุ ในการขยายอาชพี มาตรฐานที่ 3.1 มีความรู ความเขาใจและเจตคติท่ีดีในงานอาชีพ มองเห็นชองทางและการตัดสินใจ ประกอบอาชีพไดต ามความตองการและศักยภาพของตนเอง 3.2 มีความรู ความเขา ใจ ทกั ษะในอาชพี ท่ตี ัดสินใจเลอื ก 3.3 มีความรู ความเขา ใจ ในการจัดการอาชีพอยางมคี ุณธรรม 3.4 มีความรู ความเขาใจ ในการพฒั นาอาชพี ใหม ีความมน่ั คง ศกึ ษาและฝก ทกั ษะเกี่ยวกับเร่ืองตอ ไปน้ี ชอ งทางและการตดั สนิ ใจประกอบอาชพี เพาะเหด็ ฟาง ประโยชนแ ละความสาํ คญั ของเหด็ ฟาง การเลอื ก ใชวัสดุ อุปกรณ และการสรางโรงเรือนเพาะเห็ดฟาง พันธุและการเพาะเล้ียงเชื้อเห็ดฟาง วิธีการและขั้นตอน การเพาะเห็ดฟาง การวางแผนการผลิตเห็ดฟาง การดูแลรักษา การปองกันและกําจัดศัตรู การเก็บเกี่ยว การจดั การการตลาด การทาํ บญั ชี การอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม คณุ ธรรมในการประกอบอาชพี ปญ หาอุปสรรคในการประกอบอาชพี ประโยชนและความสําคัญเก่ียวกับกฎหมาย กฎหมายท่ีดิน กฎหมายเก่ียวกับสหกรณ กฎหมาย เก่ียวกับการชลประทาน พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว พระราชบัญญัติกักกันพืช พระราชบัญญัติกักกันสัตว นติ กิ รรมและสัญญาตาง ๆ การจดั การหนี้ และการชาํ ระหนี้ ความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของสินเช่ือการเกษตร แนวโนมความตองการสินเช่ือ ของการเกษตร แหลง สนิ เชอื่ หรอื แหลง เงนิ ทนุ วธิ กี ารใชส นิ เชอื่ เงอ่ื นไขของสนิ เชอ่ื การทาํ แผนงาน และโครงการ เพอ่ื ขอสินเช่อื การเกษตร ปญหาการขอสินเชื่อ การจัดประสบการณก ารเรียนรู 1. สํารวจแหลง และชนิดของเห็ดในทองถิ่น พบผูรูและแลกเปลี่ยนความรูซ่ึงกันและกัน ฝกการทํา เช้ือเห็ด และเพาะเห็ดฟาง บนั ทึกเปนองคค วามรู วางแผนการเพาะเห็ด 2. เชญิ ผูที่มีความรูเก่ยี วกบั กฎหมายเฉพาะดา นมาบรรยายใหความรู

3 3. อภปิ ราย และหาแนวทาง แกไ ขปญ หาดานกฎหมายเกีย่ วกบั ธุรกิจการเกษตร 4. ใหมีการสํารวจแหลงสินเชื่อการเกษตร กําหนดแหลงเรียนรูแลวไปศึกษาจากแหลงเรียนรูตาง ๆ นํามาแลกเปลย่ี นเรยี นรซู ง่ึ กนั และกนั แลว บันทกึ สรุปเปน องคค วามรู การวัดและประเมินผล 1. ประเมินจากสภาพจริงจากกระบวนการเรียนรู 2. บอกประโยชนและความสําคญั ของกฎหมายเก่ยี วกับธรุ กจิ การเกษตรได 3. อธิบายกฎหมายทด่ี นิ และสหกรณไ ด 4. อธบิ ายพระราชบญั ญัตโิ รคระบาดสัตว การกกั กนั พชื และสัตว และอื่น ๆ ได 5. บอกความหมายและความสาํ คญั ของสัญญาและนติ กิ รรมได 6. สามารถจดั การเก่ียวกับหนีแ้ ละการชําระหน้ไี ด 7. ประเมินจากสภาพจรงิ จากกระบวนการเรียนรู

4 รายละเอยี ดคําอธิบายรายวิชา อช 33057 เกษตรสูการพฒั นาอาชพี จํานวน 5 หนวยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรูร ะดบั มีความรู ความเขาใจในการพัฒนาอาชีพ ใหมีผลิตภัณฑหรืองานบริการ สรางรายไดพอเพียงตอ การดํารงชวี ติ มเี งนิ ออมและมีทุนในการขยายอาชีพ มาตรฐานที่ 3.3 มีความรู ความเขา ใจ ในการจัดการอาชีพอยา งมคี ุณธรรม 3.4 มีความรู ความเขา ใจ ในการพฒั นาอาชพี ใหม คี วามมั่นคง ที่ หัวเร่ือง จาํ นวน ตัวชวี้ ดั เนื้อหา ช่วั โมง 1 ชองทางและการตดั สนิ ใจ เลือกประกอบอาชีพ อธิบายชอ งทางและการตัดสิน วเิ คราะหความเปน ไปได 6 ใจเลอื กประกอบอาชีพเพาะ จากขอมูลดงั น้ี เห็ดได 1. ขอ มูลตนเอง 2. ขอ มูลทางวิชาการ 3. ขอ มลู ทางสังคม สงิ่ แวดลอ ม 2 ประโยชนแ ละความสําคญั อธิบายประโยชนและความ ประโยชนและความสาํ คัญของ 3 ของการเพาะเหด็ ฟาง สาํ คญั ของการเพาะเหด็ ฟางได เหด็ ฟาง 3 วัสดุ อปุ กรณ และการสราง เลือกใชวสั ดุ อปุ กรณ และ การเลือกใชว ัสดุ อปุ กรณและ 10 โรงเรือนเพาะเห็ดฟาง สรา งโรงเรอื นเพาะเหด็ ฟางได สรางโรงเรือนเพาะเห็ดฟาง อยางเหมาะสม 20 20 4 พนั ธุและการเพาะเล้ียงเชอ้ื อธบิ ายพนั ธุ และสามารถ พนั ธแุ ละการเพาะเลี้ยงเชอ้ื 9 เหด็ ฟาง 9 เห็ดฟาง เพาะเลี้ยงเชื้อเหด็ ฟางได 5 วิธีการและขนั้ ตอนการเพาะ อธบิ ายวิธีการและสามารถ วิธีการและข้นั ตอนการเพาะ เห็ดฟาง เพาะเห็ดได เหด็ ฟาง 6 การวางแผนการจดั การเพาะ วางแผนการเพาะเหด็ ฟางได การวางแผนการเพาะเหด็ ฟาง เหด็ ฟาง 7 การดูแลรกั ษา ดูแลรักษาเหด็ ฟางได 1. การควบคุมอุณหภมู ิ 2. การใหนา้ํ

ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวช้ีวัด เนอ้ื หา 5 8 การปองกนั และการ ปอ งกันและการกาํ จดั ศตั รูเหด็ 1. การปอ งกันศตั รูเหด็ จาํ นวน กําจัดศตั รู ฟางได 2. การกาํ จัดศัตรูเหด็ ช่ัวโมง 12 9 การเก็บเห็ดฟาง เกบ็ เหด็ ไดอยา งถูกตอง 1. การพิจารณาอายุการเก็บ 6 เหด็ ฟาง 2. วิธีการเกบ็ 3. การดแู ลหลงั การเก็บ 10 การจดั การการตลาด อธิบายกระบวนการตลาดได 1. การวเิ คราะหการตลาด 10 2. ชอ งทางการจาํ หนาย 3. การขายและการสง เสริม การขาย 4. การบรรจุหีบหอ 5. การกําหนดราคาขาย 11 การทาํ บัญชี ทําบญั ชกี ารผลิตเห็ดได 1. บญั ชที รพั ยส นิ 6 2. บัญชีรายรบั -รายจา ย 12 การอนรุ กั ษ อธบิ ายวธิ ีการอนุรกั ษ การอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาติ 3 ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ และสิ่งแวดลอ ม แวดลอม แวดลอมได 13 คณุ ธรรมในการประกอบ อธบิ ายคุณธรรมในการ 1. ความรบั ผดิ ชอบ 3 อาชพี ประกอบอาชพี ได 2. ความซ่ือสัตยส จุ ริต 3 3. ความขยัน อดทน 14 ปญ หา อปุ สรรคในการ ประกอบอาชพี ฯลฯ อธิบายปญหา อุปสรรคในการ 1. ปญหาดานกระบวนการผลิต ประกอบอาชพี 2. ปญหาดา นการตลาด

6 ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชวี้ ดั จํานวน เน้ือหา ช่วั โมง 15 กฎหมายเกย่ี วกบั ธรุ กิจ 1. บอกประโยชนแ ละความ ประโยชนและความสําคัญเก่ยี ว 40 การเกษตร สาํ คญั ของกฎหมายเกี่ยว กับกฎหมาย กฎหมายท่ดี นิ กบั ธุรกิจการเกษตรได กฎหมายเก่ียวกบั สหกรณ 2. อธบิ ายกฎหมายท่ีดนิ กฎหมายเกย่ี วกับการชลประทาน สหกรณ การชลประทาน พระราชบญั ญตั ิโรคระบาดสตั ว ได พระราชบัญญัติกักกันพืช 3. อธบิ ายพระราชบัญญัตโิ รค พระราชบญั ญัติกักกันสัตว ระบาดสตั ว การกักกนั พชื นติ ิกรรมและสญั ญาตาง ๆ และสตั ว และอ่นื ๆ ได การจัดการหน้ี และการชําระหนี้ 4. บอกความหมายและความ สาํ คญั ของสัญญาและ นติ กิ รรมได 5. สามารถจดั การเกย่ี วกบั หนี้ และการชําระหนีไ้ ด 16 ความหมายความสาํ คัญและ อธิบายความหมายความ 1. ความหมาย 1 ประโยชนข องสินเช่อื สําคัญและประโยชนข องสนิ 2. ความสาํ คญั การเกษตร เชื่อการเกษตรได 3. ประโยชน 17 แนวโนม ความตองการสนิ เช่ือ วเิ คราะหแนวโนมความ การวิเคราะหแนวโนม ความ 3 ตองการสินเช่อื ของการเกษตร ของการเกษตร ตอ งการสินเชอ่ื ของ การเกษตรได 18 แหลง สินเช่อื หรอื แหลง อธิบายแหลงสินเชือ่ หรือแหลง 1. แหลง สินเชือ่ หรอื แหลงเงินทุน 6 เงินทุน เงนิ ทนุ ทางการเกษตรได ตา ง ๆ เชน ธนาคารพาณิชย วเิ คราะหแ หลง สนิ เช่อื แตละ สหกรณตาง ๆ แหงเก่ยี วกบั ขอดี ขอ เสียได 2. ขอ ดี ขอเสยี ของแหลงสินเช่อื แตล ะแหง

7 ที่ หวั เรื่อง ตวั ช้วี ัด เนอ้ื หา จํานวน 19 วิธีการใหสนิ เชอ่ื ชวั่ โมง อธิบายวธิ กี ารและเงอ่ื นไขการ วิธีการใหส ินเชอ่ื และเงอ่ื นไข 20 การทาํ แผนงาน และ ใหส ินเช่ือของแหลง สินเช่ือ 10 โครงการเพ่ือขอสนิ เชอ่ื ทางการเกษตรได การเกษตร 15 ทาํ แผนงาน และโครงการเพ่ือ 1. ความสาํ คัญของการทําแผน 21 ปญ หาการขอสินเชื่อ 5 ขอสนิ เชือ่ การเกษตรไทย งานและโครงการ 2. ขนั้ ตอนการทาํ แผนงานและ โครงการ อธิบายปญ หาการขอสนิ เชอ่ื ปญหาการขอสนิ เชอื่ จากแหลง สินเชอื่ การเกษตรได

.

9 Ẻ·´Êͺ¡‹Í¹àÃÕ¹

10 คาํ ช้ีแจง ใหน กั ศกึ ษาวงลอ มรอบขอ ที่ถูกตอ ง 1.ขอใดไมใชทกั ษะการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดฟาง ก. การวางแผนการจดั การ การเพาะเหด็ ฟาง ข. การจดั การตลาดอาชพี เพาะเหด็ ฟาง ค. การปองกันและกําจดั ศตั รู เหด็ ฟาง ง. วธิ ีการและขนั้ ตอนการเพาะเหด็ ฟาง 2. ขอ ใดท่ไี มใ ชการบริหารจดั การในการประกอบอาชพี การเพาะเหด็ ฟาง ก. การดูแลเหด็ ใหเ กดิ ดอก ข. การทําความสะอาดโรงเรอื น ค. สาเหตุที่เห็ดไมออกดอก ง. การปอ งกันและกําจัดศตั รพู ืช 3. ธรุ กิจเกษตร หมายถงึ ขอใด ก. การผลติ สินคา เกษตรในประเทศ และ การคา สนิ คาเกษตรระหวา งประเทศดว ย ข. การดําเนนิ กิจกรรม ในดา นผลติ การจดั จําหนายและการบรกิ าร ค. การดําเนนิ กจิ กรรม ในดานผลติ การจัดจาํ หนา ย ง. การผลิต การจัดจําหนายปจ จยั การผลติ สินคาเกษตร กจิ กรรมระดับไรน า การเกบ็ รักษา การแปรรูปและการจดั จําหนายสนิ คา เกษตร ตลอดจนผลิตผล พลอยไดจ ากสนิ คา เกษตร 4. การนาํ เอาคําวา การบริหารและการจดั การ มาใชก ับขอใด ก. การจัดการใชส าํ หรบั ภาคเอกชน ข. การบรหิ ารใชส ําหรับภาครฐั เทา นน้ั ค. สามารถนํามาใชไ ดท ัง้ สอง ง. แลวแตค วามเหมาะสมที่จะนํามาใช 5. ขอใดกลา วถูกตอง เกย่ี วกับการบรหิ าร ก. เปนการใชก ลยุทธทงั้ ศาสตรและศิลป เพือ่ บรรลุเปาหมายขององคก าร ข. เปน การกําหนดบทบาทหนา ท่ที าํ งาน เพอื่ บรรลเุ ปา หมายขององคการ ค. เปนการจดั โครงสรา งการทาํ งานเพ่ือ บรรลเุ ปาหมายขององคก าร ง. เปนการจัดคนและเครอื่ งจกั รเพือ่ บรรลุ เปาหมายขององคก าร

11 6. ความสมั พนั ธทีส่ ลบั ซบั ซอนของปจ จัย (Factors) ตา ง ๆ และแนวทางของลกั ษณะ ความสัมพนั ธท ีจ่ ะทําใหบ รรลุ วตั ถุประสงคท่ีตอ งการตามโครงสรางธรุ กิจการเกษตร เปนความหมาย ของขอ ใด ก. การบริหารองคการ ข. โครงสรา งธุรกจิ เกษตร ค. ระบบธุรกจิ เกษตร ง. วถิ ีการตลาดสินคาเกษตร 7. e-Procurement and e-Purchasing คืออะไร ก. ระบบการตลาด ข. ระบบสารสนเทศ ค. ระบบการเกบ็ ภาษี ง. ระบบการขนสง สนิ คา 8. ขอ ใดไมใชอิทธพิ ลดา นความสําคญั ของ ธรุ กจิ เกษตร ท่ีมีตอ การกินดีอยูดี ก. การจา งแรงงาน ข. การใชวตั ถดุ ิบอยา งมปี ระสิทธิภาพ ค. เกิดการแขงขัน ง. ยกระดบั คา ครองชพี 9. สนิ เช่อื การเกษตร หมายถึง ก. การดําเนนิ งานสนิ เช่อื การเกษตร ข. สถาบันสินเชอ่ื การเกษตร ค. การกูย ืมของเกษตรกรเพ่ือชวยตนใหก รรมสิทธใ์ิ นทด่ี ิน ง. การผลติ และขายผลติ ผลเกษตรกรรม 10. ธนาคารเพอื่ การเกษตรหรอื ธกส. เริ่มดําเนนิ งานปใด ก. 2505 ข. 2510 ค. 2507 ง. 2509 11. ทุนท่ตี อ งใชในงานเกษตรเพอื่ การคา จาํ แนกออกเปนกชี่ นิด ก. 2 ชนดิ ข. 3 ชนิด ค. 4 ชนดิ ง. 5 ชนดิ 12. สินเช่อื เพื่อโภคกรรม หมายถงึ ข. การบรกิ ารสําหรบั ครวั เรือนเกษตร ก. เงินกเู พือ่ โภคภณั ฑ ง. สินเชอ่ื เพื่อธรุ กิจ ค. สินเช่ือเพ่อื ธุรกิจเกษตร

12 13. สินเช่อื เพอ่ื ธรุ กจิ ในทางกอประโยชนคือ ก. เพ่มิ การผลติ ข้ึน ข. เพิ่มรายไดขึน้ ค. เพม่ิ เงนิ ทนุ หมนุ เวยี น ง. ถกู ทัง้ ขอ ก และ ข 14. ตามขอ บังคับของธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณก ารเกษตร ไดกาํ หนด “ คา ใชจายของครวั เรอื นตา ที่จาํ เปน” เปนเงนิ กูแบบใด ก. เงินกูระยะยาว ข. เงินกรู ะยะสนั้ ค. เงนิ กเู พอื่ คา ใชจ า ยในการอยูกนิ ง. ไมมีขอ ใดถูก 15. เงินกูเ พอ่ื คา ใชจายในการอยกู นิ การรกั ษาพยาบาล และการศกึ ษา อยใู นเงนิ กูประเภทใด ก. กอประโยชนง อกเงย ข. เพ่ือโภคกรรม ค. เพ่ือชว ยตนใหมีกรรมสทิ ธ์ิในท่ีดนิ ง. เพ่ือชว ยในการผลติ และขายผลติ ผลเกษตรกรรม 16. การแบงประเภทของสินเช่ือเพอ่ื ธุรกจิ ทางการเกษตร แบง ตามอะไร ก. ระยะเวลา ข. ผใู หกู ค. ผกู ู ง. ถกู ทกุ ขอ 17. เงินกูระยะยาวเปน เงินกเู พื่ออะไร ก. เพอื่ ลงทุนในสนิ ทรพั ยดาํ เนนิ งาน ข. เพ่ือถอนจาํ นองจากเจา หนีเ้ ดิม ค. เพื่อดําเนนิ งานผลิตทางเกษตรสาํ หรบั ฤดหู น่ึงๆ ง. ไมมขี อใดถกู 18. สินทรพั ยท่เี ปน ทนุ และเพื่อบุกเบกิ ท่ดี ิน เปน สนิ ทรพั ยข นาดใด ก. ขนาดเลก็ ข. ขนาดกลาง ค. ขนาดใหญ ง. ขนาดยอม 19. เงนิ กเู พื่อซ้อื รถแทรกเตอร มกี าํ หนดใหชาํ ระคืนภายในกปี่  ง. 6 ป ก. 3 ป ข. 4 ป ค. 5 ป 20. เงินกรู ะยะปานกลางเพือ่ การลงทนุ ในสนิ ทรัพยก ารเกษตร มกี าํ หนดชาํ ระคนื กป่ี  ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป 21. เงนิ กเู พอ่ื ซื้อรถแทรกเตอรหรือซ้ือบริภณั ฑของรถแทรกเตอร เปนเงนิ กชู นิดใด ก. เงนิ กูระยะสนั้ ข. เงินกรู ะยะยาว ค. เงินกรู ะยะปานกลาง ง. ถูกท้ัง ข และ ค 22. เงินกูเพอ่ื คาจา งเหมาผอู ่ืนนาํ รถแทรกเตอรม าไถนาไร เปน เงนิ กชู นดิ ใด ก. เงนิ กูระยะสนั้ ข. เงนิ กรู ะยะยาว ค. เงินกูร ะยะปานกลาง ง. ถูกทงั้ ก และ ค

13 23. เงินกูเพ่อื ซ้ือลกู ปลาและอาหารปลามาเลยี้ ง เปนเงินกูช นิดใด ก. เงนิ กรู ะยะสน้ั ข. เงนิ กูระยะยาว ค. เงินกรู ะยะปานกลาง ง. ไมม ขี อ ใดถูก 24. เงินกูเ พื่อทาํ คูน้าํ ข้นึ ใหม เปน เงนิ กชู นิดใด ก. เงนิ กรู ะยะสั้น ข. เงนิ กรู ะยะยาว ค. เงนิ กูระยะปานกลาง ง. ถกู ท้งั ข และ ค 25. ถา เกษตรกรคนหน่ึง ขอกเู งนิ เพ่ือซ้อื เครอ่ื งจกั รกลและคา ซอ มแซมที่จาํ เปนตอ งทาํ ในทันที เปน เงนิ กูช นดิ ใด ก. เงนิ กูระยะสัน้ ข. เงินกูระยะยาว ค. เงินกูร ะยะปานกลาง ง. ไมมีขอใดถกู 26. เงินกเู พ่อื การผลิต หมายความวา อยา งไร ก. เงนิ กรู ะยะส้ัน ข. เงินกูระยะยาว ค. เงินกูระยะปานกลาง ง. ถูกทั้ง ก และ ค 27. ในสหรฐั อเมริกา ใหเงินกเู พ่ือคา ใชจ ายดา นใด ก. เพ่อื คาใชจา ยดําเนนิ งานและรายการทนุ หรอื ก่ึงลงทนุ ข. เพอ่ื ใชในการเพาะปลกู และขายพืชผล ค. เพอ่ื การผลติ ทางการเกษตร ง. เพอ่ื การผลติ 28. เงินกูเพ่ือการผลิตแหงกระทรวงเกษตรสหรฐั อเมรกิ า ใหแ กเ กษตรกรซง่ึ ทํางานดวยครอบครัวตนเอง เรยี กวา อะไร ก. เงนิ กดู าํ เนนิ งานเกษตร ข. เงนิ กูเพอ่ื การผลิตทางเกษตร ค. เพื่อคาใชจ ายดาํ เนินงานและรายการทนุ หรือกึง่ ลงทนุ ง. ไมม ขี อใดถูก

14 29. การแบงประเภทตามผูใหกูนัน้ ไดก ลาวไววา ก. คือสนิ เชอ่ื จากแหลง อันเปนสถาบนั และไมเปน สถาบัน ข. คือสนิ เช่ือจากสถาบนั เอกชน ค. คือสินเชอ่ื ที่ไมเปนสถาบนั ง. คือสนิ เชือ่ ที่จากสถาบันของรฐั 30. เอกชนผูใ หก ู คือประเภทใด ข. เพื่อนและพอคา ก. ญาติและเจา ของทดี่ ิน ง. ถกู ทุกขอ ค. เอกชนอ่นื ๆ 31. สหกรณก ารเกษตร มสี นิ เชื่อใหแกส มาชกิ สหกรณการเกษตรนัน้ มคี วามมงุ หมายเพื่ออะไร ก. เปนทุนดาํ เนินงาน ข. เปน ทุนสาํ หรับเงนิ กูแกเ กษตรกรผเู ปนสมาชกิ ค. เปนทุนสําหรับรวบรวมผลติ ผลจากสมาชิกมาจดั การขายหรือแปรรูปออกขาย ง. ไมมขี อใดถกู 32. เกษตรกรรมในสหรฐั อเมริกามีการผลิตเพอ่ื สิง่ ใด ก. เพ่ือการคา ข. เพ่อื การสง ออก ค. เพือ่ บริโภคในครวั เรือน ง. เพ่ือการแปรรูปสงขายในประเทศ 33. การผลติ ทางเกษตรจะเพม่ิ ข้ึนไดตอ งใชอ ะไร ก. การจดั ระบบสง น้าํ ยอยและปรบั ปรงุ ท่ีดนิ ข. ใชพันธพุ ชื พันธสุ ัตว และอาหารสัตวที่ดกี วา เดิม ค. ระดมแรงงานทาํ การเพาะปลูกหลายคร้ัง ง. ถกู ทุกขอ 34. เกษตรกรผูกูเงนิ จากสถาบันพงึ ไดรับประโยชนที่สําคัญอีกประการหน่ึงคอื ก. ไดรับคําปรึกษาแนะนาํ ในการใชเงินกู ข. มเี งินลงทุนท่เี พียงพอ ค. มีความมน่ั ใจในสถาบันเงนิ กู ง. ถูกทกุ ขอ 35. นโยบายใหส นิ เชอ่ื การเกษตรทจี่ ะเปน ทางไดผ ลม่ันคง มีวธิ ีเลือกก่ีวิธี ก. 5 วิธี ข. 6 วิธี ค. 8 วธิ ี ง. 9 วธิ ี

15 36. กรณีผกู ูไมชาํ ระหนโ้ี ดยจงใจ สถาบันผูใหกมู ีบทลงโทษอยา งไร ก. สง หนงั สือเตอื นใหชําระหนี้ ข. เพม่ิ ดอกเบี้ยเงนิ กู ค. ใหออกจากการเปน สมาชิกและดาํ เนนิ ตามกฎหมาย ง. ถกู ทกุ ขอ 37. หลักประกันสาํ หรับเงนิ กูนน้ั สถาบันผูใ หกูควรพจิ ารณากาํ หนดตามหลกั อะไร ก. จํานวนเงนิ กู ข. ระยะเวลาแหง เงินกู ค. ผคู ้ําประกัน ค. ถกู ทกุ ขอ 38. ธนาคารหรือสหกรณค วรคดั เลือกเกษตรกรผูกจู ากอะไร ก. ผูกมู ีนิสัยดี ข. ผกู ูม ฐี านะทางเศรษฐกจิ และความสามารถพอสมควร ค. ผกู ูมคี วามซื่อสัตย ง. ถูกทุกขอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook