Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชาเคมี 4 2-2563

โครงสร้างรายวิชาเคมี 4 2-2563

Published by กานดา วุฒิเศลา, 2021-03-09 11:37:50

Description: โครงสร้างรายวิชาเคมี 4 2-2563

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ ง วชิ า เคมี 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 นางสาวกานดา วุฒเิ ศลา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ า เคมี 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 จำนวน 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ คำอธิบายรายวิชา ระบุและอธิบายว่าสารเป็นกรดหรือเบสโดยใช้ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตด-ลาวรีและ ลวิ อิส ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี คำนวณและเปรียบเทียบความสามารถ ในการแตกตัวหรอื ความแรงของกรดและเบส คำนวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอก ไซดไ์ อออนของสารละลายกรดและเบส เขียนสมการเคมแี สดงปฏกิ ิริยาสะเทินและระบคุ วามเปน็ กรด-เบสของ สารละลายหลงั การสะเทิน เขียนปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรลิซสิ ของเกลอื และระบคุ วามเป็นกรด-เบสของสารละลายเกลือ ทดลองและอธิบายหลักการไทเทรต และเลือกใชอ้ ินดิเคเตอร์ท่เี หมาะสมสำหรับการไทเทรตกรด-เบส คำนวณ ปริมาณสารหรือความเข้มข้นของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต อธิบายสมบัติ องค์ประกอบและ ประโยชนข์ องสารละลายบัฟเฟอร์ สบื คน้ ข้อมูลและนำเสนอตัวอยา่ งการใช้ประโยชน์และการแก้ปัญหาโดยใช้ ความรู้เกี่ยวกับกรด-เบส คำนวณเลขออกซิเดชันและระบุปฏิกิริยาท่ีเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ วิเคราะห์การ เปล่ียนแปลงเลขออกซิเดชันและรุบตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์ รวมท้ังเขียนครงึ่ ปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่ง ปฏิกิรยิ ารีดักชันของปฏิกิรยิ ารดี อกซ์ ทดลองและเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิ ไดส์ และเขียนแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ ดุลสมการรีดอกซ์ด้วยการใช้เลขออกซิเดชันและวิธีคร่ึงปฏิกิริยา ระบุ องค์ประกอบของเซลล์เคมีไฟฟ้าและเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาท่ีแอโนดและแคโทด ปฏิกิริยารวมและ แผนภาพเซลล์ คำนวณค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์และระบุประเภทของเซลล์เคมีไฟฟ้า ข้ัวไฟฟ้าและ ปฏิกริ ิยาเคมที ี่เกิดขน้ึ อธบิ ายหลักการทำงาน และเขียนสมการแสดงปฏิกริ ิยาของเซลลป์ ฐมภูมิและเซลลท์ ุติย ภูมิ ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้าและอธิบายหลักการทางเคมีไฟฟ้าท่ีใช้ในการชุบโลหะ การแยกสารเคมีดว้ ยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะให้บรสิ ุทธิ์และการป้องกนั การกดั กร่อนของโลหะ สืบค้นขอ้ มูล และนำเสนอตวั อย่างความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยที เ่ี ก่ียวขอ้ งกบั เซลล์เคมไี ฟฟ้าในชวี ิตประจำวนั โดยใช้การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มท่เี หมาะสม

ผลการเรียนรู้ 1. ระบุ และอธิบายวา่ สารเป็นกรดหรือเบสโดยใช้ทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตด–ลาวรี และลิวอสิ 2. ระบคุ ู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี 3. คำนวณ และเปรียบเทียบความสามารถในการแตกตวั หรือความแรงของกรดและเบส 4. คำนวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรด และเบส 5. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิรยิ าสะเทิน และระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายหลงั การสะเทิน 6. เขยี นปฏิกริ ิยาไฮโดรลิซิสของเกลอื และระบคุ วามเป็นกรด-เบสของสารละลายเกลือ 7. ทดลอง และอธิบายหลักการการไทเทรตและเลือกใช้อินดเิ คเตอร์ที่เหมาะสมสำหรับ การไทเทรต กรด-เบส 8. คำนวณปริมาณสารหรือความเขม้ ขน้ ของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต 9. อธิบายสมบัติ องค์ประกอบ และประโยชน์ของสารละลายบัฟเฟอร์ 10. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตวั อยา่ งการใช้ประโยชนแ์ ละการแก้ปญั หาโดยใช้ความรเู้ กยี่ วกบั กรด– เบส 11. คำนวณเลขออกซิเดชนั และระบุปฏกิ ิรยิ าทีเ่ ปน็ ปฏกิ ิรยิ ารีดอกซ์ 12. วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงเลขออกซิเดชันและระบุตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์ รวมท้ังเขียนครึ่ง ปฏกิ ิรยิ าออกซเิ ดชันและคร่ึงปฏกิ ิริยารดี กั ชันของปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ 13. ทดลอง และเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์ และเขียนแสดง ปฏิกิรยิ ารีดอกซ์ 14. ดุลสมการรีดอกซด์ ว้ ยการใชเ้ ลขออกซิเดชนั และวธิ ีครงึ่ ปฏิกิริยา รวม 14 ผลการเรียนรู้

ผังมโนทศั น์ รายวิชา เคมี รหัสวชิ า ว 3๒๒๐4 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๕ ช่ือหน่วย กรด - เบส จำนวน ๓๐ ชว่ั โมง : ๕๐ คะแนน รายวชิ า เคมี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๕ จำนวน ๖๐ ชวั่ โมง ชื่อหนว่ ยไฟฟ้าเคมี จำนวน ๓๐ ชั่วโมง : ๕๐ คะแนน

ผังมโนทัศน์ รายวิชา เคมี รหสั วชิ า ว 3๒๒๐4 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๕ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรื่อง กรด – เบส จำนวน 30 ชวั่ โมง : ๕๐ คะแนน ชอื่ เรื่อง ทฤษฎี กรด-เบส ชอ่ื เรอ่ื ง คู่กรด – เบส จำนวน ๒ ชว่ั โมง : ๕ คะแนน จำนวน ๑ ชวั่ โมง : ๕ คะแนน ชือ่ เรอื่ งการแตกตวั ของกรด เบส และน้ำ ช่ือเรื่อง สมบัติกรด เบสของเกลือ จำนวน ๔ ชั่วโมง : ๕ คะแนน จำนวน ๒ ชัว่ โมง : ๕ คะแนน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรือ่ ง กรด-เบส จำนวน ๓๐ ช่วั โมง ชือ่ เรือ่ ง pH ของสารละลายกรดและเบส ชือ่ เรือ่ ง ปฏิกริ ิยาระหวา่ งกรดและเบส จำนวน ๔ ชั่วโมง : ๗ คะแนน จำนวน ๒ ช่วั โมง : ๕ คะแนน ชอ่ื เร่ือง การไทเทรตกรด-เบส ชอ่ื เรือ่ ง. สารละลายบัฟเฟอร์ จำนวน ๑๐ ช่วั โมง : ๑๐ คะแนน จำนวน ๓ ชวั่ โมง : ๕ คะแนน ช่ือเร่อื ง การประยุกตใ์ ช้ความรู้เกย่ี วกบั กรด-เบส จำนวน ๒ ชว่ั โมง : ๓ คะแนน

ผังมโนทัศน์ รายวิชา เคมี รหัสวิชา ว 3๒๒๐4 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๕ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง เคมีไฟฟา้ จำนวน 30 ชว่ั โมง : ๕๐ คะแนน ชื่อเรือ่ ง เลขออกชเิ ดชนั และปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์ ชอ่ื เรื่อง การดุลสมการรดี อกซ์ จำนวน ๖ ชว่ั โมง : ๑๐ คะแนน จำนวน ๖ ชั่วโมง : ๑๐ คะแนน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรอื่ ง ไฟฟ้าเคมี จำนวน ๓๐ ชัว่ โมง ชื่อเรื่อง เซลลไ์ ฟฟ้าเคมี ชอ่ื เรอื่ ง ประโยชน์ของเซลล์ไฟฟา้ เคมี จำนวน ๙ ชวั่ โมง : ๑๓ คะแนน จำนวน ๖ ช่ัวโมง : ๑๐ คะแนน

โครงสร้างรายวิชา เคมี 4 ร ภาคเรยี นท่ี 2 ปีก หนว่ ย ชอ่ื หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ ท่ี การเรียนรู้ 1 กรด-เบส 1. ระบุ และอธิบายว่าสารเป็นกรดหรือ • สารในชีวติ ประจำวันหล เบสโดยใชท้ ฤษฎีกรด–เบสของอาร์เรเนียส โดยใชท้ ฤษฎกี รด-เบสของ เบรินสเตด–ลาวรี และลิวอสิ 2. ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด- • ตามทฤษฎีกรด-เบสขอ เบสของเบรินสเตด-ลาวรี หรือทำปฏิกิริยากับสารอ เป็นกรดและเบส เกิดเป กรด-เบสของสารต้ังต้น ตา่ งกัน ๑ โปรตอน 3. คำนวณ และเปรียบเทียบความสามารถ • กรดและเบสแตล่ ะชนดิ ในการแตกตัวหรือความแรงของกรดและ เบสแก่สามารถแตกตัวเป เบส หรือเบสอ่อนแตกตัวเป็น หรือความแรงของกรดหร กรดหรือเบส หรือปรมิ าณ 4. คำนวณค่า pH ความเข้มขน้ ของไฮโดร • น้ำบริสุทธ์ิท่ีอุณหภูมิ ๒ เนียมไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของ และไฮดรอกไซด์ไอออนท สารละลายกรดและเบส ลิตร โดยมคี า่ คงทก่ี ารแตก • เมื่อกรดหรอื เบสแตกต

ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 การศึกษา 2563 สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนักคะแนน คะแนน K PA เต็ม (ช่ัวโมง) 2 21 5 ลายชนดิ มีสมบัติเปน็ กรดหรอื เบส ซงึ่ พิจารณาได้ 2 งอารเ์ รเนียส เบรนิ สเตด–ลาวรี หรอื ลิวอิส องเบรินสเตด–ลาวรี เม่ือกรดหรือเบสละลายน้ำ 1 2 21 5 อ่ืน จะมีการถ่ายโอนโปรตอนระหว่างสารต้ังต้นที่ ป็นผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นโมเลกุลหรือไอออนที่เป็นคู่ น้ัน โดยสารที่เป็นคู่กรด-เบสกันจะมีโปรตอน ดสามารถแตกตัวในนำ้ ได้แตกต่างกัน กรดแก่หรือ 4 2 21 5 ป็นไอออนในน้ำได้เกือบสมบูรณ์ ส่วนกรดอ่อน 7 3 31 7 นไอออนได้น้อยโดยความสามารถในการแตกตัว รือเบสอาจพิจารณาได้จากคา่ คงท่กี ารแตกตวั ของ ณการแตกตัวเป็นร้อยละของกรดหรือเบส ๒๕ องศาเซลเซียสแตกตัวให้ไฮโดรเนียมไอออน ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน คือ 1.0 x 10-7 โมลต่อ กตัวของน้ำ เทา่ กับ 1.0 x 10-14 ตวั ในน้ำ คา่ ความเปน็ กรด-เบสของสารละลาย

หน่วย ช่ือหน่วย ผลการเรียนรู้ ท่ี การเรียนรู้ แสดงได้ด้วยค่า pH ซึ่งส 1 กรด-เบส โดยสารละลายกรดมีควา 10-7 โมลต่อลิตรหรือม เขม้ ขน้ ของไฮโดรเนยี มไอ pH มากกวา่ ๗ 5. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทิน • ปฏิกิริยาสะเทินระหว แ ล ะ ร ะ บุ ค ว า ม เป็ น ก ร ด -เบ ส ข อ ง ปฏิกิริยาสะเทินระหว่าง สารละลายหลงั การสะเทนิ สว่ นปฏกิ ริ ยิ าสะเทนิ ระหว 6. เขยี นปฏิกิรยิ าไฮโดรลซิ ิสของเกลอื และ • เกลือท่ีได้จากการสะเท ระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลาย เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสไ เกลอื จาก การสะเทินของกรดอ ไฮโดรลซิ ิสได้สารละลายท 7. ทดลอง และอธิบายหลักการการ • การไทเทรตเป็นเทคนคิ ไท เท รต และ เลือก ใช้อิน ดิ เคเตอ ร์ท่ี สารท่ที ำปฏิกิริยาพอดกี นั เหมาะสมสำหรับ การไทเทรตกรด-เบส ในทางปฏิบัติ จุดสมมูล สังเกตจากการเปลี่ยนสีข ดังน้ันอินดิเคเตอร์ท่ีเหม เตอร์ท่ีเปลี่ยนสีในช่วง p ณ จุดสมมูล

สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนักคะแนน คะแนน K P A เต็ม (ชว่ั โมง) สัมพันธ์กับความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน ามเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนมากกว่า 1.0 x มีค่า pH น้อยกว่า ๗ ส่วนสารละลายเบสมีความ อออนน้อยกว่า1.0 x 10-7 โมลตอ่ ลติ ร หรอื มีค่า ว่างกรดแก่และเบสแก่ให้สารละลายที่เป็นกลาง 2 2 21 5 งกรดแก่และเบสอ่อน ให้สารละลาย ที่เป็นกรด 7 3 22 7 วา่ งกรดอ่อนและเบสแก่ ให้สารละลายท่ีเป็นเบส ทินของกรดแก่ด้วยเบสอ่อน เม่ือละลายในน้ำจะ ได้สารละลายท่ีมีสมบัติเป็นกรด ส่วนเกลือที่ได้ อ่อนด้วยเบสแก่ เมอื่ ละลายในน้ำจะเกดิ ปฏกิ ริ ิยา ที่มสี มบัตเิ ปน็ เบส คในการวเิ คราะห์หาปริมาณหรอื ความเขม้ ข้นของ น จุดที่สารทำปฏกิ ริ ยิ าพอดีกนั เรียกว่า จดุ สมมูล ของปฏิกิริยาอาจไม่สามารถสังเกตเห็นได้ จึง ของ อินดิเคเตอร์ เพื่อบอกจุดยุติของการไทเทรต มาะสมในการไทเทรตกรด-เบส ควรเป็นอินดิเค pH ตรงกับหรือใกล้เคียงกับ pH ของสารละลาย

หน่วย ชอ่ื หน่วย ผลการเรียนรู้ ท่ี การเรียนรู้ 1 กรด-เบส 9. คำนวณปริมาณสารหรือความเข้มข้น • ปริมาณกรดและเบสท ของสารละลายกรดหรือเบสจากการ สามารถนำไปคำนวณควา ไทเทรต เขม้ ขน้ ได้ 10. อธิบายสมบัติ องค์ประกอบ และ • สารละลายบัฟเฟอร์เป ประโยชนข์ องสารละลายบัฟเฟอร์ นน้ั หรือเบสอ่อนกบั เกลือ ผลต่อการเปล่ียนแปลงค ของสารละลายบัฟเฟอร์ สง่ิ มชี วี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม 11. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่าง • ความรู้เก่ียวกับกรด-เบ การใช้ประโยชน์และการแก้ปัญหาโดยใช้ ชีวิตประจำวนั เกษตรกรร ความร้เู กย่ี วกับกรด–เบส 2 เคมีไฟฟา้ 12. คำนวณเลขออกซิเดชัน และระบุ • เคมีไฟฟา้ เป็นการศึกษา ปฏกิ ริ ิยาท่เี ป็นปฏิกิรยิ ารีดอกซ์ และการเกิดปฏิกิริยาเคม เปลี่ยนแปลงเลขออกซิเ ไฟฟา้ สมมติของอะตอมธา 1 3 . วิเคราะห์การเปลี่ยน แป ลงเลข • ปฏิกิริยารีดอกซ์มีทั้งค ออกซิเดชนั และระบุตัวรีดิวซ์และตัวออกซิ ปฏกิ ิรยิ าออกซิเดชนั และ ไดส์ รวมท้ังเขียนครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน โดยสา และครึ่งปฏิกิริยารีดักชันของปฏิกิริยารี เรียกว่า ตัวรีดิวซ์ ส่วนส ดอกซ์ เรียกวา่ ตัวออกซไิ ดส์

สาระสำคญั เวลา น้ำหนักคะแนน คะแนน K PA เตม็ (ชัว่ โมง) 1 11 3 ท่ีทำปฏิกิริยาพอดีกันจาก การไทเทรตกรด-เบส ามเข้มข้นของกรดหรือเบสท่ีต้องการทราบความ 3 ป็นสารละลายของกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อน 3 2 21 5 อของเบสอ่อนนัน้ เม่ือเติมกรด เบส หรือน้ำจะมี ค่า pH น้อยกว่าสารละลายทั่วไป สมบัติเฉพาะ เป็นประโยชน์ต่อการควบคุม pH ของระบบใน บส สามารถนำมาใช้ประโยชน์และแก้ปัญหาใน 2 12 3 รม อุตสาหกรรม และการแพทย์ 6 23 10 าเกย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงระหว่างพลงั งานไฟฟ้า 6 11 10 มีท่ีมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนแล้วทำให้เกิดการ เดชัน ซึ่งเป็นเลขท่ีแสดงประจุไฟฟ้าหรือประจุ าตุ เรยี กปฏกิ ริ ิยาชนิดนี้ว่า ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์ ครึ่งปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน เรียกว่า ครึ่ง ะครึ่งปฏกิ ิริยาท่ีมกี ารรบั อเิ ล็กตรอน เรียกว่า คร่ึง ารที่ให้อิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชันเพ่ิมข้ึน สารที่ รับอิเล็ก ตรอน จะมีเลขอ อก ซิเดชัน ลดลง

หนว่ ย ชื่อหน่วย ผลการเรยี นรู้ ท่ี การเรยี นรู้ 2 เคมไี ฟฟา้ 1 4 . ท ด ล อ ง แ ล ะ เป รี ย บ เที ย บ • การเปรียบเทียบความ ความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัว สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากผ ออกซไิ ดส์ และเขียนแสดงปฏิกิรยิ ารีดอกซ์ 15. ดุลสมการรีดอกซ์ด้วยการใช้เลข • ปฏิกิริยารีดอกซ์เขียน ออกซเิ ดชนั และวิธคี ร่งึ ปฏกิ ริ ยิ า ดอกซท์ ำได้โดยการใช้เลข สอบกลางภาค สอบปลายภามค รวม

สาระสำคญั เวลา น้ำหนักคะแนน คะแนน K PA เตม็ (ชวั่ โมง) 3 21 13 มสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์ 9 ผลการทดลองของปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ นแทนได้ด้วยสมการรีดอกซ์ ซึ่งการดุลสมการรี 7 1 2 1 10 ขออกซิเดชนั และวิธคี รึ่งปฏิกิริยา 20 30 100

การวเิ คราะหม์ าตรฐานแล รายวิชาเคมี 2 ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน ผลการเรยี นรู้ รอู้ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิ้นงา 1. ระบุ และอธิบายว่าสาร รู้อะไร ทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เร - ใบงานที่ 1 เร่ือง ตรว เป็นกรดหรือเบสโดยใช้ เนยี ส เบรินสเตด–ลาวรี และลิวอสิ ความรู้ก่อนเรยี น ทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เร ทำอะไร ระบุ และอธิบายว่าสาร - กิจกรรมท่ี 1 พจิ ารณ เนียส เบรินสเตด–ลาวรี เปน็ กรดหรอื เบส ปฏกิ ิริยาแล้วตอบคำถ และลวิ อิส 2. ระบุคู่กรด-เบสของสาร รู้อะไร คู่กรด-เบส - กจิ กรรมที่ 2 ระบคุ กู่ ตามทฤษฎีกรด-เบสของ ทำอะไร ระบุคู่กรด-เบสของสาร ของสารในปฏกิ ิรยิ าท เบรนิ สเตด-ลาวรี ต า ม ท ฤ ษ ฎี ก ร ด -เบ ส ข อ ง เบ ริ น ส เตด-ลาวรี 3. คำนวนและเปรยี บเทียบ รู้อะไร สามารถในการแตกตัวหรือ - กิจกรรมท่ี 3 เขยี นแผ ความ สามารถในการแตก ความแรงของกรดและเบส แสดงความสัมพนั ธ์ระ ตัวหรือความแรงของกรด ทำอะไร คำนวนและเปรียบเทียบ ความเข้มขน้ และการ และเบส ความ สามารถในการแตกตัวหรือ ของสาร ความแรงของกรดและเบส - ใบงานท่ี 2 เรอื่ ง ตรว ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ก

ละตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ 1.5 หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 งาน สมรรถนะสำคัญ คณุ ลกั ษณะของวิชา คุณลกั ษณะอันพึง ประสงค์ วจสอบ - ความสามารถในการคิด - ความรับผิดชอบ - ใฝ่เรียนรู้ - ความสามารถในการ - ความรอบคอบ - มงุ่ ม่นั ในการทำงาน ณา แก้ปัญหา - การทำงานเปน็ ทีม ถาม กรด-เบส - ความสามารถในการ - ความรับผิดชอบ - ใฝ่เรียนรู้ ทีก่ ำหนดให้ สอื่ สาร - มุ่งม่นั ในการทำงาน - ความรอบคอบ - ความสามารถในการคดิ - การทำงานเป็นทมี - ความสามารถในการ แกป้ ัญหา ผนภูมิแทง่ - ความสามารถในการ - ความรบั ผิดชอบ - ใฝ่เรียนรู้ - ความรอบคอบ - มุง่ มัน่ ในการทำงาน ะหว่าง ส่ือสาร - การทำงานเปน็ ทีม รแตกตวั - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการ วจสอบ แก้ปัญหา กรด-เบส

ผลการเรียนรู้ ร้อู ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิ้นงา 4. คำนวณ ค่า pH ความ รู้อะไร ค่า pH ความเข้มข้นของ - กจิ กรรมที่ 4 การทด เข้ม ข้น ของไฮ โดร เนี ย ม ไฮโดรเนียมไอออนหรอื ไฮดรอกไซด์ กรด-เบสของสารละล ไอออนหรือไฮดรอกไซด์ ไอออนของสารละลายกรดและเบส - แบบฝึกหดั ที่ 10.4 , ไอออนของสารละลายกรด ทำอะไร คำนวณหาคา่ pH (หนงั สือเรียน) และเบส 5. เขียนสมการเคมีแสดง รู้อะไร ปฏิกิริยาสะเทินและความ - แบบฝึกหัดที่ 10.6 ปฏิกิริยาสะเทิน และระบุ เป็นกรด-เบสของสารละลายหลัง (หนงั สือเรียน) ความเป็น กรด-เบสของ การสะเทนิ - กิจกรรมท่ี 5 เขยี นสม สารละลายหลังการสะเทิน ทำอะไร เขียนสมการเคมีแสดง แสดงปฏิกริ ยิ าสะเทิน ปฏิกิริยาสะเทิน พร้อมทั้งระบุ ความเปน็ กรด-เบส 6. เขียนปฏิกิริยาไฮโดรลิ รู้อะไร การประยุกต์ใช้ความรู้ - ใบงานที่ 3 เขยี นปฏกิ ซสิ ของเกลือ และระบุความ เก่ียวกับสมบัติและกฎต่าง ๆ ของ ไฮโดรลซิ สิ ของเกลอื เป็นกรด-เบสของสารละ แก๊สในการอธิบายปรากฏการณ์ ลายเกลือ หรือแก้ปญั หาในชวี ติ ประจำวนั และ ในอุตสาหกรรม ทำอะไร สืบค้นข้อมูล นำเสนอ ตัวอย่าง และอธิบายการประยุกต์ ใช้ความรู้

งาน สมรรถนะสำคัญ คณุ ลกั ษณะของวิชา คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ดลองสมบัติ - ความสามารถในการ - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝ่เรยี นรู้ ลายเกลอื ส่ือสาร - ความรอบคอบ - มุ่งมั่นในการทำงาน , 10.5 - ความสามารถในการคดิ - การทำงานเป็นทมี - ความสามารถในการ - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝ่เรียนรู้ สือ่ สาร - ความรอบคอบ - มุ่งม่ันในการทำงาน มการเคมี - ความสามารถในการคดิ - การทำงานเปน็ ทีม น - ความสามารถในการ แกป้ ัญหา กริ ยิ า - ความสามารถในการคิด - ความรบั ผิดชอบ - ใฝเ่ รยี นรู้ - ความสามารถในการ - ความรอบคอบ - มุ่งมั่นในการทำงาน แกป้ ญั หา

ผลการเรียนรู้ รูอ้ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ช้ินงา 7. ทดลอง และอธิบาย รู้อะไร ก ารการไท เท รตและ - กิจกรรมท่ี 7 การทด หลัก การการไทเทรตและ เลือกใช้อินดิเคเตอร์ท่ีเหมาะสม ไทเทรตกรด-เบส โดย เลื อ ก ใช้ อิ น ดิ เค เต อ ร์ที่ สำหรบั การไทเทรตกรด-เบส เตอร์ เห ม าะ ส ม ส ำห รับ ก าร ทำอะไร ทดลอง และอธิบายหลัก ไทเทรตกรด-เบส การการไทเทรต 8. คำนวณปริมาณสารหรือ รูอ้ ะไร ความเขม้ ข้นของสารละลาย - กจิ กรรมท่ี 8 การทด ความเข้มขน้ ของสารละลาย กรดหรือเบส ความเขม้ ขน้ ของสารล ก ร ด ห รื อ เบ ส จ า ก ก า ร ทำอะไร คำนวณปริมาณสารหรือ จากการไทเทรตกรด- ไทเทรต ความเขม้ ข้นของสารละลาย ใชอ้ นิ ดเิ คเตอร์บอกจุด - กิจกรรมที่ 9 การทด เปลี่ยนแปลง pH ขอ สารละลายผสมระหว ชิตริกและโซเดียมแอ - แบบฝกึ หดั ที่ 10.7 (หนังสอื เรยี น) - ใบงานที่ 4 ตรวจสอบ เข้าใจ 9 . อ ธิ บ าย ส ม บั ติ อ ง ค์ ร้อู ะไร องค์ประกอบและประโยชน์ - แบบฝกึ หดั ที่ 10.8 ประกอบ และประโยชน์ของ ของสารละลายบฟั เฟอร์ (หนงั สือเรียน) สารละลายบฟั เฟอร์ ทำอะไร อธิบายสมบัติ องค์ประ - กจิ กรรมท่ี 10 สืบค้น กอบ และประโยชน์ของสารละลาย การประยกุ ต์ให้ความ บัฟเฟอร์ กรด-เบส

งาน สมรรถนะสำคญั คุณลักษณะของวิชา คุณลักษณะอนั พึง ประสงค์ ดลองการ - ความสามารถในการ - ความรบั ผิดชอบ - ใฝ่เรียนรู้ ยใชอ้ นิ ดิเค สื่อสาร - ความรอบคอบ - มุง่ มน่ั ในการทำงาน - การทำงานเปน็ ทมี - ความสามารถในการคดิ - ใฝเ่ รียนรู้ - ความสามารถในการ - ความรบั ผดิ ชอบ - มุ่งมนั่ ในการทำงาน - ความรอบคอบ แก้ปัญหา - การทำงานเปน็ ทีม ดลองหา - ความสามารถในการ ละลาย สื่อสาร -เบส โดย - ความสามารถในการคิด ดยุติ - ความสามารถในการ ดลอง แกป้ ัญหา องน้ำและ ว่างกรดแอ อชเิ ตต บความ - ความสามารถในการคิด - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝเ่ รยี นรู้ - ความสามารถในการ - ความรอบคอบ - ม่งุ ม่ันในการทำงาน - การทำงานเปน็ ทมี นขอ้ มูล แก้ปัญหา มรู้เกยี่ วกับ

ผลการเรยี นรู้ รอู้ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิ้นงา 1 0 . สืบ ค้ น ข้ อ มู ล แ ล ะ รู้อะไร ประโยชน์และการแก้ปัญ - กิจกรรมที่ 11 สรปุ เน น ำเสน อตัวอย่างก ารใช้ หาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับกรด–เบส ภายในบทเรียน ประโยชน์และการแก้ปัญ ท ำ อ ะ ไร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล แ ล ะ - แบบฝึกหดั ท้ายบท หาโดยใช้ความรู้เก่ียวกับ นำเสนอตวั อย่างการใช้ประโยชน์ (หนงั สือเรียน) กรด–เบส 11. คำนวณเลขออกซิเดชัน รู้อะไร เลขออกซิเดชัน - ใบงานที่ 5 ตรวจสอบ และระบุปฏิ กิริยาที่เป็ น ทำอะไร คำนวณเลขออกซิเดชัน ก่อนเรียน ปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์ และระบุปฏิกิริยาท่ีเป็นปฏิกิริยารี - กิจกรรมที่ 12 คำนว ดอกซ์ ออกซเิ ดชัน 12. วิเคราะห์การเปล่ียน รู้อะไร การเปลี่ยน แปลงเลข - กิจกรรมท่ี 13 การท แปลงเลขออกซิเดชันและ ออกซิเดชันและระบุตัวรีดิวซ์และ การเกดิ ปฏิกิริยารดี อ ระบุตัวรีดิวซ์และตัวออกซิ ตัวออกซิไดส์ รวมทั้งเขียนคร่ึง ระหวา่ งโลหะกับไอออ ได ส์ ร ว ม ทั้ ง เขี ย น ค ร่ึ ง ปฏิ กิริยาออก ซิเดชัน และคร่ึง โลหะ ปฏิกิริยาออกซิเดชันและ ปฏิกิริยารีดักชันของปฏิกิริยารี - กิจกรรมท่ี 14 ตรวจ ครึ่งปฏิกิริยารีดักชันของ ดอกซ์ เข้าใจ ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ ทำอะไร วิเคราะห์การเปล่ียน แปลงเลขออกซิเดชนั

งาน สมรรถนะสำคัญ คณุ ลักษณะของวิชา คุณลักษณะอันพงึ น้ือหา ประสงค์ - ความสามารถในการ บความรู้ ส่ือสาร - ความรับผิดชอบ - ใฝเ่ รียนรู้ วณเลข - ความรอบคอบ - มุง่ มัน่ ในการทำงาน - ความสามารถในการคิด ทดลอง - ความสามารถในการ - ความรับผิดชอบ - ใฝเ่ รยี นรู้ อกซ์ - ความรอบคอบ - มุง่ มั่นในการทำงาน อนของ แกป้ ัญหา - การทำงานเปน็ ทีม - ความสามารถในการ - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเ่ รยี นรู้ ส่ือสาร - ความรอบคอบ - มุง่ ม่นั ในการทำงาน - การทำงานเป็นทมี - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการ แกป้ ัญหา - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการ แกป้ ัญหา จสอบความ

ผลการเรยี นรู้ รูอ้ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชิน้ งา 13. ทดลอง และเปรียบ รู้อะไร ความสามารถในการเป็น - กจิ กรรมท่ี 15 การท เทียบความสามารถในการ ตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์ และ เปรยี บเทียบความสา เป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิ ปฏกิ ริ ิยารดี อกซ์ การเป็นตวั รีดิวซ์ และ ไ ด ส์ แ ล ะ เขี ย น แ ส ด ง ทำอะไร ทดลอง และเปรียบ ไดสข์ องโลหะและออ ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ เทียบความสามารถในการเป็นตัว โลหะ รีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์ และเขียน - แบบฝึกหัดท่ี 11.1 แสดงปฏิกริ ิยารดี อกซ์ (หนังสอื เรียน) 14. ดุลสมการรีดอกซ์ด้วย รู้อะไร การดุลสมการรีดอกซ์ด้วย - แบบฝกึ หดั ที่ 11.2 การใช้เลขออกซิเดชัน และ การใช้เลขออกซิเดชัน และวิธีครึ่ง (หนังสอื เรยี น) วิธีครึง่ ปฏิกริ ิยา ปฏกิ ิรยิ า ทำอะไร ดุลสมการรีดอกซ์ 15. ระบุองค์ประกอบของ รู้อะไร องค์ประกอบของเซลล์ - ใบงานท่ี 6 เร่ือง การ เซลล์เคมีไฟฟ้า และเขียน เคมไี ฟฟ้า ค่าคงทสี่ มดลุ สมการเคมีของปฏิกิริยาที่ ทำอะไร ระบแุ ละเขียนสมการเคมี แอโนดและแคโทด ปฏกิ ิริยา ของปฏิกิริยาท่ีแอโนดและแคโทด รวม และแผนภาพเซลล์ ปฏกิ ริ ิยารวม และแผนภาพเซลล์

งาน สมรรถนะสำคัญ คุณลกั ษณะของวชิ า คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ทดลอง - ความสามารถในการคิด - ความรับผดิ ชอบ - ใฝเ่ รียนรู้ ามารถใน - ความสามารถในการ - ความรอบคอบ - มุ่งมั่นในการทำงาน - การทำงานเป็นทมี ะตัวออกชิ แกป้ ญั หา ออนของ - ความสามารถในการ - ความรบั ผิดชอบ - ใฝ่เรยี นรู้ สื่อสาร - ความรอบคอบ - มุ่งม่ันในการทำงาน - ความสามารถในการคิด - ใฝเ่ รยี นรู้ - มงุ่ ม่ันในการทำงาน - ความสามารถในการ แก้ปญั หา รคำนวณ - ความสามารถในการคิด - ความรับผิดชอบ - ความสามารถในการ - ความรอบคอบ แกป้ ญั หา

ผลการเรยี นรู้ รูอ้ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชนิ้ 16. คำนวณค่าศักย์ไฟฟ้า รู้อะไร ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน - แบบฝกึ หดั ที่ 11.3 มาตรฐานของเซลล์และ ของเซลล์และประเภทของเซลล์ (หนังสอื เรียน) ระบุประเภทของเซลล์ เคมไี ฟฟ้า ทำอะไร . คำนวณค่าศักย์ไฟฟ้า เคมีไฟฟ้า ขั้วไฟฟ้า และ มาตรฐานของเซลล์ ปฏิกริ ิยาเคมที เี่ กดิ ขึน้ 17. อ ธิ บ า ย ห ลั ก ก า ร รู้อะไร ปฏิกิริยาของเซลล์ปฐม - แบบฝกึ หดั ท่ี 11.4 ทำงาน และเขียนสมการ ภูมิและเซลลท์ ตุ ยิ ภูมิ (หนังสอื เรียน) แสดงปฏิกิริยาของเซลล์ ทำอะไร อธิบายหลักการทำงาน - แบบฝกึ หัดท่ี 11.5 ปฐมภูมิและเซลลท์ ุตยิ ภูมิ และเขียนสมการแสดงปฏิกิริยา (หนังสือเรยี น) ของเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติย ภมู ิ 18. ทดลองชุบโลหะและ รู้อะไร หลักการทำงาน และ - กจิ กรรมท่ี 16 กา แยกสารเคมีด้วยกระแส เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาของ เหล็กดว้ ยสังกะสี ไฟฟ้า และอธิบาย หลัก เซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภมู ิ การทางเคมีไฟฟ้าท่ีใช้ใน ทำอะไร ทดลองชุบโลหะและ - กิจกรรมท่ี 17 กา แยกสลายสารละล การชุบโลหะ การแยก แยกสารเคมดี ้วยกระแส ไฟฟ้า โพแทสเซยี มไอโอไ สารเคมดี ้วยกระแส ไฟฟ้า ก า ร ท ำ โ ล ห ะ ใ ห้ บ ริ สุ ท ธิ์ ไฟฟา้ - แบบฝกึ หดั ท่ี 11.6 แ ล ะ ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร กั ด กรอ่ นของโลหะ (หนังสือเรยี น)

นงาน สมรรถนะสำคญั คุณลกั ษณะของวิชา คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 3 - ความสามารถในการคิด - ความรบั ผิดชอบ - ใฝ่เรยี นรู้ - ความสามารถในการ - ความรอบคอบ - มงุ่ ม่นั ในการทำงาน แก้ปญั หา - การทำงานเป็นทีม 4 - ความสามารถในการ - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝ่เรียนรู้ ส่อื สาร - ความรอบคอบ - มุ่งม่ันในการทำงาน 5 - ความสามารถในการคิด - การทำงานเป็นทีม - ความสามารถในการ แกป้ ญั หา ารทดลองชบุ - ความสามารถในการ - ความรับผดิ ชอบ - ใฝ่เรยี นรู้ - มุ่งม่นั ในการทำงาน สอื่ สาร - ความรอบคอบ ารทดลอง - ความสามารถในการคดิ ลาย - ความสามารถในการ ไดด์ด้วย แกป้ ญั หา 6 , 11.7

ผลการเรียนรู้ รอู้ ะไร ทำอะไร ภาระงาน/ชน้ิ 19. สืบค้น ข้อมูล และ รู้อะไร ความก้าว หน้าทาง - กิจกรรมท่ี 18 สบื นำเสนอตวั อย่างความกา้ ว เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์ เทคโนโลยีที่เกย่ี วข เคมไี ฟฟ้าในชีวติ ประจำ วัน เซลล์ไฟฟ้าเคมี ห น้ าท างเท ค โน โลยี ท่ี ทำอะไร สืบค้น ข้อมูล และ - กิจกรรมท่ี 19 สร เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ เซ ล ล์ นำเสนอตัวอยา่ ง เคมีไฟฟ้าในชีวิตประจำ ภายในบทเรียน - แบบฝึกหัดท้ายบท วนั (หนงั สือเรียน)

นงาน สมรรถนะสำคญั คุณลกั ษณะของวชิ า คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ บคน้ ขอ้ มูล ขอ้ งกับ - ความสามารถในการ - ความรบั ผดิ ชอบ - ใฝเ่ รียนรู้ รปุ เนือ้ หา สื่อสาร - ความรอบคอบ - มงุ่ ม่ันในการทำงาน ท - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการ แก้ปัญหา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook