Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 7 กระบวนการและเทคนิคการตรวจสอบภายใน

หน่วยที่ 7 กระบวนการและเทคนิคการตรวจสอบภายใน

Published by กรรณิการ์ ผิวสะอาด, 2019-11-25 04:09:14

Description: หน่วยที่ 7 กระบวนการและเทคนิคการตรวจสอบภายใน

Search

Read the Text Version

วิชา การควบคุมและตรวจสอบภายใน 3201 - 2103 หน่วยที่ 7 กระบวนการและเทคนิคการ ตรวจสอบภายใน โดย ครูกรรณิการ์ ผวิ สะอาด

หน่วยที่ 7 กระบวนการและเทคนิคการตรวจสอบภายใน สาระการเรียนรู้ (Chapter Objective) 7.1 การวางแผนการตรวจสอบ 7.2 เทคนิคการตรวจสอบ 7.3 การตรวจสอบทางการเงนิ และการบัญชี

ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง (Learning Objective) 1. สามารถอธิบายข้นั ตอนในการวางแผนการตรวจสอบภายในได้ 2. สามารถเขยี นแผนการตรวจสอบภายในได้ 3. สามารถอธิบายถงึ เทคนิคการตรวจสอบในแต่ละประเภทได้ 4. สามารถอธิบายถงึ วิธีการการตรวจสอบทางการเงนิ และการบัญชีได้

7.1 การวางแผนการตรวจสอบ การวางแผนการตรวจสอบ หมายถงึ การกาหนดขอบเขต วตั ถุประสงค์ ระยะเวลา และการใช้ทรัพยากร เพื่อภารกจิ น้ัน ๆ หลกั ในการวางแผนการตรวจสอบประกอบด้วย 1. การวางแผน 2. การนาเสนอและอนุมตั ิแผนงานตรวจสอบ 3. การจดั การทรัพยากร 4. นโยบายและวธิ ีการปฏิบัติงาน 5. การประสานงาน 6. การรายงานต่อคณะกรรมการและผู้บริหารระดบั สูง

ข้นั ตอนในการวางแผนการตรวจสอบภายในมี 5 ข้นั ตอนดงั ต่อไปนี้ 1. การกาหนดกลยุทธ์ของหน่วยงานตรวจสอบ 2. การกาหนดเป้าหมายและตัวชี้วดั ผลการดาเนินงาน 3. การกาหนดโครงการหรือหน่วยงานที่จะตรวจสอบ 4. จัดทาแผนงบประมาณและแผนกาลังคนท่ีรับผดิ ชอบ 5. นาเสนอแผนให้ผู้บริหารระดบั สูงและคณะกรรมการตรวจสอบอนุมตั ิ

1. การกาหนดกลยุทธ์ของหน่วยงานตรวจสอบ การกาหนดกลยุทธ์ของหน่วยงานตรวจสอบ จะรวมการกาหนดวตั ถุประสงค์ของ หน่วยงานไว้ด้วย การกาหนดวตั ถุประสงค์จะมที ้ังระยะส้ันและระยะยาว วตั ถุประสงค์ ท่ีกาหนดขึน้ จะต้องสอดคล้องกับกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน

2. การกาหนดเป้าหมายและตัวชี้วดั ผลการดาเนินงาน เป้าหมายและตัวชี้วดั ผลการดาเนินงาน โดยท่ัวไปจะนาผลการดาเนินงานในรอบปี ท่ีแล้วมาเปรียบเทียบเพ่ือแสดงผลการดาเนินงานว่ามขี ึน้ หรือไม่ หรือเปรียบเทียบกบั องค์กรช้ันนาต่าง ๆ

ตัวอย่างตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานของหน่วยงานตรวจสอบ มุมมองที่จะวดั ตัวชี้วดั 1. มุมมองด้านความพงึ พอใจของลูกค้า - ผลจากการสารวจความพงึ พอใจของลูกค้า - จานวนลูกค้ารายใหม่ที่เพมิ่ เข้ามา - จานวนเร่ืองที่ร้องเรียนผ่านผู้บริหาร 2. มุมมองด้านกระบวนการตรวจสอบ - การตรวจสอบเสร็จตามระยะเวลาท่ีกาหนด ภายใน - จานวนประเดน็ ท่ีพบได้มีการสอบทานโดย ผู้บริหารระดบั สูง - จานวนงานเสร็จต่อผู้ตรวจสอบ

ตัวอย่างตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานของหน่วยงานตรวจสอบ มุมมองท่ีจะวดั ตัวชี้วดั 3. มุมมองด้านการเรียนรู้ขององค์กร - การนาเทคนิคใหม่ ๆ มาใช้ในองค์กร 4. มุมมองด้านการเงนิ - สนับสนุนให้ทุนในการศึกษาต่อ - จานวนชั่วโมงการฝึ กอบรมในรอบปี ต่อ ผู้ตรวจสอบ - ต้นทุนในการดาเนินงานที่ประหยัดได้ต่อปี - รายได้ต่อผู้ตรวจสอบ - ต้นทุนท่ีเกดิ ขนึ้ เทียบกับผลประโยชน์ ที่ได้รับ

3. การกาหนดโครงการหรือหน่วยงานทจ่ี ะตรวจสอบ ในการกาหนดว่าจะตรวจโครงการหรือหน่วยงานไหนก่อน ให้พจิ ารณาเรื่องความเส่ียงและ ผลกระทบเป็ นหลกั ตวั อย่างของโครงการ 4 โครงการมรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้ ด้านโอกาส ด้านผลกระทบ มาก นอ้ ย นอ้ ย มาก โครงการท่ี 1. ถ้าความเสี่ยงทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ มาก ผลกระทบน้อย โครงการที่ 2. ถ้าความเสี่ยงทอี่ าจเกดิ ขนึ้ น้อย ผลกระทบมาก โครงการที่ 3. ถ้าความเสี่ยงท่อี าจเกดิ ขนึ้ มาก ผลกระทบมาก โครงการที่ 4. ถ้าความเส่ียงทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ น้อย ผลกระทบน้อย จากโครงการท้งั 4 โครงการ ถ้าเรามงี บประมาณจากดั เราควรจะตรวจสอบโครงการที่ 3 เป็ น อนั ดบั แรก เพราะความเส่ียงมาก และผลกระทบกม็ ากตามไปด้วย

4. จดั ทาแผนงบประมาณและแผนกาลังคนท่ีรับผิดชอบ ในเร่ืองการจดั ทาแผนงบประมาณและแผนกาลงั คนจะต้องสอดคล้องกัน เพราะ ถ้ามแี ต่กาลงั คนไม่มีงบประมาณกท็ างานได้ไม่ประสบผลสาเร็จ หรือถ้ามแี ต่งบประมาณ ไม่มคี นไปทางาน งานก็ล้มเหลวได้เหมือนกัน

5. นาเสนอแผนให้ผู้บริหารระดับสูงและคณะกรรมการตรวจสอบอนุมตั ิ เมื่อจัดทาแผนเสร็จเรียบร้อยตามข้ันตอนท้ัง 4 ข้นั ตอนแล้ว ข้นั ตอนที่ 5 ถือว่า สาคัญท่ีสุด เพราะผู้บริหารระดบั สูงและคณะกรรมการตรวจสอบถือว่าเป็ นบุคคลสาคญั และเป็ นผู้ที่จะอนุมตั ิแผนท่ีเราจัดทามา

ประโยชน์ของการวางแผนการตรวจสอบ 1) ทาให้ทุกกิจกรรมขององค์กรได้รับการตรวจสอบอย่างครบถ้วนตามผลการประเมิน ความเส่ียง กิจกรรมท่ีมคี วามเสี่ยงสูงจะได้รับการตรวจสอบบ่อยคร้ังกว่ากิจกรรมที่ มคี วามเสี่ยงต่า 2) ทาให้ผู้ตรวจสอบเข้าใจกจิ กรรมและกระบวนการของหน่วยงานที่จะตรวจสอบก่อน เข้าตรวจสอบและสามารถประเมินความเสี่ยงของแต่ละกิจกรรมในเบื้องต้นเพ่ือระบุ ขอบเขตของงานหรือระบบงานที่มีความเส่ียง

3) ทาให้เกิดการประสานงานและให้ความร่วมมือท่ีดีจากผู้รับการตรวจสอบ 4) ทาให้ทราบขอบเขต ปริมาณงาน จานวนอัตรากาลังท่ีต้องการในกจิ กรรมการ ตรวจสอบ 5) ใช้เป็ นเครื่องมือในการควบคุมกิจกรรมการตรวจสอบทาให้สามารถบริหารงาน ตรวจสอบได้อย่างมปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขนึ้ 6) แสดงถึงการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามมาตรฐานสากล การปฏิบัติงานวชิ าชีพ การตรวจสอบภายในซึ่งทาให้งานตรวจสอบภายในเป็ นท่ียอมรับมากขึน้ จาก ผู้บริหารและผู้รับการ

7.2 เทคนิคการตรวจสอบ เทคนิคการตรวจสอบ หมายถงึ วธิ ีการท่ีใช้ในการตรวจสอบเพ่ือให้ได้มาซ่ึง หลักฐานการตรวจสอบ เทคนิคที่นิยมนามาใช้ในการตรวจสอบภายในมีดงั ต่อไปนี้ 1 การสอบถาม 2 การสังเกตการณ์ 3 การตรวจเย่ียม 4 การสุ่มทดสอบ 5 การวเิ คราะห์เปรียบเทียบ

1. การสอบถาม การสอบถามเป็ นหลกั การเบื้องต้นที่ใช้ในการตรวจสอบภายใน เพราะการสอบถาม ทาให้ ผู้ตรวจสอบภายในได้ทราบในส่ิงที่ต้องการท้ังในเร่ืองเอกสาร ระบบงาน และ ลกั ษณะเฉพาะตัวของผู้ท่ีเราสอบถาม รูปแบบของการสอบถามมดี ังต่อไปนี้ 1) การใช้แบบสอบถาม 2) การสอบถามด้วยวาจา

2. การสังเกตการณ์ การสังเกตการณ์ตรวจสอบเป็ นเทคนิคการตรวจสอบอีกวธิ ีหน่ึงที่นิยมใช้ เช่น การ สังเกตการณ์ปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในเพ่ือหาข้อสรุปว่ามีการไม่ปฏิบัติตาม ระบบที่วางไว้หรือไม่ การสังเกตการณ์การปฏิบัติงานของเคร่ืองจักรว่ามีประสิทธิภาพ แค่ไหน การสังเกตการณ์ความพอใจของลูกค้าจากการมาใช้บริการขององค์กร เป็ นต้น 3. การตรวจเยยี่ ม การตรวจเยย่ี มจะใช้ในกรณีท่ีมสี าขาอยู่มาก ผู้ตรวจสอบภายในอาจใช้เทคนิคการ ตรวจเยยี่ มสาขาต่าง ๆ เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสาขา การตรวจ เย่ยี มอาจใช้วธิ ีนัดหมายล่วงหน้า หรือแบบไม่ได้นัดหมายกไ็ ด้

4. การสุ่มทดสอบ โดยทั่วไปแล้วผู้ตรวจสอบภายในไม่สามารถตรวจสอบรายการได้ทุกรายการการ สุ่มตรวจสอบจงึ เป็ นเทคนิคท่ีนิยมกนั เป็ นอย่างแพร่หลาย เช่น การสุ่มตัวอย่างลูกหนี้ การค้าคงเหลือเพื่อทาหนังสือยืนยนั ยอดลูกหนีก้ ารค้าคงเหลือ และพสิ ูจน์ความมีตัวตน ของลูกหนีก้ ารค้า เป็ นต้น 5. การวเิ คราะห์เปรียบเทียบ การวเิ คราะห์เปรียบเทียบจะทาให้ค้นพบความผิดปกติของรายการได้เร็วกว่ากรณี อ่ืน โดยทั่วไปผู้ตรวจสอบภายในจะใช้วธิ ีวเิ คราะห์เปรียบเทียบร่วมกับเทคนิคอ่ืน ๆ กรณี ท่ีใช้เทคนิคการวเิ คราะห์เปรียบเทียบแล้วเกิดผลต่างท่ีมนี ัยสาคญั ผู้ตรวจสอบภายในจึง จะใช้เทคนิคอ่ืน ๆ ต่อไป

7.3 การตรวจสอบทางการเงินและการบัญชี วธิ ีการตรวจสอบทางการเงินและการบัญชีที่สาคญั มดี งั ต่อไปนี้ 1. การตรวจสอบความมอี ยู่จริงของตัวสินทรัพย์ 2. การยืนยันยอดกับบุคคลที่สาม 3. การจดั ทางบพสิ ูจน์ยอด 4. การตรวจสอบเอกสารหลักฐานใบสาคัญ 5. การสอบทานการปฏิบัติตามหลักการบัญชี 6. การตรวจสอบความผิดปกติทางบัญชี

1. การตรวจสอบความมอี ยู่จริงของตัวสินทรัพย์ ได้แก่ 1) การตรวจสอบทางกายภาพ เช่น การตรวจนับ การตรวจสภาพหรือคุณภาพ การใช้งาน 2) การตรวจสอบแบบ Surprise Checking เป็ นการเข้าไปตรวจสอบโดยไม่ได้ นัดหมายไว้ล่วงหน้า เช่น การตรวจนับเงนิ สดและเงนิ สดย่อย 3) การตรวจวเิ คราะห์รายการทางการบัญชี เป็ นการตรวจสอบยอดคงเหลือทางการ บัญชีกับสภาพของสินทรัพย์ท่ีมีอยู่จริง เพ่ือป้องกันการปกปิ ดข้อมูล

2. การยืนยนั ยอดกับบุคคลที่สาม หลักฐานที่ได้จากการยืนยันยอดจากบุคคลที่สามเป็ นหลกั ฐานท่ีมคี วามน่าเช่ือถือ มากที่สุด เช่น การยืนยันยอดธนาคาร ลูกหนีก้ ารค้า และเจ้าหนีก้ ารค้า 3. การจดั ทางบพสิ ูจน์ยอด การจดั ทางบพสิ ูจน์ยอดจะใช้ในกรณที ี่องค์กรไม่มกี ารจัดทา ผู้ตรวจสอบภายใน อาจใช้วธิ ีการจัดทางบพสิ ูจน์เพื่อทดสอบความถูกต้องของข้อมูล แต่ถ้ากรณีท่ีองค์กรมี การจัดทางบพสิ ูจน์ยอดอยู่แล้ว ผู้ตรวจสอบภายในมหี น้าที่ในการสอบทานงบพสิ ูจน์ ยอดว่าถูกต้องหรือไม่

4. การตรวจสอบเอกสารหลักฐานใบสาคญั เป็ นการนาเอาเอกสารใบสาคัญต่าง ๆ มาตรวจในเรื่องดังต่อไปนี้ 1) สอบความถูกต้อง ครบถ้วน ของรายการ 2) การอนุมัติรายการโดยผู้มอี านาจ 3) การบันทึกบัญชีถูกต้อง และครบถ้วน 4) การปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายใน

5. การสอบทานการปฏิบัติตามหลกั การบัญชี การสอบทานการปฏิบัติตามหลกั การบัญชี เป็ นการสอบทานว่าองค์กรได้บันทึก บัญชีและเปิ ดเผยข้อมูลตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปหรือไม่ วธิ ีการสอบทานมี ดังต่อไปนี้ 1) การสุ่มทดสอบการจาแนกลักษณะรายการ 2) การสุ่มทดสอบบัญชีพกั 3) การสุ่มทดสอบรายการต้ังแต่ลงบัญชีในสมุดรายวนั ท่ัวไปจนถงึ การผ่านบัญชี ไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป 4) การสุ่มทดสอบบัญชีแยกประเภทท่ัวไป เช่น ค่าซ่อมแซม วสั ดุสิ้นเปลืองใช้ไป เพราะอาจมสี ินทรัพย์ถาวรปนอยู่

6. การตรวจสอบความผิดปกติทางบัญชี มีวธิ ีการตรวจสอบดังนี้ 1) การตรวจสอบความถูกต้องของงบทดลอง เช่น งบทดลองเดบิตต้องเท่ากับ เครดติ 2) ตรวจสอบยอดคงเหลือที่ผิด Nature เช่น ลูกหนีก้ ารค้าปกติยอดคงเหลือจะเป็ น เดบิต แต่ถ้ามยี อดคงเหลือเป็ นเครดิตถือว่าผิด Nature 3) ตรวจสอบรายการปรับปรุงสิ้นงวดและต้นงวดเพ่ือหาความผดิ ปกติ

กจิ กรรมเสนอแนะ ให้นักศึกษายกตวั อย่างเกย่ี วกบั ของการควบคุมทว่ั ไป และการควบคุมใน ระบบงานภายในสถาบันที่จาเป็ นต้องมี พร้อมข้อเสนอแนะเกย่ี วกับข้อดีและ ข้อเสียของการควบคุมภายในทวั่ ไป และการควบคุมในระบบงาน

ใบงาน 7 กระบวนการและเทคนคิ การตรวจสอบภายใน กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5-7 คน 2. นาบริษทั ท่จี ดั ต้งั ในหน่วยที่ 4 มาจัดทาแผนตามข้นั ตอน การวางแผนการตรวจสอบ 5 ข้นั ตอน 3. นาเสนอผลงาน 4. ให้นักศึกษากลุ่มอื่น ๆ ประเมนิ ผลตามแบบประเมิน

คาถามท้ายหน่วยท่ี 7 ตอนที่ 1 จงเติมคาหรือข้อความในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. จานวนประเด็นท่ีตรวจพบได้มีการสอบทานโดยผู้บริหารระดบั สูง เป็ นมมุ มอง ด้านใด ตอบ ด้านกระบวนการตรวจสอบภายใน 2. วตั ถุประสงค์ของการตรวจสอบที่กาหนดขึน้ จะต้องสอดคล้องกบั อะไร ตอบ กฎบัตรการตรวจสอบภายใน 3. เทคนิคการตรวจสอบชนิดใดสามารถใช้ค้นหาความผดิ ปกติได้เร็วท่ีสุด ตอบ การวเิ คราะห์เปรียบเทียบ 4. การตรวจสอบเสร็จตามระยะเวลาท่ีกาหนด เป็ นมุมมองทางด้านใด ตอบ มุมมองด้านกระบวนการตรวจสอบภายใน

5. จานวนช่ัวโมงการฝึ กอบรมในรอบปี ต่อผู้ตรวจสอบ เป็ นมุมมองทางด้านใด ตอบ มุมมองด้านการเรียนรู้ขององค์กร 6. เทคนิคการตรวจสอบชนิดใดสร้างความสัมพนั ธ์กับผู้รับการตรวจสอบมากทส่ี ุด ตอบ การสอบถาม 7. เทคนิคการตรวจสอบชนิดใดใช้กับกรณที ่ีมีหลายสาขา ตอบ การตรวจเย่ียม

8. การวางแผนการตรวจสอบ หมายถึงอะไร ตอบ การกาหนดขอบเขต วตั ถุประสงค์ ระยะเวลา และการใช้ทรัพยากร เพื่อภารกิจ น้ัน ๆ 9. ในการกาหนดโครงการที่จะตรวจสอบ ควรคานึงถึงเรื่องใดเป็ นหลกั ตอบ ความเสี่ยงและผลกระทบ 10. การนาเสนอแผนให้ผู้บริหารระดับสูงและคณะกรรมการตรวจสอบอนุมตั ิ เป็ นข้นั ตอนที่เท่าไหร่ของการวางแผน ตอบ ข้นั ตอนท่ี 5

ตอนท่ี 2 จงทาเครื่องหมาย (√) ลงหน้าข้อทถ่ี ูกต้อง 1. ข้อใด ไม่ใช่ ตวั ชี้วดั ของมุมมองด้านการเรียนรู้ขององค์กร ก. การนาเทคนิคใหม่ ๆ มาใช้ในองค์กร ข. การสนับสนุนให้ทุนไปศึกษาต่อ √ค. การตรวจสอบเสร็จตามเวลาที่นัดหมาย ง. กาหนดชั่วโมงการฝึ กอบรมในแต่ละปี 2. ข้ันตอนการวางแผนการตรวจสอบภายในมกี ข่ี ้ันตอน ก. 4 ข้ันตอน √ข. 5 ข้นั ตอน ค. 6 ข้ันตอน ง. 7 ข้ันตอน

3. ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้องเกยี่ วกบั ตวั ชีว้ ดั ผลการดาเนินงาน ก. โดยท่วั ไปจะนางวดบัญชีท่ีผ่านมานามาเปรียบเทยี บ ข. เปรียบเทียบกบั องค์กรช้ันนาต่าง ๆ ค. เปรียบเทียบกบั อุตสาหกรรมรวมของธุรกจิ ประเภทน้ัน √ง. เปรียบเทียบกบั การทากาไรของธุรกจิ อื่นทีม่ ผี ้บู ริหารคนเดยี วกนั 4. ข้อใด ไม่ใช่ วตั ถุประสงค์ของการตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานใบสาคญั ก. เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องของรายการ ข. เพ่ือตรวจสอบการอนุมตั ริ ายการโดยผู้มอี านาจ √ค. เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องของงบทดลอง ง. เพื่อตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามระบบการควบคมุ ภายใน

5. การตรวจสอบยอดคงเหลือที่ผดิ Nature เป็ น √ก. การตรวจสอบความผดิ ปกตทิ างบญั ชี ข. การสอบทานการปฏบิ ัตติ ามหลกั การบัญชี ค. การตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานใบสาคญั ง. ผดิ ทุกข้อ 6. ข้อใดไม่นยิ มใช้การตรวจสอบแบบ Surprise Checking ก. เงนิ สด ข. สินทรัพย์ถาวร ค. สินค้าคงเหลือ √ง. รายได้จากการขาย

7. ข้อใดไม่ใช่วธิ ีการสอบทานการปฏิบัตติ ามหลกั การบัญชี ก. สอบทานการจาแนกรายการ ข. สอบทานบญั ชีพกั ค. สอบทานการผ่านรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภท √ง. ผดิ ทุกข้อ 8. ต้นทุนในการดาเนนิ งานท่ปี ระหยดั ได้ต่อปี เป็ นมุมมองทางด้านใด ก. ด้านความพงึ พอใจของลูกค้า ข. ด้านกระบวนการตรวจสอบภายใน ค. ด้านการเรียนรู้ขององค์กร √ง. ด้านการเงนิ

9. ข้อใดไม่ใช่ตวั ชี้วดั ด้านความพงึ พอใจของลกู ค้า ก. ผลจากการสารวจความพงึ พอใจของลกู ค้า ข. จานวนลกู ค้ารายใหม่ทเ่ี พม่ิ ขนึ้ ค. จานวนเรื่องทร่ี ้องเรียนผ่านผ้บู ริหาร √ง. ต้นทุนท่เี กดิ ขนึ้ เมื่อเทยี บกบั ประโยชน์ท่ไี ด้รับ 10. ตวั ชีว้ ดั ผลการดาเนนิ งานมกี มี่ มุ มอง ก. 3 มุมมอง √ข. 4 มมุ มอง ค. 5 มุมมอง ง. 6 มมุ มอง

ตอนที่ 3 จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ได้ใจความท่ีสมบูรณ์ 1. การตรวจสอบความมอี ยู่จริงของสินทรัพย์ได้แก่อะไรบ้าง ตอบ 1. การตรวจสอบทางกายภาพ เช่น การตรวจนับ การตรวจ สภาพหรือคุณภาพการใช้งาน 2. การตรวจสอบแบบ Surprise Checking เป็ นการเข้าไป ตรวจสอบโดยไม่ได้นัดหมายไว้ล่วงหน้า เช่น การตรวจนับเงนิ สดและเงิน สดย่อย 3. การตรวจวเิ คราะห์รายการทางการบัญชี เป็ นการตรวจสอบยอด คงเหลือทางการบัญชีกับสภาพของสินทรัพย์ที่มีอยู่จริง เพ่ือป้องกันการ ปกปิ ดข้อมูล

2. การสอบทานการปฏิบัติตามหลกั การบัญชี มีวธิ ีการสอบทานอย่างไร ตอบ 1. การสุ่มทดสอบการจาแนกลักษณะรายการ 2. การสุ่มทดสอบบัญชีพกั 3. การสุ่มทดสอบรายการต้ังแต่ลงบัญชีในสมุดรายวนั ท่ัวไป จนถึงการผ่านบัญชีไปยังบัญชีแยกประเภทท่ัวไป

3. การตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานเป็ นการตรวจในเรื่องใด ตอบ 1. สอบความถูกต้อง ครบถ้วน ของรายการ 2. การอนุมัติรายการโดยผู้มอี านาจ 3. การบันทึกบัญชีถูกต้อง และครบถ้วน 4. การปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายใน

4. ข้นั ตอนในการวางแผนการตรวจสอบภายในประกอบด้วย 5 ข้นั ตอนมีอะไรบ้าง ตอบ 1. การกาหนดกลยุทธ์ของหน่วยงานตรวจสอบ 2. การกาหนดเป้าหมายและตัวชี้วดั ผลการดาเนินงาน 3. การกาหนดโครงการหรือหน่วยงานที่จะตรวจสอบ 4. จดั ทาแผนงบประมาณและแผนกาลังคนท่ีรับผิดชอบ 5. นาเสนอแผนให้ผู้บริหารระดบั สูงและคณะกรรมการตรวจสอบอนุมัติ

5. ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานมีก่มี ุมมองประกอบด้วยมุมมองอะไรบ้าง ตอบ 4 มุมมอง ประกอบด้วยดังนี้ 1. มุมมองด้านความพงึ พอใจของลูกค้า 2. มุมมองด้านกระบวนการตรวจสอบภายใน 3. มุมมองด้านการเรียนรู้ขององค์กร 4. มุมมองด้านการเงิน THE END