Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ สวนครัวลอยฟ้า สวนถาด สมุนไพร

ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ สวนครัวลอยฟ้า สวนถาด สมุนไพร

Published by BENZ1300, 2022-11-11 03:49:31

Description: ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ สวนครัวลอยฟ้า สวนถาด สมุนไพร

Search

Read the Text Version

Êǹ¤ÃÇÑ ÅÍ¿҇ Êǹ¶Ò´ ÊÁ¹Ø ä¾Ã

ÀÁÙ »Ô Þ˜ ÞÒ¼ÊÙŒ Ù§ÍÒÂØ Êǹ¤ÃÇÑ ÅÍ¿҇ Êǹ¶Ò´ ÊÁ¹Ø ä¾Ã พมิ พคร้ังท่ี 1 : เมษายน 2556 จำนวน : 8,000 เลม เลขมาตรฐานสากล : 978-616-719-299-4 จัดพมิ พโดย : สำนักสง เสรมิ และพิทักษผูส ูงอายุ (สทส.) สำนกั งานสง เสริมสวสั ดิภาพและพทิ กั ษเด็ก เยาวชน ผูด อ ยโอกาส และผูส งู อายุ (สท.) กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย (พม.) คณะผูจดั ทำ : ญาณี เลศิ ไกร ผอ.สท. ท่ปี รกึ ษา เสรีย วชริ ถาวรชัย รอง ผอ.สท. ท่ีปรึกษา สุนทรี พวั เวส ผอ.สทส. ที่ปรกึ ษา โอภาส พมิ ลวิชยากิจ ผูเช่ียวชาญงานดานผสู ูงอายุ ท่ปี รึกษา วลิ าวณั ย เอี่ยมศรสี กลุ ผอ.กลุมการสง เสริมศักยภาพผสู ูงอายุ ประธานคณะผจู ดั ทำ สนุ ันทนา จันทนยง่ิ ยง นกั สงั คมสงเคราะห คณะผจู ัดทำ ผึง้ พนั ธุ เผา จินดา นักพัฒนาสังคม คณะผูจ ัดทำ ปาริชาติ สุวรรณราช นกั สังคมสงเคราะห คณะผูจ ัดทำ ศรญั ญา รงุ ขวญั จิตต ผชู วยปฏิบัตงิ านโครงการ คณะผูจัดทำ รัตนศริ ิ ศิระพาณิชยก ุล ผูชวยปฏิบัตงิ านโครงการ ผูชว ยบรรณาธกิ าร พชิ าญพงศ อำพนั ธยุทธ ผูช ว ยปฏบิ ัตงิ านโครงการ ถา ยภาพ วฒั นสนิ ธุ สุวรตั นานนท ผชู วยปฏิบตั งิ านโครงการ รูปเลม

¤Ó¹Ó ตองใชเวลาไมนอยกวา 60 ป กวาที่คนๆ หนึ่งจะเดินทางมาถึงจุดที่สังคมใหเกียรติเรียกขานวา เปนผูสูงอายุ แตอายุก็มิใชเงื่อนไขเดียวท่ีทำใหสังคมกำหนดสถานะอันมีเกียรติน้ี คุณสมบัติสำคัญคือ การดำรงตนเปนแบบอยางท่ีดีงาม นอกจากน้ันคือการเปนผูท่ีไดส่ังสมความรู ความสามารถ ทักษะ วิชาชีพและวิชาชีวิต ท้ังท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษ และที่ไดรังสรรคพัฒนาขึ้นมาใหม และพรอมท่ีจะสง ผานส่ิงดีๆ น้ีไปยังอนุชนคนรุนอนาคต ผูสูงอายุจึงเปรียบเสมือนคลังแหงภูมิปญญาที่สังคมสามารถ เบิกทนุ ออกมาใชใ นยามตอ งการ สำนกั งานสง เสรมิ สวสั ดภิ าพและพทิ กั ษเ ดก็ เยาวชน ผดู อ ยโอกาส และ ผสู งู อายุ (สท.) ไดรวมกับสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด ตลอดจนวุฒิอาสา ธนาคารสมองและสมาคมสภาผูสูงอายุแหงประเทศไทยในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี จดั ทำทะเบียนคลงั ปญญาผูสูงอายุ ครบ 77 จังหวดั ในป พ.ศ. 2555 มีผเู ปน ภูมปิ ญ ญา ผูสูงอายุ 23 สาขาความรู รวม 22,394 คน สำหรับกรุงเทพมหานคร ไดมีการรวมตัวจัดต้ังชมรมคลังปญญาผูสูงอายุกรุงเทพมหานคร เม่ือเดือนสิงหาคม 2553 ถึงปจจุบันมีสมาชิก 754 คน กระจายอยูในพ้ืนที่ 50 เขต ความรูที่มี ผูสนใจรับการเรียนรูมากท่ีสุด ไดแก การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพรูปแบบตางๆ สมุนไพร การนวด แผนไทย ความรูเร่ืองศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และส่ิงประดิษฐฯ เปนตน ทั้งนี้ สท. ไดสงเสริม งานภูมิปญญาโดยจัดกิจกรรมมอบโลเกียรติคุณเพ่ือยกยองภูมิปญญาผูสูงอายุ เพื่อเปนแบบอยางที่ดี การจัดงานตลาดนัดภูมิปญญาสรางอาชีพเปนประจำทุกป การสอนสาธิตและถายทอดความรูในงาน วันผูสูงอายุแหงชาติ การจัดกิจกรรมผูสูงวัยสัญจร สอนภูมิปญญา ในสถานศึกษา ไดแก โรงเรียน มักกะสันพิทยา โรงเรียนวัดประชาระบือธรรม กทม. โรงเรียนบานบนเขาแกงเรียง จังหวัดกาญจนบุรี โรงเรียนศรีจุฬา จังหวัดนครนายก โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรีฯ การถายทอดความรู ใหช มรมผสู งู อายหุ รอื ชมุ ชนทส่ี นใจ การบรู ณาการความรว มมอื กบั สำนกั งานคมุ ประพฤติ กรงุ เทพมหานคร จัดอบรมใหค วามรสู งู านอาชพี ใหแกผ รู ับการคมุ ประพฤติ เปนตน

หนังสือ “ภูมิปญญาผูสูงอายุ สวนครัวลอยฟา สวนถาด สมุนไพร” เปนอีกกิจกรรมหน่ึงที่ แปรรูปปญญาท่ีมีอยูภายใน ใหเปนความรูแลวนำออกเผยแพรแลกเปล่ียนกับสาธารณะ โดยหวังวาจะ มีสวนกระตุนความสนใจของผูอานใหลุกข้ึนมาศึกษาทดลองตอยอดความรูหรือทำใหเกิดพลังผันความรู ใหเกิดเปนงานอาชีพที่สามารถสรางรายไดนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตไดตอไป ซ่ึงหากเปนประการหลัง ผูสูงอายผุ ูเปน เจา ของตำรับจะยินดมี ิใชน อ ย ขอขอบพระคุณ คุณลงุ สมบูรณ สุขสำอางค คุณลุงเสรี บุญเรือง และคุณลงุ สนธิ์ บุญพฒั น ท่กี รณุ า ถอดรหัสเคล็ดลับวิชาโดยไมอำพราง และยังปวรณาตนเปนวิทยากรจิตอาสาในทุกโครงการที่ สท. จดั เพ่ือประชาชน นบั วา ทกุ ทา นเปน “ผสู งู วัยทมี่ คี ณุ คา รว มพัฒนาสงั คมไทย” โดยแทจ ริง ในทายที่สุดน้ี ขอเชิญติดตาม “ภูมิปญญาผูสูงอายุ ขนมหวาน อาหารคาว” ซ่ึงจะจัดพิมพ เผยแพรเลมถัดไป สำนักงานสงเสรมิ สวสั ดภิ าพและพิทักษเดก็ เยาวชน ผดู อ ยโอกาส และผสู งู อายุ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย

ÊÒúÑÞ ¤Ó¹Ó 3 16 ¤ÇÒÁÊØ¢·èÕÂÔè§ãËÞ‹ ¤Ø³Å§Ø ÊÁºÃÙ ³ 梯 ÊÓÍÒ§¤ 28 30 ‹ÍÊǹÁÒänj㹶Ҵ ¤Ø³ÅاàÊÃÕ ºØÞàÃ×ͧ 33 38 ÊÁعä¾Ãã¡ÅμŒ ÑÇ ¤Ø³Åاʹ¸ìÔ ºÞØ ¾Ñ²¹ 39 40 - ความหมายของสมนุ ไพร 41 - สว นตางๆ ของพชื ท่ใี ชเ ปนสมนุ ไพร 42 - กระเทียม 43 - ขิง 44 - บอระเพ็ด 45 - มะนาว 46 - สะระแหน 47 - มะขาม 48 - พริก 49 - วา นหางจระเข 50 - มะรุม 51 - ยานาง 52 - ชะพลู 53 - ฟาทะลายโจร 54 - ตะไคร 55 - มะกรูด 55 - หอมแดง 56 - พญายอ 57 - มะแวง เครือ 57 - เสลดพังพอน 58 - ไพล 59 - บวั บก - ทองพันช่งั - ขมิ้น - กระชาย - กระเจ๊ยี บแดง

สมบรู ณ สุขสำอางค เลขท่ี 5/27 ซอย 22-20 ม.4 แขวงบางแคเหนอื เขตบางแค กทม. 10160 โทร. 0-2808-1251, 085–327–0405 “ทกุ วันนลี้ งุ มคี วามสขุ นะ เรอ่ื งเหนื่อยมันหนีไมพน แตถา ทำแลวมีความสุข ลงุ กจ็ ะทำตรงน้ีไปเรอ่ื ยๆ ตราบเทา ที่ยงั มีลมหายใจอยู” คุณลงุ สมบรู ณ สุขสำอางค

¤ÇÒÁ梯 ·èÕÂÔè§ãËÞ‹ ¢Í§¤¹ÃÑ¡¼Ñ¡Êǹ¤ÃÇÑ การทำหนาที่ประธานกลุมเกษตรกรทำสวนบางแคเหนือ ต้ังแตป 2520 คือจุดเร่ิมตนสำคัญท่ีทำใหคุณลุงสมบูรณฯ เขามา ผูกพันกับการทำกิจกรรมรวมกับเพื่อนๆ สมาชิก ท้ังการจัดงาน วันเกษตรกลุมบางแคเหนือท่ีย่ังยืนมาจนถึงปจจุบัน และการสง พืชผักสวนครัวท่ีปลูกดวยหัวใจไปประกวดในงานเกษตรตางๆ จนไดรับรางวัลการันตีความเปนมืออาชีพทางดานการปลูกผัก สวนครัวมามากมายนับไมถวน แตส่ิงท่ีทำใหคุณลุงภาคภูมิใจท่ีสุด กลับเปนการไดถายทอดความรูใหกับผูที่สนใจไมวาจะเปนเพื่อนๆ สมาชิกในกลุม หรือเด็กนักเรียนที่มาเขารับการอบรม ไปจนถึง ประชาชนท่ัวไปที่สนใจเร่ืองการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ และ ดวยความสุขท่ีเกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมเหลานี้น่ีเอง ที่ทำใหคุณ ลงุ ต้งั ใจวา จะปลกู ผกั สวนครวั ตอ ไปตราบนานเทา นาน

การปลกู ผกั สวนครัวในภาชนะ ดวยสภาพพ้ืนที่บริเวณรอบๆ บานของผูคนในปจจุบันมีพ้ืนที่จำกัด และไมเอ้ืออำนวยตอการทำ แปลงปลูกผักสวนครัวไวรับประทานเองภายในครอบครวั การปลูกผักสวนครัวในภาชนะ และการปลูกผักสวนครัวในภาชนะแขวนหรือผักสวนครัว ลอยฟา จึงกลายเปน อกี ทางเลือกหนึง่ ทจ่ี ะชว ยใหเ ราสามารถมสี วนครวั เลก็ ๆ อยูในบาน คอนโด หรือ อพารท เมน ท ทม่ี พี ืน้ ทจ่ี ำกดั ได โดยสามารถจัดเปน มุมสวนครัวเล็กๆ ไวท บ่ี รเิ วณหนาบา นหรอื หลงั บาน หรอื แมแ ตกระทง่ั ในบริเวณระเบยี งแคบๆ กส็ ามารถนำกระถางผักไปวาง หรือแขวนได 4|

รกู อนปลกู เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและไมเปนการสิ้นเปลือง ควรตรวจสอบ ดูวาในครอบครัวมีใครชอบกินผักอะไรบาง และผักชนิดไหนท่ีมีความ จำเปนตอการนำมาเปนสวนประกอบในการปรุงอาหารที่ครอบครัว โปรดปราน แตทั้งน้ีการปลูกผักสวนครัวก็ไมไดมีประโยชนเพียงแคปลูก สำหรับรับประทานเทาน้ัน แตยังสามารถนำมาตกแตงเปนสวนกระถาง หรือสวนแขวนลอยฟา สำหรับสรางความสดชื่นและสวยงามใหกับบาน ไดอ ีกดว ย การเลือกกระถาง ควรเลือกกระถางที่มีขนาดเหมาะสมกับผัก เชน ถาปลูกโดยการหวาน หยอดเมล็ด หรือปกชำ ควรเลือกกระถางที่มี ขนาดเลก็ กอ น จากนน้ั เมอ่ื ผกั เจรญิ เตบิ โตขน้ึ จงึ คอ ยเปลย่ี นถา ยใสก ระถาง ใหมท่ีเหมาะสมกับขนาดของตนผัก แตโดยสวนใหญมักนิยมใชกระถาง ทีม่ ีขนาดใหญต ้ังแต 10 น้ิว เปนตนไป การเลือกพื้นท่ีสำหรับวางกระถาง ควรเลือกพ้ืนที่ที่มีแดดรำไร เพราะผักสวนใหญจะชอบแดดรำไรโดยเฉพาะแดดในชวงเชา แตหาก พ้ืนท่ีนั้นเปนพ้ืนท่ีโลงไมมีที่บังแดด ก็สามารถนำแสลนกรองแสง 50 เปอรเซ็นต มาขึงเพื่อชวยกรองแสงใหกับผักสวนครัวในกระถาง ของเราได ขอ ดีของการปลกู ผักสวนครวั ในภาชนะ • ประหยดั พนื้ ทใี่ นการปลูก • สามารถเคลอ่ื นยาย จดั วาง ปรับเปลยี่ นตำแหนงกระถางผกั ได • สะดวกตอ การดแู ลรักษา และการเกบ็ ดอกออกผลเพอื่ รบั ประทาน • สามารถนำผักท่ปี ลกู ในกระถางไปวางตกแตงในสวนหยอ ม หรอื จัดเปน สวนประดบั ได คนรักผักสวนครัว | 5

ผักสวนครวั ทกุ ชนดิ สามารถปลกู ในกระถางไดทง้ั นนั้ เพียงแตเราตองเลอื กขนาดกระถาง ใหเ หมาะสมกบั ขนาดของผักชนิดน้นั ๆ แลว ก็บำรงุ รักษาใหดี ผกั กจ็ ะงอกงามในกระถางได คณุ ลุงสมบรู ณ สขุ สำอางค

ผกั สวนครวั ในกระถาง ปลูกงา ยๆ กนิ ไดในครอบครัว การปลูกผักสวนครัวในภาชนะ เปนเร่ืองที่ตองการความใสใจรายละเอียดเล็กๆนอยๆ เพ่ือใหผัก สามารถเจริญเติบโตไดอยางมีคุณภาพ และปลอดภัยจากสารเคมีปนเปอน ทำใหเราสามารถเก็บ ดอกผลของผักสวนครัวเล็กๆในภาชนะของเราไดตลอด ตราบเทาท่ีเรายังคงดูแลรักษาผักใหงอกงาม อยา งตอ เน่ือง ซงึ่ การปลูกและดแู ลผักสวนครวั ในภาชนะ สามารถทำไดต ามขนั้ ตอนดังตอ ไปนี้ 1. เตรียมเมลด็ พนั ธุ หวั กง่ิ ปกชำ หรือตนกลา การเตรียมเมล็ดพันธุนั้น เราสามารถซื้อเมล็ดพันธุบรรจุซองท่ีวางขายในรานคาการเกษตรได แตควรศึกษารายละเอียดท่ีซองบรรจุใหดี เพ่ือท่ีจะไดรูขอมูลวา ควรจะปลูกผักชนิดน้ันในฤดูไหน ดเู ปอรเซ็นตก ารงอก ดอู ายุการเกบ็ ดอกผลพืชผกั สวนครัว ดูวันเดือนปทีผ่ ลติ และวันหมดอายดุ วย แตหากเรามีผลแกของผักสวนครัวอยูแลว เราสามารถนำผลน้ันมาแกะเพื่อนำเมล็ดออกมาปลูกได เชน ถั่วฝกยาว พริก และมะเขือ เปนตน ซึ่งการใชเมล็ดจากผลแกของผักมาปลูกโดยไมตองตากแดด ใหแหงกอนนั้น จะใชระยะเวลาในการงอกประมาณ 20 วัน ซึ่งจะนานกวาการปลูกดวยเมล็ดที่ ตากแหง ถงึ 5 วนั แตเ ปอรเ ซน็ ตก ารงอกจะสงู กวา เพราะไมม คี วามเสยี่ งเรอื่ งเมลด็ พนั ธเุ สยี อนั เนอ่ื งมาจาก การตากเมล็ดพันธุบนภาชนะที่ดูดความรอน และนำไปวางไวในที่ท่ีมีแดดจัดจนเกินไป ซ่ึงการตาก เมลด็ พันธุด วยวธิ นี อ้ี าจทำใหเมลด็ พนั ธุสกุ จนไมสามารถงอกขึ้นมาได คนรกั ผกั สวนครัว | 7

นอกจากการปลูกผักดวยเมล็ดแลว ผักบางชนิดยังสามารถปลูกดวยการใชหัว เชน หอมหรือ กระเทียม ซ่ึงการเลือกหัวสำหรับนำมาปลูกน้ันควรเลือกหัวท่ีแหง ทั้งนี้เพ่ือใหสามารถเจริญเติบโต ไดอ ยางรวดเร็ว สวนการเลือกตนกลาผัก ควรเลือกตนกลาที่มีความสมบูรณแข็งแรง ผักท่ีนิยมนำตนกลามาปลูก เชน หวั ไชเทา กะเพรา พริก สะระแหน ผกั ชีฝรั่ง เปน ตน และสุดทายคือการเลือกก่ิงเพื่อนำมาเพาะพันธุดวยการปกกิ่งชำ ควรเลือกกิ่งชำท่ีมีความแข็งแรง สมบูรณ ไมแ กแ ละไมอ อ นจนเกินไป ผกั ที่นิยมนำมาปก กงิ่ ชำ เชน พริก กะเพรา โหระพา ปูเล เปนตน 8|

สวนผสมสำหรับทำดนิ ปลกู ผักสวนครัว กากมะพราวหัน่ เปน ชิ้นเล็กๆ 1 สว น ปยุ หมกั 1 สว น นำสวนผสมท้ังหมดมาคลุกเคลาใหเ ขากนั ปุยคอก 1/2 สว น 2. เตรยี มดิน ดินท่ีใชในการปลูกผักสวนครัว ไมควรเปนดินที่ขุดมาจากบริเวณบาน เน่ืองจากดินในบริเวณ บา นน้นั สว นใหญเปน ดนิ ที่นำมาถมใหม ไมคอยมีแรธาตสุ ารอาหารท่ีผกั สวนครัวตองการ ดังนน้ั จึงควร ใชด นิ ผสมสำหรบั เพาะปลูกทมี่ ีขายตามรานขายตน ไม หรือหากตอ งการผสมดินเองกส็ ามารถทำได โดยการนำวัตถุดบิ ดังตอ ไปน้มี าผสมรวมกัน กากมะพรา วหน่ั เปน ช้ินเลก็ ๆ 1 สว น, ปยุ หมกั 1 สว น, ปุยคอก 1/2 สว น การผสมปุยสูตรน้ีสามารถใชไดกับผักสวนครัวทุกชนิด โดยสวนผสมน้ีจะไมมีการใชดินจึงทำใหมี น้ำหนกั เบา และสามารถนำไปใชปลูกผักในภาชนะแขวนไดดี คนรักผักสวนครัว | 9

“เราสามารถปลกู ผกั สวนครัว เชน ตน กะเพรา ฯลฯ ใหงามกวา ปกติไดดวยการปลูกผักในกระถาง แลวนำกระถางไปวางไวบ นแผนโฟม ที่มคี วามหนาพอสมควร (ประมาณ 1 นว้ิ ) แผนโฟมจะชวยรักษาความช้นื ใหก บั ดิน จงึ ทำใหผ ักสามารถเจรญิ เติบโต ไดด ีกวา การวางกระถางไวบนพื้น” คุณลุงสมบูรณ สขุ สำอางค 10 |

3. วิธีการปลูก วิธีการปลกู ผกั สวนครวั นนั้ สามารถปลูกได 3 วิธีคอื การปลูกดวยการเพาะเมล็ด การปลูกดวยการ ปก ชำ และการปลูกดวยการใชห ัว ซงึ่ ผกั แตล ะชนดิ นัน้ จะใชว ิธีในการปลูกท่แี ตกตางกันออกไป วิธีการปลูกผักดวยการเพาะเมล็ด ไมควรหยอดเมล็ด การปลูกดวยการเพาะเมล็ด ลึกเกิน 1 เซ็นติเมตร เพราะหากลึกเกินไปจะทำใหตนออน โผลไมพนดิน และเนาตายอยูในดินเสียกอน นอกจากนี้ ยงั ตอ งมกี ารกะระยะหา งของเมลด็ หรอื หลมุ ทห่ี ยอดใหเ หมาะสม กบั ชนดิ ของผกั หรอื หากไมใ ชว ธิ หี ยอดเมลด็ ลงหลมุ กส็ ามารถ ใชวิธีหวานหรือโรยเมล็ดลงในกระถางแลวเกล่ียดินใหกลบ เมล็ดก็ได เมื่อถึงเวลาที่ตนกลางอกเราจึงคอยแยกตนกลาท่ี สมบูรณ มีระบบรากฝอยท่ีดี และมีลำตนท่ีแข็งแรง ไปปลูก ในกระถางอ่นื ตอ ไป วิธีการปลูกแบบปกชำ การตัดก่ิงชำตองเลือกก่ิงท่ีมี วิธีการปลกู แบบปกชำ ความสมบูรณ คือไมแกหรือออนจนเกินไป เวลาตัดกิ่งเพ่ือ นำมาชำ ควรตัดใตตาหรือใตขอ เพราะรากจะแตกออกที่ บริเวณน้ัน และควรริดใบออกบาง เพราะถาหากไมริดใบ ออกน้ำเล้ียงจะไปหลอเลี้ยงท่ีใบหมด ทำใหการแตกรากไมดี เทา ทคี่ วร สว นเวลาปก ชำ ตองปก ใหข อ จมลงไปในดนิ วิธีการปลูกแบบใชหัว ควรฝงหัวใหโผลพนดินข้ึนมา เล็กนอ ย ประมาณ 1/4 ของหัว จากน้นั รดนำ้ ตามปกติ วิธกี ารปลกู แบบใชห วั คนรกั ผักสวนครัว | 11

4. การดูแล และบำรงุ รักษาผักสวนครัวในกระถาง การใหน ้ำ ควรใหน ำ้ อยางเพียงพอในชวงเชา และเย็น ไมค วรรดน้ำตอนแดดจัด และรดน้ำพอชุมเทา นัน้ การใหป ุย การใสปุยน้ันสามารถใชไดท้ังปุยอินทรียและปุยเคมี โดยอาจใชรวมกัน เพราะปุยอินทรียมีขอดีคือ ไมท ำใหด นิ เสยี และไมม สี ารตกคา งทำใหป ลอดภยั ตอ ตวั เราและสงิ่ แวดลอ ม แตห ากตอ งการใหผ กั โตเรว็ ก็สามารถใชปุยเคมีรวมดวยได การใสปุยสำหรับผักที่ปลูกดวยเมล็ด ควรรอใหเมล็ดงอกประมาณ 30-40 วนั จากน้ันจงึ จะสามารถใสป ุยเพือ่ เรงการเตบิ โต 12 |

สวนการใสปุยสำหรับตนกลาท่ีเพิ่งแยกออกมาปลูกควรใสหลังจากแยกปลูกแลวประมาณ 7 วัน ซ่ึงในระยะน้ีการใสปุยควรใสบางๆ กอน เพราะรากพืชไมแข็งแรงพอ ถาใสมากเกินไปผักอาจตายได เมือ่ ผักสวนครัวเรม่ิ เจริญเติบโต ควรใสปยุ เพือ่ ใหอ าหารแกผ ักอยางนอ ย 1 ครง้ั ตอ สัปดาห โดยปุยที่ใช ในการบำรุงผักสวนครัวมี 2 ประเภท คือ ปุยอินทรีย และปุยเคมี ซ่ึงปุยเคมีจะนิยมใชปุย NPK สูตร มาตรฐาน 15-15-15 เคล็ดลับในการใสปุยใหผักสวนครัวในภาชนะ กค็ อื ควรใชป ยุ นำ้ ในการบำรงุ ผกั ในภาชนะแขวน เพราะหากใชปุยเม็ดจะละลายน้ำไดไมดี และ เม่ือรดน้ำไปแลวน้ำจะไหลออกอยางรวดเร็ว ทำใหผักไดรับปุยไมเต็มท่ี แตหากไมมีปุยน้ำ สามารถนำปุยเม็ดมาละลายน้ำได โดยการนำ ปยุ เม็ด 6 ชอนโตะ ผสมเขากบั นำ้ 3 ลติ ร แลว แชทง้ิ ไวใหปุยละลาย 20-30 นาที จากน้นั จงึ นำ มารดผกั สวนครัวในภาชนะแขวนตามปกติ คนรักผกั สวนครัว | 13

“จดุ เริ่มตนคอื การสง พชื ผกั สวนครัว ทป่ี ลกู ดว ยหัวใจไปประกวดในงานเกษตรตางๆ จนไดร บั รางวลั มามากมายนับไมถวน แตส ง่ิ ทที่ ำใหภาคภมู ิใจทสี่ ุด คือการถายทอดความรูใหก บั ผูสนใจทกุ วยั ” คุณลุงสมบรู ณ สุขสำอางค 14 |

การปองกนั และกำจดั ศัตรพู ืช ควรบำรุงรักษาผักใหแข็งแรง โดยการกำจัดวัชพืช และหากมีโรคและแมลงระบาดมาก ควรใช สารธรรมชาติ หรือใชกลวิธีตางๆ ในการปองกันและกำจัด เชน ใชมือจับออกหรือใชน้ำค้ันจากใบหรือ เมลด็ สะเดา ถา เปน พวกเพลยี้ เชน เพลยี้ ออ น เพลย้ี แปง เพลย้ี หอย และเพลย้ี จกั จนั่ ใหใ ชน ำ้ ยา ลา งจาน 15 ซซี ี ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพนใตใบเวลาเย็น ถาเปนพวกมด หอย และทากใหใชปูนขาวโรยบางๆ ลงบรเิ วณพน้ื ดนิ (ทม่ี า : http://kittpol.blogspot.com/2009/08/2009.html) การเกบ็ ดอกผลพชื ผักสวนครัวเพอ่ื รบั ประทาน การเกบ็ ดอกผลพชื ผักสวนครัวเพ่อื รับประทาน ควรเก็บในเวลาเชา เพราะจะทำใหไ ดผ ักสดรสชาติดี และหากยงั ไมร บั ประทานในทนั ที ควรนำมาลา งใหส ะอาด และเอาไปเกบ็ ไวใ นตเู ยน็ สำหรบั ผกั ประเภทผล เชน พรกิ และมะเขอื ควรเก็บในขณะที่ผลยังไมสุกดี เพราะจะทำใหเ ราไดผลที่มรี สชาติดี และจะทำให ตนมีผลดก เพราะถาหากปลอยใหผลแกคาตน ตอไปตนจะออกดอกออกผลไดนอยลง และลำตนก็จะ โทรมงา ย มใี บเหลอื ง เนอื่ งจากนำ้ เลยี้ งถกู ดดู ไปเลย้ี งทผี่ ลจนหมด สว นการเกบ็ เกย่ี วผกั ใบ เชน ผกั กาดหอม ผักบุงจีน และคะนา ควรเก็บผักในสวนที่สดออน หรือโตไดขนาดแลว โดยที่ยังคงเหลือลำตนและ รากไวไมถอนออกทั้งตน เพราะรากหรือตนท่ีเหลืออยูนั้นจะสามารถงอกงามใหผลไดอีกหลายคร้ัง แตทั้งน้ีก็ตองข้ึนอยูกับการดูแลรักษาดวยการรดน้ำและใสปุยอยางสม่ำเสมอดวย สวนผักท่ีบริโภค เฉพาะบริเวณยอดออน เชน สะระแหน กะเพรา และโหระพา ควรเลือกเก็บเฉพาะสวนยอดเทาน้ัน เพือ่ ใหผ ักไดมโี อกาสแตกยอดออกมาใหมใ หเ ราเกบ็ เก่ียวในครง้ั ตอ ไป คนรกั ผกั สวนครัว | 15

ÂÍ‹ ÊǹÁÒänj㹶Ҵ ¨¹Ô μ¹Ò¡ÒÃáÅФÇÒÁ梯 ÊÌҧ䴌´ÇŒ ÂÁÍ× àÃÒ โดยคุณลงุ เสรี บญุ เรือง กวา 20 ปแลว ท่ีคณุ ลงุ เสรไี ดเขา มาคลกุ คลอี ยูในแวดวงการเกษตร ดวยการเปนครูสอนวิชาเกษตรใหกับโรงเรยี นในสงั กัดกรุงเทพมหานคร จนกระทงั่ ไดร บั คัดเลอื กใหเปน ครูดีเดน และไดรบั เชญิ ใหเปน คณะกรรมการตดั สินการประกวด การจดั สวนถาดของชุมชน ซึง่ จากจดุ นี้เองท่ที ำใหค ุณลงุ เสรี หนั มาใหความสนใจเรอ่ื งการจดั สวนถาดอยา งจริงจงั อีกทัง้ ยังไดนำความรเู หลา นไี้ ปแบง ปนใหกบั คนอ่ืนๆ ไมวาจะเปน เดก็ หรอื ผใู หญ เพอ่ื ใหท ุกคนไดสมั ผัสกบั ความสุขท่ีเกดิ ขนึ้ จากการใชเ วลาวา งใหเ กดิ ประโยชน เพราะการจดั สวนถาดนนั้ นอกจากจะชว ยใหเ กิดสมาธแิ ลว ยงั ชวยใหเ กิดจนิ ตนาการ ความคดิ สรา งสรรค และที่สำคญั ยังชวยใหเกดิ “ความสุข” ท่สี ามารถสรางข้ึนไดด วยสองมือของเราเอง

เสรี บญุ เรอื ง เลขท่ี 1 ถ.สวัสดกิ าร แยก 11 เขตหนองแขม กทม. 10160 โทร. 08-0989-6966 การจดั สวนถาด นอกจากจะชว ยใหเ กดิ สมาธแิ ลว ยังชว ยใหเกดิ จนิ ตนาการ และความสุขอีกดว ย คณุ ลงุ เสรี บุญเรอื ง

การจดั สวนถาด การจัดสวนถาด เปนศิลปะอยางหน่ึงท่ีชวยใหเกิดสมาธิ จินตนาการและความสุข และยังชวยให เกิดความภาคภูมิใจ แตเน่ืองจากการจัดสวนถาดในแตละครั้งจะตองมีการลงทุน เราจึงควรถามตัวเอง กอนวา เราจะจัดสวนถาดเพื่ออะไร เชน ถาตองการจัดเพื่อนำไปจำหนาย ก็ตองสังเกตทำเลที่ต้ังของ รานคาวาลูกคาท่ีเดินผานไปมาบริเวณน้ันมีกำลังซื้อมากนอยแคไหน ถาลูกคามีกำลังซื้อนอยเราก็ควร เลือกวสั ดทุ ม่ี ีราคาตนทุนที่ไมแพงมากนกั และกำหนดราคาขายทีไ่ มแ พงจนเกินไปเพอื่ ใหล กู คาสามารถ เลือกซื้อกลับไปได แตถาหากเปนการจัดสวนถาดเพื่อการประกวด ก็ตองทุมเทเรื่องวัสดุอยางเต็มท่ี และตองมกี ารออกแบบ และคัดเลอื กวสั ดอุ ยางดี เพือ่ ใหเ ปน ทปี่ ระทับใจกรรมการท่ีตดั สินการประกวด 18 |

วสั ดอุ ปุ กรณในการจดั สวนถาด 1. กระถางเซรามกิ หรอื ดนิ เผาทรงตื้น 2. ตน ไมใ นรม (ไมป ระธาน ไมรองประธาน และไมส มาชกิ ) 3. ดนิ ผสม 4. หนิ หนิ กรวด ขอนไม 5. กระบอกฉีดนำ้ 6. คมี ปากแหลม 7. อปุ กรณตกแตง เชน ตุกตานก บานเซรามกิ และสะพานเซรามกิ เปนตน 8. หญา มอส ยอสวนมาไวในถาด | 19

การเลอื กดิน ดินท่ีใชในการจัดสวนถาดควรเปนดินท่ีไมมีปุยผสมอยู เพราะตนไมแตละชนิดอาจตองการปุย ไมเหมือนกนั สว นเร่อื งสัดสวนการผสมดินขน้ึ อยูก บั ประเภทตน ไม การเลอื กกระถาง การจัดสวนถาดควรเลือกกระถางดินเผาท่ีไมมีการเคลือบ เพราะจะสามารถดูดซับน้ำและระบาย นำ้ ไดด ี และกระถางควรมรี สู ำหรบั ระบายนำ้ ขนาดใหญพ อสมควรเพอื่ ปอ งกนั รากเนา สว นเรอ่ื งรปู ทรงนน้ั ควรเลือกกระถางท่มี ีความตื้น เพราะจะสามารถนำมาจดั สวนถาดไดสวยงามกวา กระถางท่ีมีรูปทรงลกึ การเลอื กตนไม ควรเลือกตนไมท่ีมีขนาดเลก็ หรือแคระ มใี บละเอยี ด และจดั แตง ทรงไดง า ย เชน ไทร ไผแดง หลวิ กระสัง และควรเลือกลักษณะตนไมท่ีมีความตองการน้ำ แสง และดิน ในสัดสวนที่เหมือนกันเพื่อให สามารถดูแลไดงา ย การเลอื กวัสดุจดั สวนถาดใหไดองคป ระกอบท่เี หมาะสม 1. ไมควรนำตน ไมพ นั ธเุ ดยี วกนั หลายๆ ตน มาจัดรวมกนั เพราะจะทำใหสวนถาดดรู ก 2. ควรเลือกวัสดุตกแตงท่ีมีขนาดเหมาะสมกับขนาดกระถาง เชน หากจัดสวนถาดขนาดใหญ สามารถนำหินลาย หินแมน้ำมาใชในการจัดตกแตงได แตถาหากเปนสวนถาดขนาดเล็กควรใช ตุกตา ดนิ เผาขนาดเล็ก และหญามอส ในการตกแตง 20 |

“การจัดสวนถาด คอื การนำตน ไมในรม พันธแุ คระ มาจัดสวนขนาดจวิ๋ ลงในถาด ท่ีมีขนาดพอเหมาะ เพ่ือต้งั ประดบั ตกแตง ในอาคาร หรือโตะ ทำงาน โดยมากตน ไมท่ีนยิ มนำมาจัด มักจะเปนตน ไมม งคลชนิดตางๆ” คุณลุงเสรี บุญเรือง ยอ สวนมาไวใ นถาด | 21

การจัดสวนถาดมีขั้นตอนดงั ตอ ไปนี้ 1. ใชจินตนาการความคิดสรางสรรค ในการออกแบบสวนถาด โดยการทดลองนำไมประธาน (ตนไมที่มีขนาดใหญกวาตนไมชนิดอื่นๆ ที่ใชจัดสวนถาด) กับไมรองประธาน (ตนไมท่ีมีขนาดเล็กกวา ไมป ระธาน) มาวางดกู อน เพื่อหาจดุ สมดุลของภาชนะ โดยใหไมประธานอยใู นตำแหนงท่เี กือบชดิ ขอบ กระถางดา นใดดานหนงึ่ เพื่อสรา งจดุ เดนใหกบั สวนถาด 2. นำดินมาใสกระถาง จัดวางไมประธาน และไมรองประธาน ตามตำแหนงที่เราออกแบบไว ดูความเหมาะสมของไมประธานวาควรอยูสูงต่ำขนาดไหน หากตองการใหไมประธานสูงข้ึนก็สามารถ นำดินมารองใตไมประธานใหสูงข้ึนได เชนเดียวกันกับไมรองประธาน แตไมรองประธานไมควรสูงกวา ไมประธาน หากสูงกวาใหขุดหลุมวางไมรองประธานใหต่ำลงไป เม่ือวางเสร็จแลว ใหลองถอยออกมา ยนื ดหู า งๆ เพอื่ ดกู ารจดั วางตำแหนง ไมป ระธานและไมร องประธานวา มคี วามสมดลุ และสวยงามดหี รอื ไม 3. นำไมสมาชิก (ตนไมท่ีมีขนาดเล็กกวาไมประธานและไมรองประธาน) มาปลูกแซมบริเวณที่วาง ที่เหลืออยูโดยดูองคประกอบภาพรวมของทั้งถาด ไมควรปลูกไมสมาชิกใหแนนเกินไป เพราะจะทำให สวนถาดดูรกและไมมีจุดเดนท่ีนาสนใจ และควรเวนพ้ืนที่วางสำหรับการวางอุปกรณตกแตง เชน บา นเซรามกิ หรอื สะพานขา มแมน้ำ 22 |

4. ถาหากตองการแมน้ำก็สามารถนำชอนมาทำปนหลุมต้ืนๆ ขนาดยาว แลวนำกรวดสีขาวมา โรยทับอกี ที จากน้ันนำหญามอสมาปทู บั พน้ื ดิน กอนทจี่ ะนำอุปกรณต กแตง สวนถาดตางๆ เชน สะพาน เซรามกิ ตกุ ตานก ผลไมต งุ ตง้ิ มาตกแตง ตามจินตนาการเพอื่ ใหเ กดิ ความสวยงาม 5. ใชก ระบอกน้ำฉดี นำ้ เพ่อื สรา งความชุมชืน้ ใหก บั สวนถาด ยอสวนมาไวใ นถาด | 23

การพฒั นาฝม ือดานศิลปในการจดั สวนถาด เราสามารถพัฒนาฝมือการจัดสวนถาดไดดวยการหาขอมูล จากอินเตอรเน็ต หนังสือ หรือดูตัวอยางจากแหลงขายสวนถาด หรอื จากงานการจัดประกวดสวนถาด เปน ตน แตท ้ังนตี้ องมีการ ทดลองทำดวย จึงจะสามารถชวยใหเรามีทักษะและจินตนาการ เพิม่ มากขึน้ ได การดูแลรักษาสวนถาด สวนถาดจะมีสภาพสวยงามอยูไดประมาณ 3 เดือนเทานั้น ซึ่งในระหวางน้ีเราสามารถดูแลสวนถาดใหคงทนและสวยงามได ดวยการวางสวนถาดไวในที่รมรำไรเพื่อปองกันการแหงของหญา มอส ตดั แตงกง่ิ ตามความเหมาะสม และรดนำ้ วนั ละ 2 คร้งั แหลงหาซ้อื วสั ดุอปุ กรณในการจดั สวนถาด แหลง ขายวสั ดอุ ปุ กรณใ นการจดั สวนถาดในกรงุ เทพมหานคร จะอยทู ่ีสนามหลวง 2 และตลาดนดั จตุจักร 24 |

ยอ สวนมาไวใ นถาด | 25

ราคาตน ทุนวัสดุอปุ กรณใ นการตกแตง สวนถาดโดยประมาณ • กระถางตน ไมส ำหรบั จัดสวนถาดจะมรี าคาแตกตา งกนั ไปขึ้นอยกู บั ความสวยงามและคุณภาพ • ไมป ระธาน ราคาประมาณ 40 - 80 บาท สว นไมร องประธาน และไมส มาชกิ จะมรี าคาลดหลนั่ ลงมา • หญามอสราคาถาดละประมาณ 5 - 10 บาท • ดนิ ถุงละ 20 บาท • อุปกรณต กแตง เซรามกิ เชน สะพานโคงขามแมนำ้ ราคาประมาณ 35 - 45 บาท • นกตวั ละประมาณ 5 บาท • หนิ ประดับกอนละ 5 บาท • หนิ กรวดเม็ดเล็กยอมสที ีท่ ำเปนแมน้ำ ราคาถงุ ละ 10 บาท 26 |

สรุปแลวการจัดสวนถาด 1 ถาด ราคาตนทุนท่ีถูกที่สุดจะอยูที่ประมาณ 180 บาท ซึ่งหากเราจัด เพอ่ื นำไปจำหนา ย ตอ งบวกคา แรง และคา ความคดิ สรา งสรรคใ นการออกแบบไปดว ย 30 -40 เปอรเ ซน็ ต ประโยชนของการจดั สวนถาด 1. ประโยชนดานการศกึ ษา การจัดสวนถาด เปนจุดเริ่มตนของการเรียนรูทักษะและจินตนาการในการจัดสวน เพราะการจัด สวนถาดคือการยอสวนการจัดสวนหยอมที่สามารถฝกฝนไดงายและไมส้ินเปลืองคาใชจายมากนัก เนื่องจากตนไมและวัสดุอุปกรณตางๆ ที่นำมาใชในการฝกจัดสวนถาดน้ัน มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา หางาย และราคาถูก จึงสะดวกตอการฝกหัดจัดวางองคประกอบสวน และยังสะดวกตอการฝกซ้ำ เพอื่ ใหเกดิ ความชำนาญอกี ดว ย 2. ประโยชนดา นจติ ใจ การจัดสวนถาดชวยใหเกิดความสุขได เพราะเปนการใชจินตนาการสรางธรรมชาติที่งดงามตาม ความตองการของเรา อีกทั้งยังชวยใหเกิดความเพลิดเพลิน และเกิดความภาคภูมิใจในความสามารถ ของตนเอง จนนำไปสกู ารฝกฝนเพอื่ พฒั นาฝม ือของตนเองไปเรอื่ ยๆ สวนผูชมหรือผูที่ไดพบเห็นสวนถาดที่ถูกจัดอยางสวยงามนั้น ก็จะไดรับความเพลิดเพลิน ความอิ่มเอมใจ และยังไดรับความผอนคลายจากการชื่นชมผลงานท่ีถูกสรางสรรคจากสองมือของผูจัด อีกดว ย 3. ประโยชนด านเศรษฐกิจ เราสามารถจัดสวนถาดเพื่อนำมาจำหนายเปนของฝากหรือของตกแตงบานได ซ่ึงการจัดสวนถาด นั้นนับวาเปนชองทางในการสรางรายไดท่ีนาสนใจอีกทางหนึ่ง สวนการกำหนดราคาขายนั้น จะตอง บวกราคาวัสดุอุปกรณโดยคิดตามราคาปลีกเสมอ (ราคาขายปลีกของวัสดุอุปกรณการจัดสวนถาด จะสูงกวาราคาขายสง ประมาณรอยละ 20) จากน้ันจึงบวกคาจัดทำอีกประมาณ 30 - 40 เปอรเซ็นต ของราคาตน ทุน จงึ จะเกดิ ความคุมคา ในการจำหนา ย ยอสวนมาไวในถาด | 27

ทีเ่ ราเรียนรเู ร่ืองสมุนไพร กเ็ พราะวา เราชอบ เราเห็น คุณคา และเราอยากรกั ษา ความรูเร่ืองสมุนไพร ซง่ึ เปนมรดกของแผน ดินไทย คุณลุงสนธ์ิ บญุ พัฒน

สนธิ์ บญุ พฒั น ÊÁ¹Ø ä¾Ãã¡ÅŒμÇÑ เลขท่ี 131 ซ.วดั อมั พวา ÃÙäŒ ÇŒÁ»Õ ÃÐ⪹ แขวงบานชา งหลอ เขตบางกอกนอ ย ¡Ñº¤³Ø Å§Ø Ê¹¸ìÔ ºØÞ¾²Ñ ¹ กทม. 10700 โทร. 08-1553-5766 คุณลุงสนธิ์เปนผูท่ีมีความสนใจเร่ืองสมุนไพรมาต้ังแต เด็กๆ โดยไดซึมซับความรูดานสมุนไพรมาจากการเปน สามเณรติดตามหลวงพอไปเก็บสมุนไพรเพื่อนำมารักษา ชาวบาน และตั้งแตน้ันเปนตนมา คุณลุงสนธ์ิก็ไดศึกษา และคนควาหาความรูเรื่องสมุนไพรมาโดยตลอด ท้ังจาก การเรียนที่วัดโพธ์ิ หรือแมกระทั่งท่ีกองประกอบโรคศิลป (กรมการแพทยแผนไทย กระทรวงสาธารณสขุ ในปจ จุบัน) จึงอาจกลาวไดวาคุณลุงสนธ์ิเปนผูท่ีไดส่ังสมความรู ดานสมุนไพรมานานหลายสิบป จนกระทั่งสามารถสอบ เปน เภสชั แพทยแ ผนไทยไดใ นป 2540 และถงึ แมว า คณุ ลงุ สนธ์ิ จะไมไ ดน ำความรเู หลา นม้ี าใชใ นการประกอบอาชพี เนอ่ื งจาก ยดึ อาชพี หลกั ในการรบั ราชการเปนครู แตเ มอ่ื เกษียณอายุ ราชการแลว คุณลุงสนธิ์ก็ไดกลับเขามาคลุกคลีกับเรื่อง สมุนไพรอีกครั้ง ดวยการทำหนาท่ีเปนวิทยากรอบรม ใหความรูเร่ืองสมุนไพรไทยแกผูท่ีสนใจท่ัวไป และเขารวม กิจกรรมใหความรูกับเพ่ือนๆ สมาชิกชมรมคลังปญญา ผสู ูงอายกุ รงุ เทพมหานครเรื่อยมา

สมนุ ไพรไทย ความหมายของสมุนไพร สมุนไพร หมายถึง พืชที่มีสรรพคุณในการรักษาโรคหรืออาการเจ็บปวยตางๆ ซึ่งการใชสมุนไพร สำหรบั รกั ษาโรค หรอื อาการเจบ็ ปว ยตา งๆ นี้ จะตอ งนำเอาสมนุ ไพรตงั้ แตส องชนดิ ขนึ้ ไปมาผสมรวมกนั ซ่งึ จะเรียกวา “ยา” ในตำรบั ยา นอกจากพืชสมนุ ไพรแลว ยงั อาจประกอบดวยสตั วแ ละแรธาตอุ ีกดว ย เราเรยี กพชื สัตว หรือแรธาตุที่เปนสวนประกอบของยาน้ีวา “เภสัชวัตถุ” พืชสมุนไพรบางชนิด เชน เรว กระวาน กานพลู และจันทนเทศ เปนตน พืชเหลานี้เปนพืชท่ีมีกล่ินหอมและมีรสเผ็ดรอน ใชเปนยาสำหรับ ขับลม แกท องอืด ทอ งเฟอ พชื เหลาน้ถี า นำมาปรงุ อาหารเราจะเรียกวา “เครอ่ื งเทศ” 30 | สวนครัวลอยฟา สวนถาด สมนุ ไพร

ในพระราชบญั ญตั ยิ าฉบบั ที่ 3 พ.ศ.2522 ไดแบงยาทไ่ี ดจ ากเภสัชวตั ถุนีไ้ วเ ปน 2 ประเภทคือ 1. ยาแผนโบราณ หมายถงึ ยาทใ่ี ชใ นการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ หรอื ใชใ นการบำบดั โรค ของสัตว ซึ่งมีปรากฎอยูในตำรายาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศ ใหเปนยาแผนโบราณ หรือไดรับ อนุญาตใหขึน้ ทะเบยี นตำรับยาเปน ยาแผนโบราณ 2. ยาสมุนไพร หมายถึง ยาท่ีไดจากพืช สัตว แรธาตุที่ยังมิไดผสมปรุงหรือแปรสภาพสมุนไพร ซึ่งนอกจากจะใชเปนยาแลว ยังใชเปนอาหาร เครื่องดื่ม อาหารเสริม สวนประกอบในเครื่องสำอาง ใชแตงกลิ่น แตงสีอาหารและยา ตลอดจนใชเปนยาฆาแมลงไดอีกดวย ในทางตรงกันขาม มีสมุนไพร จำนวนไมนอยท่ีมีพิษ ถาใชไมถูกวิธีหรือใชเกินขนาดอาจมีพิษถึงตายได ดังนั้นการใชสมุนไพรจึงควรใช ดว ยความระมดั ระวังและใชอ ยา งถกู ตอ ง ปจจุบันมีการต่ืนตัวในการนำสมุนไพรมาใชพัฒนาประเทศมากข้ึน คำวาสมุนไพรจึงปรากฏอยูใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติดวย กระทรวงสาธารณสุขไดดำเนินโครงการสมุนไพรกับ สาธารณสุขมูลฐาน โดยเนนการนำสมุนไพรมาใชบำบัดรักษาโรคในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ มากขนึ้ และสง เสรมิ ใหป ลกู สมนุ ไพรเพอ่ื ใชภ ายในหมบู า นเปน การสนบั สนนุ ใหม กี ารใชส มนุ ไพรมากยงิ่ ขนึ้ ซ่ึงเปนวิธีหน่ึงที่จะชวยประเทศชาติประหยัดเงินตราในการส่ังซ้ือยาสำเร็จรูปจากตางประเทศไดปละ เปน จำนวนมาก สมุนไพรใกลต ัว | 31

“พืชสมุนไพร” นั้นต้ังแตโบราณก็ทราบกันดีวามีคุณคาทางยามากมาย ซึ่งเชื่อกันอีกดวยวา ตนพืชตางๆ ก็เปนพืชที่มีสารที่เปนตัวยาดวยกันท้ังสิ้น เพียงแตวาพืชชนิดไหนจะมีคุณคาทางยา มากนอ ยกวา กนั เทานนั้ สง่ิ ทค่ี วรรูและจดจำเกย่ี วกับ “พืชสมนุ ไพร” มี 5 อยาง คอื 1. รูป ตองรูจักลักษณะของสมุนไพรในรูปแบบตางๆ เชน ใบไม ดอกไม เปลือกไม แกนไม กระพไี้ ม รากไม เมลด็ เปน ตน 2. สี ใหร ูส ีของสมนุ ไพร เชน สีเขียวใบไม สเี หลอื ง สแี ดง สสี ม สมี วง สีนำ้ ตาล สดี ำ ฯลฯ 3. กลน่ิ ใหร ูว า มกี ลิน่ อยา งไร เชน มีกลิ่นหอม หรือเหม็น 4. รส ใหรูว า มีรสอยางไร เชน รสจืด รสฝาด รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปรย้ี ว รสเย็น เปนตน 5. ชื่อ ตองรูจักช่ือและลักษณะของสมุนไพร เชน รูวา ขิงเปนอยางไร ขาเปนอยางไร ใบข้ีเหล็ก เปน อยา งไร 32 | สวนครวั ลอยฟา สวนถาด สมุนไพร

ปจจุบันมีผูพยายามศึกษาคนควาเพ่ือพัฒนายาสมุนไพรใหสามารถนำมาใชในรูปแบบท่ีสะดวก ยิ่งข้ึน เชน นำมาบดเปนผงบรรจุแคปซูล ตอกเปนยาเม็ด ทำเปนครีมหรือยาขี้ผึ้งเพื่อใชทาภายนอก เปนตน และยังไดมีการศึกษาวิจัย เพ่ือนำสมุนไพรมาสกัดปนยาแผนปจจุบัน โดยการสกัดสารสำคัญ จากสมนุ ไพรเพอื่ ใหไ ดส ารทบ่ี รสิ ทุ ธเิ์ พอื่ นำมาศกึ ษาคณุ สมบตั ทิ างดา นเคมี - ฟส กิ สข องสาร และตรวจสอบ การออกฤทธิ์ดานเภสัชวิทยาในสัตวทดลองกอนที่จะนำมาผลิตเปนยาและนำมาทดลองใชตอไป รวมทง้ั ศึกษาความเปน พิษและผลขา งเคียง สว นตางๆ ของพชื ที่ใชเ ปน พชื สมุนไพร 1. ราก รากของพืชมีมากมายหลายชนิดเอามาเปนยาสมุนไพรไดเปนอยางดี เชน กระชาย ขมนิ้ ชนั ขิง ขา เรว ขม้ินออย เปน ตน รปู รางและลักษณะของราก แบง ออกเปน 2 ชนดิ คือ 1.1 รากแกว ตนพืชมากมายหลายชนิดมีรากแกว ซึ่งนับวาเปนรากท่ีสำคัญมาก รากแกวจะ งอกออกมาจากลำตน ลักษณะของรากจะมีรูปรางยาว ใหญ เปนรูปกรวย ดานขางของ รากแกวจะมีรากฝอยแตกแยกออกมาเปนจำนวนมากเพื่อทำการดูดซึมอาหารในดินไป บำรุงเลย้ี งสวนตา งๆ ของตน พชื ท่มี ีรากแกว ไดแ ก ตนขเ้ี หลก็ ตนคนู เปน ตน สมนุ ไพรใกลต วั | 33

1.2 รากฝอย รากฝอย คือ สวนท่ีงอกออกมาจากปลายลำตนของพืช โดยจะงอกออกมาเปนฝอยจำนวนมาก รากฝอยจะมีลักษณะ กลมยาว และมีขนาดเทาๆ กัน ตนพืชท่ีมีรากฝอยจะเปนพืชที่มี ใบเลี้ยงเดยี่ ว เชน หญาคา ตะไคร เปนตน 2. ลำตน นับวาเปน โครงสรา งทีส่ ำคัญของตนพชื โดยปกตแิ ลว ลำตนจะอยู บนดิน แตบางสวนจะอยูใตดินพอสมควร รูปรางของลำตนน้ันแบงออกไดเปน 3 สวนดวยกัน คือ ตา ขอ ปลอง บรเิ วณเหลา น้ีจะมีกงิ่ กาน ใบ ดอกเกิดขึ้น ซึ่งจะทำใหพืชมีลักษณะท่ีแตกตางกันออกไป ชนิดของลำตนพืช แบงตาม ลกั ษณะภายนอกของลำตน ไดเปน 4 ประเภท ดงั นี้ 1. ประเภทไมย ืนตน 2. ประเภทไมพมุ 3. ประเภทหญา 4. ประเภทไมเ ลื้อย 3. ใบ ใบเปนสวนประกอบที่สำคัญของตนพืชท่ัวไป มีหนาที่ในการ สังเคราะหแสง ผลิตอาหาร และเปนสวนที่แลกเปลี่ยนน้ำและอากาศใหตนพืช ใบเกิดจากการงอกของก่ิงและตา ใบไมโดยท่ัวไปจะมีสีเขียว (สีเขียวเกิดจาก สารทม่ี ีชือ่ วา “คอลโรฟลล”) ใบของพชื หลายชนดิ ใชเ ปนยาสมุนไพรไดดีมาก ใบทส่ี มบูรณมีสวนประกอบรวม 3 สวนดวยกันคอื 1. ตวั ใบ 2. กานใบ 3. หูใบ 34 | สวนครัวลอยฟา สวนถาด สมุนไพร



“อยากใหเ ด็กรนุ ใหม ศกึ ษาคนควาเร่ืองสมนุ ไพรกนั ใหม ากขน้ึ เพราะพืชพนั ธุธญั ญาหารของไทยเรา มปี ระโยชนม หาศาล” คุณลุงสนธิ์ บุญพฒั น 36 | สวนครวั ลอยฟา สวนถาด สมนุ ไพร

ชนดิ ของใบ แบง ออกไดเปน 2 ชนิด คือ 1. ใบเล้ยี งเด่ยี ว หมายถึง กา นใบอนั หน่งึ มีเพยี งใบเดยี ว เชน กานพลู ขลู ยอ กระวาน เปน ตน 2. ใบประกอบ หมายถงึ ใบไม 2 ใบ ข้นึ ไป ที่เกิดจากกา นใบอันเดยี วกัน เชน มะขามแขก แคบา น ขี้เหลก็ มะขาม เปนตน 4. ดอก ดอกเปนสวนท่ีสำคัญของพืช ทำหนาท่ีในการแพรพันธุ มีลักษณะที่แตกตางกันไปตาม ประเภทของตนไม และลักษณะทแี่ ตกตา งกันนี้จะเปน ขอ มลู สำคญั ในการจำแนกประเภทของตนไม ดอกจะตองมีสว นประกอบท่สี ำคญั 5 สวนคอื 1. กานดอก 2. กลบี รอง 3. กลบี ดอก 4. เกสรตัวผู 5. เกสรตัวเมยี 5. ผล ผลคือสวนหน่ึงของพืชท่ีเกิดจากการผสมเกสรตัวผูกับเกสรตัวเมียในดอกเดียวกันหรือ คนละดอกก็ได มีลักษณะรูปรางที่แตกตางกันออกไปตามประเภทและสายพันธุ รูปรางลักษณะของผล มหี ลายอยา ง ตามชนดิ ของตน ไมทแ่ี ตกตา งกนั แบงตามลกั ษณะของการเกิดไดเ ปน 3 แบบ คือ 1. ผลเดี่ยว หมายถึง ผลท่เี กิดจากรงั ไขอันเดยี วกนั 2. ผลกลมุ หมายถงึ ผลที่เกดิ จากปลายชอของรังไขใ นดอกเดียวกนั เชน นอยหนา เปนตน 3. ผลรวม หมายถงึ ผลที่เกดิ มาจากดอกหลายดอก เชน สับปะรด เปน ตน ลกั ษณะของผลแบงออกเปน 3 ลกั ษณะ คือ 1. ผลเน้ือ 2. ผลแหงชนิดแตก 3. ผลแหง ชนิดไมแ ตก สมุนไพรใกลตัว | 37

ความรู สมนุ ไพร ใกลตวั 1. กระเทยี ม ลกั ษณะ เปนไมลมลุก มีกลิ่นแรง ลำตนสูงประมาณ 30 - 45 เซนติเมตร เปนพืชจำพวกหญา ลงหัวใตดิน ใบสเี ขียว หนายาว สว นกลางแบน ปลายแหลม ดอกสีขาว รวมกันเปน ชอทป่ี ลายกาน สว นที่ใชเปนยา ใบ ราก และหัวใตด นิ มรี สเผ็ดรอน ประโยชนท างสมนุ ไพร 1. หวั เปน อาหารเสรมิ สขุ ภาพ ชว ยลดคอเลสเตอรอลในกระแสเลอื ด ใชร ักษาโรคความดันโลหติ สงู 2. บำบัดอาการไอ หวัด หลอดลมอักเสบเร้ือรัง แกทองอืด แนนจุกเสียด ปวดทอง อาหารไมยอย ขบั ลม ขบั เสมหะ 3. แกปวดฟน ปวดหู 4. ชว ยขบั ปส สาวะ ขบั ประจำเดอื น ขบั พยาธิไสเ ดอื น 5. ลดอาการอักเสบบวม ฆาเชอื้ แกโ รคผิวหนงั 6. เปนยาฆา แมลง 38 | สวนครัวลอยฟา สวนถาด สมนุ ไพร

2. ขง ลักษณะ เปนพืชลมลุก มีเหงาใตดิน เปลือกนอกมีสีน้ำตาลแกม เหลือง เนื้อในสีนวลมีกลิ่นหอมเฉพาะ ขึ้นเปนกอ ใบ เปน ใบเดย่ี ว ออกเรยี งสลบั กนั เปน สองแถว เปน รปู หอกเกลย้ี งๆ กวา ง 1.5 - 2 เซนตเิ มตร ยาว 12 - 20 เซนติเมตร ดอก สขี าว ออกรวมกนั เปนชอรูปเห็ด แทงขึ้นมาจากเหงา ชูกานสูง 15 - 25 เซนติเมตร หลดุ รวงไว ผล กลม แขง็ โต วัดผา ศนู ยก ลางประมาณ 1 เซนตเิ มตร สว นที่ใชเ ปนยา ตน ใบ ดอก ผล ราก เหงา ประโยชนท างสมนุ ไพร 1. สารสำคัญในน้ำมันหอมระเหยขิง จะออกฤทธิ์กระตุนการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส ใชขิงแกยาว 2 น้ิว ทุบพอแหลก เทน้ำเดือดลงครึ่งแกว ปดฝาท้ิงไวนาน 5 นาที รินน้ำดื่มระหวาง อาหาร หรอื ตม ขิงแกกบั น้ำ รินดมื่ จะชว ยแกอ าการทองอดื เฟอ จุกเสยี ด แนน คลน่ื ไสอ าเจยี น แกบิด ขับลม 2. ใชเ หงาสดต้ังค้ันนำ้ ผสมน้ำมะนาว เตมิ เกลือเลก นอ ย จบิ แกไ อ ขบั เสมหะ 3. ใชขงิ สดฝานตมนำ้ รบั ประทาน ลดความดันโลหิต 4. ใชทำยาขมเพื่อเจริญอาหาร โดยใชเหงาสดประมาณ 1 องคุลี ตมน้ำหรือปรุงอาหารหรือ รับประทานสดกับลาบหรือแหนม หรือใชขิงผงแหง 1/2 ชอนโตะ หรือประมาณ 0.6 กรัม ชงกับ น้ำรอ นดื่มชว ยใหอ ยากรับประทานอาหารมากขึน้ สมนุ ไพรใกลตวั | 39

ความรู สมุนไพร ใกลตัว 3. บอระเพด็ ลกั ษณะ เปน ไมเ ถาเลอื้ ยพนั เปน ไมเ นอื้ ออ น แตเ มอ่ื มอี ายมุ าก เนอ้ื ของลำตน อาจแข็งได ลำตนมีขนาดเทานิ้วมือ มีไสเปนเสนยาว ตามเปลือก ของลำตนมีปุมปมกระจายทั่วไปเปนจำนวนมาก ยางมีรสขมจัด มีใบเดี่ยวเปนแบบสลับ โคนใบรูปหัวใจ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกออกเปนชอยาว 7 - 25 เซนติเมตร ดอกมี ขนาดเล็กสีเหลืองอมเขียว ผลรูปไข สีเหลือง หรือสม ขนาด 2 - 3 เซนตเิ มตร สวนท่ีใชเ ปนยา ใบ เถา ประโยชนทางสมุนไพร 1. แกอ าการสะอกึ นำบอระเพด็ มาดองเหลา จบิ 1 ชอ นชา ฤทธขิ์ อง เหลา ขาว และบอระเพ็ด จะกำซาบซานไปทวั่ ปาก คอ หลอดลม ทางเดนิ อาหาร 2. พอกฝ ระงับการอกั เสบ ใชบอระเพ็ดพอกทห่ี วั ฝ อาการปวด อักเสบ จะคลายลงและหายได 3. แกปวดเจบ็ บาดแผล ใชบ อระเพด็ ตำพอก บาดแผลอกั เสบ อาการเจบ็ ปวดคอยๆ หายไปได 4. ลดไข ใชเถาแกสดหรือตนสด ครง้ั ละ 2 คืบคร่ึง ทำค้นั เอาน้ำด่ืม หรอื ตมใชน้ำ 3 สว น เค่ยี ว ใหเหลือ 1 สว น ดมื่ วันละ 2 คร้งั กอ นอาหารเชา-เย็น หรอื ด่มื เมื่อมีไข 4. ฆา พยาธิ นำเถาบอระเพด็ บดละลายนำ้ คน้ั ดมื่ เพื่อฆาพยาธิตายได 5. แกเ สมหะเปน พษิ คั้นนำ้ บอระเพด็ ดม่ื แกเสมหะเปน พษิ เสมหะมากคอยๆ หายไป 6. ชวยใหเ จริญอาหาร 40 | สวนครัวลอยฟา สวนถาด สมนุ ไพร

4. มะนาว ลักษณะ เปนไมยืนตนขนาดเล็ก มีพุมสูง 2 - 4 เ ม ต ร ก่ิ ง อ อ น มี ห น า ม ใ บ ไ ม เรี ย ง ส ลั บ เปนรูปวงรีหรือรูปไขปลายมน เนื้อใบมีจุดน้ำมัน กระจาย ขอบใบหยักเล็กนอย ดอกเดี่ยวหรือชอ ออกทป่ี ลายกงิ่ และทซี่ อกใบ กลบี ดอกสขี าว กลนิ่ หอมออ นๆ รวงงาย ผลกลมเกลี้ยง มีน้ำมาก รสเปรี้ยวจัด ฉ่ำน้ำ เปลือกผลมีน้ำมนั และมกี ล่นิ หอม รสขม สวนที่ใชเปน ยา ใบ ผล เปลือกผล เปลอื กผลแหง รากสด ประโยชนทางสมุนไพร 1. รักษาอาการทองอืด ทองเฟอ แนนจุกเสียด ใชผิวมะนาวแหง 10-15 กรัม ตมน้ำดื่ม น้ำมนั จากผิวมะนาวชวยขับลมไดดี 2. เปนยาขับเสมหะ นำน้ำมะนาวเติมเกลือเล็กนอย จิบ จะชวยใหเสมหะถูกขับออกและ เสียงดี ถาเปนเมล็ดมะนาวใช 10-20 เมล็ด คั่วใหเหลือง บดใหละเอียด เติมพิมเสน 2-5 เกล็ด ชงนำ้ รอนดม่ื เปน ยาขบั เสมหะ แกร ะคายคอ รกั ษาอาการไอ 3. ยาปอ งกนั หรอื แกโ รคเลอื ดออกตามไรฟน (ลกั ปด ลกั เปด ) ใชน ำ้ จากผลทแี่ กจ ดั เตมิ เกลอื นำ้ ตาล นำ้ แข็ง ใชเ ปนเครื่องดืม่ หรือผสมอาหารก็ไดผลเชน กัน 4. แกคันศีรษะ แกสิว แกขอศอกและสนเทาดานดำ ลบรอยดางดำท่ีขาหรือขาลาย ลบเลอื นจดุ ดางดำเล็กๆ หรือรอยแผลเปน แกปญหาเล็บเหลือง ขจดั รอยเปอนยางผลไม 5. แกล้ินเปนฝา แกนำ้ กัดเทา แกป ูนซเี มนตกัด แกก ลากเกล้อื น หดิ สมนุ ไพรใกลต ัว | 41

ความรู สมุนไพร ใกลตัว 5. สะระแหน ลักษณะ เปนพืชลมลุกเล้ีอยตามพ้ืนดิน ลำตนสีแดงเขม ใบกลมขนาดหัวแมมือ ใบคอนขางหนา ริมใบหยัก โดยรอบ ภายในใบเปนคลื่นยบั ยน และมีกล่ินหอม สว นท่ีใชเปนยา ใบ ประโยชนทางสมุนไพร 1. รกั ษาอาการปวดศรี ษะ ปวดฟน เจบ็ คอ รกั ษาแผลในปาก เจบ็ ลน้ิ โดยด่มื นำ้ ตมใบสะระแหน 5 กรัม กับนำ้ 1 ถว ย ผสม เกลอื เล็กนอย วนั ละ 2 คร้ัง 2. รักษาอาการบิดทองรวง อุจจาระเปนเลือด โดยนำใบ สะระแหนต ม ดืม่ แตน้ำ 3. แกพิษแมลงสัตวกัดตอย ตำใบสะระแหนใหละเอียดพอก บรเิ วณท่ีโดนกดั 4. ชวยหามเลือดกำเดาได โดยใชสำลีชุบน้ำท่ีคั้นจากใบสะระแหน หยอดทีร่ ูจมกู 5. รักษาอาการปวดหู นำน้ำค้ันจากใบสะระแหนหยอดหูจะชวยบรรเทา อาการปวดไดด ี 6. รักษาอาการหนา มดื ตาลาย โดยรับประทานนำ้ ตมใบสะระแหนและขงิ สด 42 | สวนครัวลอยฟา สวนถาด สมนุ ไพร

6. มะขาม ลกั ษณะ เปน ไมตน สงู 15 - 25 เมตร ลำตนขรขุ ระ เปลือกตน สีเทาเกือบดำ แตกกงิ่ กานมากมาย ดอก ออก เปนชอท่ีซอกใบ กลีบดอกสีเหลือง มีลายมวงแดง ผล เปนฝกสีน้ำตาลหรือน้ำตาลอมเทา เมื่อแกจัด เนอ้ื ในฝกจะฝอลงไมติดกับเปลือก เรียกวา มะขามเปย ก มีท้ังรสหวานและเปรี้ยว สว นที่ใชเ ปน ยา เมล็ด ดอก ใบ เนือ้ ในฝก ราก เปลือก ประโยชนทางสมุนไพร 1. เปนยาถายพยาธิไสเดือน ตัวกลม ตัวเสนดาย ไดผลดี ใชเมล็ดค่ัวกะเทาะเปลือกออก แลวเอาเน้ือในเมล็ดแชนำ้ เกลอื จนนมุ รับประทานเนอ้ื ทง้ั หมด ครงั้ ละ 20-30 เมล็ด 2. เปนยาระบาย ยาถาย ใชเน้ือที่หุมเมล็ด (มะขามเปยก) แกะเมล็ดแลวขนาด 2 หัวแมมือ (15-30 กรมั ) จิม้ เกลอื รบั ประทาน แลวดืม่ น้ำตามมากๆ 3. แกทองรว ง ใชเ ปลอื กตน ท้ังสดและแหง ประมาณ 1-2 กำมอื (15-30 กรัม) ตมกบั น้ำปนู ใส หรือน้ำ รับประทาน 4. รกั ษาแผล เมล็ดกะเทาะเปลือก ตม นำมาลางแผลและสมานแผลได 5. แกไอและขบั เสมหะ ใชเ นือ้ ในฝก แก หรอื มะขามเปย ก จ้มิ เกลือรับประทานพอควร 6. เปน ยาลดความดนั โลหติ สงู ใชด อกสด ไมจ ำกดั จำนวน ใชแ กงสม หรอื ตม กบั ปลาสลดิ รบั ประทาน สมนุ ไพรใกลต ัว | 43

ความรู สมุนไพร ใกลตัว 7. พรกิ ลกั ษณะ พริกข้ีหนูเปนไมพุมเต้ีย สูงประมาณ 60 เซนติเมตร ใบมีขนาดเล็ก ปลายใบแหลม มีดอกสีขาว ผลกลมยาวปลายแหลม ผลจะอยูในลักษณะปลายแหลมช้ีฟา ซ่ึงจะตางจากพริกช้ีฟา ปลายผลจะช้ีลง พน้ื ดิน ผลมรี สเผ็ดรอน เมอ่ื ดบิ มสี เี ขียว ครั้นผลแกม ีสสี ม สแี ดง สแี ดงแกหรือเหลือง ในแตละผลจะมี เมล็ดจำนวนมากเรียงตวั อยู สว นท่ีใชเปนยา ใบ ยอดออ น ผล ประโยชนท างสมนุ ไพร 1. ทำขผ้ี ้ึง ใชทาแกเ คลด็ ขดั ยอก บวมฟกช้ำดำเขียว โดยนำพริกข้หี นูบดแหง 1 สว น ผสมขผ้ึ ึง้ วาสลินท่ลี ะลายแลว 5 สวน 2. รับประทานผลสดจะชวยขับลม กระตุนการทำงานของกระเพาะอาหาร ทำใหเจริญอาหาร แกอ าเจียน บิด บำรงุ กระดกู บำรงุ ประสาท แกป วดศรี ษะ 44 | สวนครวั ลอยฟา สวนถาด สมนุ ไพร

8. วานหางจระเข ลักษณะ เปน พชื ลม ลกุ มขี อ และปลอ งสน้ั ใบเดยี่ วเรยี งสลบั ซอ นกนั อยู ใบหนาและอวบนำ้ ใบยาวปลายแหลม รอบใบมกั มหี นามเลก็ ๆ เรยี งรอบตน ใบมสี เี ขยี วออ นหรอื เขยี วเขม ภายในมวี นุ ใส ใตผ วิ สเี ขยี วมนี ำ้ ยาง สเี หลอื ง ดอกชอ ออกจากกลางตน ดอกยอ ยเปน หลอดหอ ยลงสสี ม บานจากลา งขนึ้ บน ผลเปน ผลแหง แตกได สวนที่ใชเ ปนยา ใบสด ประโยชนทางสมุนไพร 1. ใชวุนสดของใบปด ขมบั แกป วดหัว 2. รักษาแผลไฟไหม ตัดใบสดขูดน้ำเมือกและวุนในใบมาพอกบริเวณแผลไฟไหมน้ำรอนลวก แผลไหมเกรียมจากแดดหรือการฉายรังสี แผลสด แผลเร้ือรัง ท้ิงไวใหแหง แลวเปลี่ยนใหมทุกวัน อาการจะดีขึ้นอยางรวดเร็ว ปจจุบันมีการผลิตเปนแบบเจลบรรจุหลอดพรอมใชและเก็บรักษาไดนาน ทำใหสะดวกตอการใชง านมากขนึ้ 3. ใชก ินเพื่อรกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร 4. วนุ เปนสว นผสมในเครื่องสำอางคหลายประเภท เชน แชมพูสระผม สบู ครีมกนั แดด เปนตน สมุนไพรใกลต วั | 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook