Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา-2563

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา-2563

Published by apanchanok2507, 2021-11-22 17:51:43

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา-2563

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน

๒ คานา รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ประจา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ตามการประเมินของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน สังกัดสานักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดทาขึ้นตาม กฎกระทรวง ว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อรายงานผลการดาเนินงานตาม มาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงเป็นผลสาเร็จจากการบริหารจัดการ สถานศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ๓ มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการ บริหารและการจัดการ และการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ เพื่อนาเสนอรายงานผลการจัด การศกึ ษาในรอบปที ่ีผา่ นมาตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กดั หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษา และประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ตอ่ ไป ขอขอบคุณคณะครูและบุคลากร ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน คณะทางานและผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกฝุาย ท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทา รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ฉบับนี้ จนสาเร็จลุล่วง หวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง เป็นแนวทางการนาไปใช้ในการ พฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน อันส่งผลในการพัฒนาการจัดการศึกษา ใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษาในปีการศึกษาตอ่ ๆไป นางศรญั ญา ทบั น้อย ผู้อานวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๓ ส่วนท่ี ๑ บทสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร ขอ้ มูลพืน้ ฐาน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ต้ังอยู่เลขท่ี ๒๐๒ หมู่ ๑ ถนน แม่ฮ่องสอน –ปาย ตาบลปางหมู อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ มคี รูและบุคลากร รวม ๖๔ คน นักเรียน ๔๓๕ คน จากการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ แม่ฮ่องสอนสรุปไดด้ งั น้ี ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนศึกษาสงเคระห์แม่ฮ่องสอน จัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พัฒนาตามศักยภาพที่เหมาะสมกับผู้เรียน ตามหลักสูตรสถานศึกษาโดย ครูจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Active Learning มุ่งให้ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาทุกคนอ่านออกเขียนได้ ผ่านการจัดกิจกรรมอักษรกลายร่าง พัฒนาทักษะด้านคิดคานวณผ่านกระบวนการจัดกิจกรรมคิดคล่องทั้ง ห้องเรยี น การจัดกิจกรรมสปั ดาห์วันวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้โรงเรียนได้ดาเนินการพัฒนาทักษะการดารงชีวิต ในกรอบสาระการเรียนรู้สาหรับโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ มีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี ตามกาหนดไว้ใน วิสยั ทัศนข์ องโรงเรยี น คือ มารยาท งามน้าใจดี ผ่านการจัดค่ายศึกษาสงเคราะห์แสนงาม กิจกรรมลูกเสือต้าน ยาเสพตดิ กจิ กรรมการแข่งขนั กีฬาสีรมิ ปายเกมส์ กจิ กรรมตน้ กล้าอบจ. ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ พบว่าผลการพฒั นาผู้เรียนตามศักยภาพผู้เรียนที่กาหนดไว้น้ัน ผู้เรียน มผี ลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๗๙.๓๕ เป็นไปตามเปูาหมายของสถานศึกษากาหนด ด้านการพัฒนา คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ด้วยการจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์ พันธกิจของโรงเรียนท่ีบูรณา การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อาทิการเข้ารว่ มกจิ กรรมวันสาคญั ทางศาสนา กิจกรรมวันชาติพันธุ์ ผ่านการประเมินตามคุณลักษณะและค่านิยมที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๙๓.๖๓ ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษา : ระดบั ดี (๓) ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรียนศึกษา สงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน มีเปาู หมาย วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ กลยุทธท์ ่สี ถานศกึ ษากาหนดไว้อย่างชัดเจนสอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการสถานศึกษา โดยใช้รูปแบบ SPIE Model ส่งผลต่อคุณภาพ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา จัดระบบบรหิ ารงานตามโครงสร้างการบริหารงาน ๕ กลุ่มงาน และสนอง นโยบายและจุดเนน้ นามาสู่การปฏบิ ตั ิ ม่งุ ให้พัฒนาการศึกษาใหเ้ ปน็ “การศึกษาข้ันพืน้ ฐานวถิ ีใหม่ วิถีคุณภาพ” มงุ่ เนน้ ความปลอดภัยในสถานศกึ ษาไมว่ ่าจะเกิดจากภัยทางอากาศ ควันไฟ ละอองฝุน ค่าPM และมาตรการใช้ ส่ือเทคโนโลยีเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียน ดาเนินการปรับปรุงหอพักด้านอาคารสถานท่ีเอื้อต่อการ เสริมสร้างพัฒนาการเด็ก มุ่งให้ผู้เรียนกินอ่ิมนอนอุ่นและมีวินัย ผ่านการจัดระบบการปกครองดูแลในหอพัก เปน็ ประชาธิปไตยแบบพ่อแมป่ กครองลูก มกี ารวเิ คราะห์บริบทองคก์ รโดยใช้ SWOT สภาพแวดล้อมท้ังภายใน และภายนอก ยึดกลไกลการบริหารแบบกระจายอานาจ ร่วมคิดร่วมทา ทั้งยังมีการขับเคล่ือนระบบในการ ทางานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา(พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)แผนปฏิบัติการ ๒๕๖๓ มีปฏทิ ินการปฏิบัติงาน การนิเทศติดตาม ประเมินผล สรุปผลการดาเนินโครงการที่สอดคล้องกับกลยุทธ์และ มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ท้ังยังมุ่งพัฒนาครูและบุคลากรผ่านโครงการ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

ข๑ กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาวิชาชีพ สมรรถนะการสอนอย่างต่อเน่ืองและมีเมตตา จิตสาธรณะ ตระหนักในหน้าที่ ของครูประจา นอกจากนี้โรงเรียนมีส่วนร่วมประสานงานเครือข่ายและการบริการชุมชนผ่านการกิจกรรม เปดิ รัว้ เปิดบ้าน จัดกิจกรรมเยย่ี มบา้ นนกั เรียนเชิงรุก จัดรายการวิทยุคล่ืนความถ่ีFM 105 MHZเพื่อเป็นการ ประชาสัมพันธก์ ารสื่อสารและการบริการชุมชน ทาให้การดาเนนิ งานดังกลา่ วเป็นไปตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ โรงเรียนมีการจัดประชุมการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา การออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยครู ผู้มีส่วนเก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการนาหลักสูตรไปใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาแก่ผู้เรียน โดยมี ผ้บู รหิ าร นิเทศกากับติดตาม ประเมินการจัดการเรียนการสอนและนาผลมาปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียน การสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพ มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยครูให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาปรับปรุงแก้ปัญหา ผู้เรียน นวัตกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้(PLC)นามาจัดทาเป็นวิจัยในชั้นเรียน ซงึ่ ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา : ระดบั ดีเลิศ (๔) ผลการดาเนินงานมาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการ คัดกรองผู้เรยี นรายบุคคลเพ่อื นาขอ้ มูล ไปช่วยเหลือ แก้ไข สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้ผเู้ รียนมกี ารพัฒนาได้อย่าง เหมาะสม เต็มศกั ยภาพ ของแต่ละบุคคลและมีความสุขในการเรียน ช่วยให้ครูผู้สอนนาข้อมูลมาใช้ในการวาง แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Active Learning มกี ารสอดแทรกกิจกรรมบูรณาการน้อมนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และแผนจัดการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย เน้นการลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการดารงชีวิต ฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์พัฒนาทักษะตาม สมรรถนะ คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ มวี ิจยั ในชน้ั เรยี นเพื่อการแกป้ ัญหาในช้ันเรยี นเพอื่ แกป้ ัญหาในชั้นเรยี นและ นาผลมาปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอน จัดการชั้นเรียนเชิงบวกมีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ท่ีตอบสนอง ความแตกต่างของผู้เรียน ผ่านระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน มีการวัดประเมินคุณภาพการจัดการ เรยี นรู้เป็นไปตามระเบียบวดั ผลของโรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา : ระดบั ดี (๓) จดุ เด่น ๑. สถานศกึ ษาสนับสนนุ สง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในรปู แบบActive Learning โดยจัด กระบวนการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ เน้นผู้เรียนฝึกทักษะกระบวนการคิด แกป้ ญั หา คิดคานวณ คล่องส่งผลให้ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเพมิ่ ข้นึ ๒. มแี นวทางในการพฒั นาบลุ ากรด้วยวธิ ีการต่างๆ สร้างความสามัคคี ร่วมคดิ รว่ มทา ช่วยกนั วางแผน เพอื่ พัฒนาโรงเรยี นและพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน ๓. การจัดชนั้ เรียน ผา่ นระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น ครูรู้จกั นักเรียนเปน็ รายบคุ คล มกี ารวเิ คราะห์ พฒั นานักเรยี น เสมือนเป็นพ่อแม่คนทส่ี องของนกั เรยี น จุดท่ีควรพฒั นา ๑. สง่ เสรมิ ผู้เรยี นจัดทาโครงงานดา้ นคุณธรรมและการสร้างนวตั กรรม รวมทงั้ งานอาชีพโดยเนน้ ผเู้ รยี น ฝึกกระบวนการคดิ ผา่ นการช้แี นะจากครู ใช้แหลง่ เรยี นรู้ส่ือต่างๆคน้ คว้าเพื่อพัฒนาตอ่ ยอด ๒. พฒั นาครดู า้ นการจัดการเรียนการสอนโดยใชก้ ระบวนการสรา้ งระบบพ่ีเลย้ี งCoaching and Mentoring ....................................................... (นางศรัญญา ทับนอ้ ย) ผอู้ านวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องส รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน

ค๒ สารบญั เรอ่ื ง หน้า คานา ค ง สารบญั จ ก สารบัญตาราง ๑ ๑ สารบัญแผนภูมิ 3 8 สว่ นท่ี ๑ บทสรปุ ผ้บู ริหาร 9 10 สว่ นท่ี ๒ ขอ้ มลู การประเมนิ ตนเอง ........................................................................................... 11 13 ขอ้ มูลท่วั ไป 14 ขอ้ มูลครูและบุคลากรของสถานศึกษา ๓ ปีย้อนหลัง ๑๔ ข้อมูลนกั เรยี น ๑๕ ขอ้ มูลนักเรยี นทส่ี าเร็จการศกึ ษา ๑๖ ขอ้ มูลหลกั สตู รทีจ่ ัดการเรียนการสอน ๑๗ ข้อมูลโครงสรา้ งการบริหารของสถานศกึ ษา ๑๗ ๒๐ ผลงานดีเด่นของสถานศึกษา ย้อนหลัง 3 ปี ๒๑ ขอ้ มูลแหลง่ เรียนรทู้ ้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา ขอ้ มูลอาคารสถานท่ี ๒๑ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ย้อนหลัง ๓ ปี ๒๘ ขอ้ มูลงบประมาณ ๓๓ ข้อมูลการพัฒนาผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผ้เู รียน ๓๕ สรปุ ผลขอ้ มูลการพฒั นาผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รียน ๓๕ สรปุ ขอ้ มูลผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั สถานศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๓๕ สว่ นท่ี ๓ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา................................................ ๓๖ ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รียน มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั สว่ นที่ ๔ แนวทางการพฒั นาตามระบบประกันคุณภาพของสถานศกึ ษา......................... แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพกระบวนการบริหารและการจดั การ แนวทางการพฒั นาคุณภาพกระบวนการจดั การเรียนการสอน ที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๓ เรอื่ ง หน้า สว่ นที่ ๕ การรับรองผลการประเมินคณุ ภาพภายใน…………………………………………………… ๓๗ ๓๗ บนั ทกึ การให้ความเห็นชอบรายงานประจาปขี องสถานศึกษาของ คณะกรรมการสถานศึกษา ๓๘ ภาคผนวก........................................................................................................................................ ๓๙ ภาคผนวก ก กฎกระทรวง การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๔๓ ภาคผนวก ข ประกาศโรงเรยี นศึกษาสเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน เรอ่ื ง การกาหนดมาตรฐานการศึกษาเพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายใน โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์แม่ฮอ่ งสอน การกาหนดค่าเปาู หมายมาตรฐานการศกึ ษา แนบท้ายประกาศ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

ง๔ สารบัญตาราง ชอ่ื ตาราง หนา้ - ตารางที่ 1 จานวนครแู ละบคุ ลากรของสถานศึกษาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓ ๓ - ตารางท่ี 2 ขอ้ มูลบคุ ลากรของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๔ - ตารางท่ี 3 วฒุ กิ ารศกึ ษาของบุคลากร ๔ - ตารางที่ 4 ข้อมูลบคุ ลากร(ข้าราชการ) ๔ - ตารางท่ี 5 ขอ้ มลู บุคลากร(พนกั งานราชการ) ๕ - ตารางที่ 6 ขอ้ มูลบคุ ลากร(จา้ งเหมาบรกิ าร) ๖ - ตารางที่ 7 ขอ้ มูลบุคลากร(ธุรการ) ๗ - ตารางที่ 8 ขอ้ มลู บุคลากร(พ่ีเลย้ี งเดก็ พิการ) ๗ - ตารางท่ี 9 ข้อมูลบุคลากร(ลกู จ้างประจา) ๗ - ตารางที่ 10 ขอ้ มลู นักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๘ - ตารางที่ 11 สรปุ จานวนนกั เรยี นทสี่ าเรจ็ การศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓ ๙ - ตารางที่ 12 การจดั สดั สว่ นสาระการเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๑๐ - ตารางที่ 13 รางวัลของบุคลากรในสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๑๓ - ตารางที่ 14 ข้อมลู แหล่งเรียนรทู้ ัง้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา ๑๔ - ตารางท่ี ๑5 ข้อมลู อาคารสถานที่ ๑๔ - ตารางท่ี ๑๖ ผลการประเมินคณุ ภาพภายใน ยอ้ นหลัง ๓ ปี ๑๕ - ตารางท่ี ๑๗ ขอ้ มูลงบประมาณ ยอ้ นหลงั ๓ ปี ๑๖ - ตารางที่ ๑๘ ผลประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน ๑๗ - ตารางท่ี ๑๙ ผลประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น (NT) ๑๗ - ตารางที่ ๒๐ ขอ้ มลู เฉลี่ย O – NET มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๑๘ - ตารางท่ี ๒๑ ข้อมูลเฉล่ยี O – NET มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๑๙ - ตารางที่ ๒๒ ขอ้ มูลผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนระดับสถานศึกษา ๒๐ - ตารางท่ี ๒๓ แสดงผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๒๑ - ตารางที่ ๒๔ สรปุ โครงการ/กิจกรรมตาม กลยุทธ์ของโรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน ๒๙ - ตารางท่ี ๒๕ สรปุ โครงการ/กิจกรรมตาม มาตรฐานของโรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน ๓๐ - ตารางที่ ๒๖ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา จุดเด่น จุดที่ควรพฒั นา ๓๕ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

จ๕ สารบัญแผนภูมิ ชือ่ แผนภูมิ หน้า - แผนภมู ทิ ี่ ๑ สรุปจานวนครแู ละบคุ ลากรของสถานศึกษา ๓ ปีย้อนหลัง ๓ - แผนภมู ิที่ ๒ ขอ้ มูลนกั เรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๘ - แผนภูมิที่ ๓ สรปุ จานวนนกั เรียนทสี่ าเรจ็ การศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓ ๙ - แผนภมู ิที่ ๔ กราฟเปรียบเทยี บผลการพฒั นาคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินความสามารถ ๑๗ ด้านการอ่านของผเู้ รียน(Reading Test : RT) ๑๘ - แผนภูมทิ ี่ ๕ กราฟเปรยี บเทยี บผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรียน(NT) ๑๘ - แผนภูมทิ ี่ ๖ กราฟเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ียสอบ O – Net ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ๑๙ - แผนภูมทิ ่ี ๗ กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี สอบ O – Net ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๖ - แผนภมู ิที่ ๘ กราฟร้อยละของนกั เรียนทมี่ ีเกรดเฉล่ยี ผลสมั ฤทธกิ์ ารเรียน ๘ กล่มุ สาระ ๒๐ - แผนภูมทิ ่ี ๙ สรปุ โครงการ/งานของโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอนทสี่ อดคล้องกับ ๒๙ กลยทุ ธข์ องโรงเรียน - แผนภมู ิที่ ๑๐ สรปุ โครงการ/งานของโรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอนท่ีสอดคลอ้ งกบั ๓๐ มาตรฐานของโรงเรยี น รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๑ สว่ นท่ี 2 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา ๑.๑ ข้อมูลทวั่ ไป โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน สังกัดสานักบริหารงานการศึกษา พิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้รับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ จัดต้ังเมอื่ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๑7 ให้เปน็ โรงเรียนสหศึกษาแบบอย่ปู ระจา สังกดั กองการศกึ ษาพิเศษ กรมสามัญ ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ เปดิ ทาการสอน เมอ่ื วันที่ 3 พฤศจกิ ายน 2517 โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เร่ิมแรกในการ รบั เดก็ เข้าเรียนคือ เดก็ ชาวเขา และพ้ืนท่ีราบท่ีอยู่ในท้องถิ่นถุรกันดาร ผู้ปกครองมีฐานะยากจน ให้เข้าศึกษา อบรมตามพระราชบญั ญตั ปิ ระถมศึกษา โดยมี ว่าท่ีร้อยตรีปัญญา จีนาคา ดารงตาแหน่ง ครูใหญ่โรงเรียน ศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน (คนแรก) มีนักเรียน จานวน 70 คน มีครูอาจารย์ จานวน 4 คน โดยใช้อาคาร เรียนของโรงเรียนห้องสอนศึกษา (หลังเดิม) ทาการเรียนการสอน จนกระทั่งเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2520 ได้ย้ายมาต้ังท่ีแห่งใหม่ ณ ตาบลปางหมู อาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ห่างจากที่ตั้งของตัวเมืองไปทางทิศ เหนือ บนถนนสายแม่ฮ่องสอน - ปาย กิโลเมตรที่ 8 มีพื้นที่ จานวน 2 แปลง คือ แปลงท่ี 1 เนื้อที่จานวน 206 ไร่ 1 งาน - ตารางวา ใช้เป็นท่ีต้ังอาคารเรียนและอาคารประกอบ ตามหนังสือกรมปุาไม้ ท่ี กส. 0705/14453 ลงวันที่ 21 กันยายน 2516 (ใบอนุญาตฉบับท่ี 77 เล่ม 1 ลงวันที่ 21 กันยายน 2516) และแปลงที่ 2 หา่ งจากแปลงท่ี 1 ประมาณ 500 เมตร มเี นื้อทจี่ านวน ๔๐ ไร่ - งาน ๑๖ ตารางวา สาหรับใช้ เป็นท่ที าการแปลงเกษตรของโรงเรยี น (ใบอนุญาต นสล. เลขที่ มส ๐๑๗๗) รวมพ้ืนที่ทั้งหมด จานวน 2๔6 ไร่ 1 งาน ๑๖ ตารางวา) ระยะแรกเปิดสอนเฉพาะระดับประถมศึกษา ต่อมาในปีการศึกษา 2532 ได้ขยายช้ันเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และในปีการศึกษา 2538 ไดข้ ยายชัน้ เรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ปัจจุบันมี นักเรยี นทง้ั แบบอยูป่ ระจาและไป-กลบั เป็นเดก็ ดอ้ ยโอกาส 1๑ ประเภท ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เขตพื้นท่ีบริการของโรงเรียนมี 2 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองและอาเภอขุนยวม โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน ตงั้ อยูเ่ ลขท่ี 202 หมูท่ ี่ 1 ตาบลปางหมู อาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน รหัสไปรษณีย์ 58000 หมายเลขโทรศัพท/์ โทรสาร ๐๕๓ - 061258 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ทาการเปิดสอนระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ปัจจุบันมี นางศรัญญา ทับน้อย ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ แมฮ่ อ่ งสอน รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๒ ท่ตี ้งั และอาณาเขต โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน ก่อตง้ั วนั ที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ตง้ั อยู่ ณ บ้านปางหมู เลขท่ี ๒๐๒ หมู่ ๑ ตาบลปางหมู อาเภอเมือง จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน รหัสไปรษณีย์ ๕๘๐๐๐ มเี นื้อที่ ๒๐๖ ไร่ ๑ งาน โดยมีอาณาเขตตดิ ตอ่ ดงั น้ี ทิศเหนือ ตดิ กบั แมน่ ้าปาย ทิศใต้ ตดิ กบั ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ทศิ ตะวนั ออก ติดกบั แม่น้าปาย ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั ถนนของกรมทางหลวง โทรศัพท์ ๐-๕๓๐๖-๑๒๕๘ โทรสาร ๐-๕๓๐๖-๑๒๕๘ E-mail itssms@hotmail.com ประเภทของนกั เรียนท่ีโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์แมฮ่ อ่ งสอน ทเี่ ปดิ รบั นักเรียนทีด่ ้อยโอกาส โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮอ่ งสอน เปิดรับนักเรียนดอ้ ยโอกาสท่อี ยู่ในเขตพน้ื ที่อาเภอเมือง อาเภอ ขุนยวม จงั หวดั แม่ฮ่องสอน ๑๑ ประเภท ดงั น้ี ๑) เด็กถกู บังคับให้ขายแรงงานหรือแรงงานเดก็ หมายถึง เดก็ ทีถ่ กู บังคับให้ทางาน หารายไดด้ ว้ ยการ ขายแรงงานกอ่ นวยั อนั สมควร ถูกเอารัดเอาเปรียบจากนายจ้างจนไมม่ โี อกาสได้รบั การศึกษาหรอื การพัฒนาให้ เปน็ ไปตามหลักพัฒนาการอันเหมาะสมกับวยั ๒) เด็กเร่รอ่ น หมายถึง เดก็ ทไี่ มม่ ีท่ีอย่อู าศยั พักพิงเป็นหลักแหลง่ แน่นอน ดารงชีวติ อย่อู ย่างไร้ทศิ ทาง ขาดปจั จยั พน้ื ฐานในการดารงชวี ติ เสีย่ งตอ่ การประสบภัยอนั ตรายและเปน็ ปญั หาสังคม ๓) เด็กทีอ่ ยู่ในธุรกจิ ทางเพศหรือโสเภณีเดก็ หมายถึง เดก็ ทม่ี คี วามสมคั รใจหรอื ถูกบังคับลอ่ ลวงให้ขาย บรกิ ารทางเพศหรือถกู ชักจูงให้ต้องตกอยู่ในสภาพเสย่ี งตอ่ การประกอบอาชพี ขายบรกิ ารทางเพศ ๔) เด็กท่ีถกู ทอดทงิ้ หรือเด็กกาพร้า หมายถึงเดก็ ที่มารดาคลอดท้ิงไวใ้ นโรงพยาบาล หรือตามสถานท่ี ต่าง ๆ รวมไปถึงเดก็ ทีบ่ ดิ ามารดาปลอ่ ยท้งิ ไว้ให้มีชีวิตอยตู่ ามลาพัง หรอื อยู่กบั บุคคลอื่น โดยไมไ่ ด้รบั การเลีย้ งดู จากบดิ ามารดา ท้งั น้ีอาจมีสาเหตจุ ากปัญหาการหยา่ รา้ ง หรือครอบครัวแตกแยกมสี ภาพชีวิตอยูท่ ่ามกลาง ความสับสนขาดความรกั ความอบอ่นุ ตลอดถึงเด็กทขี่ าดผู้อปุ การะ-เล้ยี งดอู ันเนื่องมาจากสาเหตุอนื่ ๕) เด็กทถ่ี กู ทารา้ ยทารณุ หมายถงึ เดก็ ท่ีถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ ทางรา่ งกาย หรอื ทางจติ ใจ มีชีวติ อยู่ อย่างไม่เป็นสขุ ระแวง หวาดกลวั เน่ืองจากถกู ทารา้ ยทารุณ ถกู บีบค้นั กดดัน จากบิดามารดาหรอื ผูป้ กครอง ซง่ึ มสี ภาพจิตใจหรอื อารมณไ์ ม่ปกติ หรอื ถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศในลกั ษณะตา่ ง ๆ จากบุคคลใกล้ตวั ๖) เด็กยากจน (มากเปน็ พเิ ศษ) หมายถงึ เดก็ ซึง่ เปน็ บตุ รหลานของคนยากจนทีม่ ีรายได้ไมเ่ พยี งพอตอ่ การเลย้ี งชพี ครอบครวั มรี ายไดเ้ ฉลี่ยไมเ่ กนิ ๒๐,๐๐๐บาทตอ่ ปี ครอบครัวอยรู่ วมกันหลายคนขาดแคลน ปจั จยั พื้นฐาน มีชีวิตอยู่อย่างยากลาบาก รวมถงึ เด็กในแหลง่ ชมุ ชนแออัดหรือบุตรของกรรมกรกอ่ สร้างหรือเดก็ จากครอบครวั ทอ่ี ยู่ในถน่ิ ทุรกนั ดาร ห่างไกลทีข่ าดโอกาสที่จะได้รับการศึกษา และบรกิ ารอ่ืน ๆ ๗) เด็กในชนกลุ่มน้อย หมายถงึ เดก็ ท่ีเปน็ บุตรหลานของบุคคลท่มี วี ฒั นธรรมแตกต่างจากประชาชน สว่ นใหญ่ของประเทศ มชี วี ติ อยอู่ ย่างยากลาบาก และมปี ัญหาเก่ียวกับการถอื สญั ชาติ-ไทยเป็นสาเหตุให้ไมม่ ี โอกาสได้รับการศึกษาหรอื บรกิ ารอืน่ ๆ สว่ นใหญเ่ ปน็ เด็กในครอบครวั ทอ่ี พยพเขา้ มาอาศัยตามบริเวณแนว ชายแดนของประเทศไทย เช่น ชาวเขา ชาวเล เป็นตน้ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๓ ๘) เดก็ ทมี่ ปี ัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด หมายถึง เดก็ ที่ตดิ สารระเหยหรอื ยาเสพติดใหโ้ ทษหรอื เด็กกลุ่ม เสยี่ งต่อการถูกชักนาใหป้ ระพฤติตนไม่เหมาะสมเก่ยี วข้องผกู พันกบั กลุ่มมิจฉาชีพ ผูม้ ีอิทธพิ ลหรือบุคคลท่ี แสวงหาผลประโยชนจ์ ากการประกอบอาชพี ผิดกฎหมาย เป็นเดก็ ด้อยโอกาส ท่มี แี นวโน้มสูงตอ่ การก่อปญั หา ในสังคม ๙) เด็กท่ีได้รบั ผลจากโรคเอดส์ หรือโรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรงที่สงั คมรังเกยี จ หมายถงึ เด็กที่ติดเชื้อเอดส์ หรือ มีบิดามารดาเจ็บปุวยด้วยโรคเอดส์ เป็นเด็กที่ถูกสังคมรังเกียจ เป็นเหตุให้เด็ก ไม่สามารถเข้ารับการศึกษา หรอื บรกิ ารอน่ื ๆ รว่ มกับเดก็ ปกตทิ ่ัวไปได้ ๑๐) เด็กในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หมายถึง เด็กท่ีกระทาผิด และถูกควบคุมอยู่ใน สถานพินิจและคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนตามกฎหมาย ตลอดถึงเด็กหญงิ ท่ีต้งั ครรภน์ อกสมรส ซึ่งมีแนวโน้มท่ีจะ ก่อให้เกิดปัญหาตา่ ง ๆ เชน่ การทาแทง้ การฆา่ ตวั ตาย การทอดทิ้งทารก เปน็ ต้น ๑๑) เด็กท่มี คี วามต้องการพิเศษ หมายถึง เด็กท่ีไม่สามารถเรียนรู้ได้เหมือนเด็กปกติ ทั้งนี้มีสาเหตุมา จากสภาพความบกพรอ่ งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม จาเปน็ ต้องได้รับ การกระตุ้นช่วยเหลือ บาบัด ฟื้นฟูและใหก้ ารเรยี นการสอนทีเ่ หมาะสมกับลักษณะและความต้องการของเด็ก ๑.๒ ข้อมลู ครแู ละบคุ ลากรของสถานศกึ ษา ๓ ปยี ้อนหลัง ตารางท่ี ๑ จานวนครูและบุคลากรของสถานศกึ ษาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓ บุคลากร ผูบ้ ริหาร ข้าราชการ พนักงาน จา้ งเหมา ธุรการ ลูกจ้าง ลกู จ้าง ยาม รวม ราชการ บริการ ช่ัวคราว ประจา 70 ปกี ารศกึ ษา2561/2/2 4 34 13 1 1 8 72 68 ๖๔ ปกี ารศกึ ษา 2562 3 34 13 1 1 7 72 ปกี ารศึกษา 2563 ๕ ๓๑ ๙ ๔ ๑ ๗ ๕๒ แผนภูมิท่ี ๑ จานวนครแู ละบุคลากรของสถานศึกษา ๓ ปยี อ้ นหลงั รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน

๔ 1.2.1) ขอ้ มูลบุคลากรของสถานศกึ ษา ตารางที่ ๒ ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ (ขอ้ มูลณ วนั ที่ ๑๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓) จานวน วิทยฐานะ ระดบั การศกึ ษาสูงสุด คณุ วุฒิ ประเภท ชาย หญิง รวม ชานาญ ชานาญ ไม่มี ปรญิ ญา ปรญิ ญา ต่ากว่า ประกาศ บุคลากร การ การ วทิ ย โท ตรี ปรญิ ญา นยี บตั ร พเิ ศษ ฐานะ ผู้บริหาร ตรี ข้าราชการ 3 25 3 2 5 11 18 29 4 6 19 2 27 - - พนักงานราชการ 5 4 9 - - -1 8 - - จา้ งเหมาบรกิ าร 3 1 4 - - - - ๒ ๑ - ธรุ การ - 11 - --- 1 - - ลูกจา้ งชั่วคราว 3 4 7 - - - - ๑ ๖ - ลูกจ้างประจา 5 - 5 - --- - 5 - ยาม 2 -2 - --- - 5 - 1.2.2) วฒุ กิ ารศึกษาของบุคลากร ตารางที่ ๓ วุฒกิ ารศึกษาของบคุ ลากร ระดับการศึกษาสงู สดุ ปีการศกึ ษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ตา่ กวา่ ปริญญาตรี 6 12 18 46 38 ปริญญาตรี 53 3 - 7 8 ประกาศนียบตั รบัณฑติ 3 - - 68 ๖๔ ปริญญาโท 8 ปริญญาเอก - รวม 70 ๑.๒.๓)ข้อมลู บุคลากรสาขาวิชาทจ่ี บการศึกษา ตารางท่ี ๔ ข้อมลู บุคลากร(ข้าราชการ) ท่ี ชือ่ – สกลุ สถานะ ตาแหน่ง วุฒิการศึกษา วชิ าเอก คม. วจิ ัยและประเมินผล ๑ นางศรัญญา ทับน้อย ข้าราชการ ผู้อานวยการ การศึกษา กศ.ม. บริหารการศึกษา คบ. การศึกษาพเิ ศษ ๒ นายสวัสดิ์ ทวานุรกั ษ์ ข้าราชการ รองผ้อู านวยการ กศ.ม. บรหิ ารการศึกษา ๓ นายเอกชยั แสงโรจน์ ข้าราชการ รองผอู้ านวยการ ศษ.ม. บรหิ ารการศกึ ษา ๔ นายณเรศ กัณทวีชยั ขา้ ราชการ รองผอู้ านวยการ ศษ.ม. บริหารการศกึ ษา ๕ นางอารรี ักษ์ เรือนคา ข้าราชการ รองผ้อู านวยการ ศษ.ม. บริหารการศกึ ษา รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๕ ท่ี ช่ือ – สกลุ สถานะ ตาแหนง่ วุฒกิ ารศึกษา วิชาเอก ครูชานาญการพเิ ศษ 6 นางจรี วรรณ ทวานรุ ักษ์ ขา้ ราชการ ครูชานาญการพิเศษ ศษ.บ. ภาษาอังกฤษ ๗ นางสายใจ ต่าดู ขา้ ราชการ ครูชานาญการพเิ ศษ 8 นางปาริชาติ มงั กรณ์ ข้าราชการ ศษ.บ. ภาษาอังกฤษ ครูชานาญการพิเศษ คบ. ศิลปะ ครชู านาญการ ศษ.ม. เทคโนโลยี ครชู านาญการ 9 นายสมนึก แสนปวน ขา้ ราชการ ทางการศกึ ษา ครูชานาญการ ครชู านาญการ ศษ.บ. อุตสาหกรรม ครชู านาญการ 10 นายฆอ้ งชยั กันยวมิ ล ขา้ ราชการ ครูชานาญการ คบ. นาฎศิลปไ์ ทย 11 นายสรุ พล แก้วอรา่ มยิ่ง ข้าราชการ ครู วท.บ. วิทยาศาสตร์ ครู สุขภาพ 12 นางสาวรัตณี คาสงั วาลย์ ข้าราชการ คบ. บรรณารกั ษ์ 13 นางสาวปราหนัน บวั วัฒนา ขา้ ราชการ ๑๔ นางพิชญ์สติ า ภัทรเสถียรกติ ติ์ ข้าราชการ ศศ.บ. เศรษฐศาสตร์ 15 นายสงวนศกั ดิ์ ศรวี ชิ ัย ข้าราชการ 16 นายศุภษร วงษร์ ุณ ขา้ ราชการ ทษ.บ. สัตวศาสตร์ 17 นางสาวอนัญญา ขา้ ราชการ คบ. อตุ สาหกรรม รนกรวรญั ชติ บช.บ บญั ชี ศษ.บ คหกรรม นางสาวพมิ พอ์ ารยา ศษ.ม. บรหิ าร ดวงจนั ทร์ การศึกษา 18 ขา้ ราชการ ครู คบ. การศึกษา พิเศษ 19 นายปารวลกั ษณส์ วัสตียา ขา้ ราชการ ครู พธ.บ. สังคมศกึ ษา หอมสมบัติ ข้าราชการ ข้าราชการ ครู คบ. ภาษาไทย 20 นางสาวอาพนั ธช์ นก ศิริงาม ครู การวดั ผล คบ. การศกึ ษา- 21 นางจิราภรณ์ แสนปวน ครู ครู คณิตศาสตร์ 22 นายเสกสรร ใจประเสรฐิ ขา้ ราชการ ครู วศ.บ. คอมพวิ เตอร์ 23 นายณรงค์ชัย โชคอรุณ ข้าราชการ ครู คบ. ภาษาองั กฤษ 24 นางวณัฐ หอมนาน ขา้ ราชการ ครู บธ.บ. บริหารธุรกจิ 25 นางสาวกชพร คิดดี ข้าราชการ ครู คบ. ฟสิ กิ ส์ 26 นางสุมินตรา นาคอินทร์ ขา้ ราชการ ครูผู้ชว่ ย คบ. ภาษาไทย 27 นายปรียะพงษ์ นาวัน ข้าราชการ คบ. สงั คมศึกษา 28 นายภักดิ์ภณ ชัยบุรณ์ ขา้ ราชการ คบ. พลศึกษา รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

๖ ท่ี ชอ่ื – สกุล สถานะ ตาแหน่ง วุฒิการศกึ ษา วิชาเอก 29 นางสาวอรณชั ชา เจริญสุข ข้าราชการ ครูผูช้ ่วย วท.บ. สาธารณสขุ ครูผชู้ ว่ ย ศาสตร์ 30 นางสาวจริ าภรณ์ ขา้ ราชการ ครูผชู้ ว่ ย บุญเรือนยา ข้าราชการ ศศ.บ. วัฒนธรรม 31 นายจาลอง เสารยี ์ รป.บ. รฐั ประศาสน ศาสตร์ 32 นางสาวสร้อยทิพย์ ข้าราชการ ครูผู้ช่วย บธ.บ. การบัญชี ทิพวรรณ์ ขา้ ราชการ ครูผชู้ ่วย วท.บ. คณติ ศาสตร์ 33 นางสาวณัฐลภัส คาปิดทอง ข้าราชการ ครูผู้ชว่ ย วท.บ. สาธารณสขุ 34 นางสาวศภุ รัตน์ ไชยคาร้อง ครูผู้ชว่ ย ศาสตร์ ครูผู้ชว่ ย คบ. เคมี 35 นางสาวอมั รตั น์ พุทธวงศ์ ขา้ ราชการ คบ. ชีวิวิทยา 36 นางสาวนนั ทชิ า วงศน์ อ้ ย ข้าราชการ ข้อมลู บุคลากร(พนกั งานราชการตาแหน่งครูผสู้ อน) ตารางที่ ๕ ขอ้ มลู บุคลากร(พนักงานราชการตาแหนง่ ครูผสู้ อน) ท่ี ชือ่ – สกุล สถานะ ตาแหน่ง วุฒิการศึกษา วิชาเอก 1 นางกชพร มนตบ์ ุปผา พนักงานราชการ ครูผู้สอน บธ.บ. การจดั การทวั่ ไป ๒ นายกมั พล พิชิตวงค์ พนกั งานราชการ ครผู ู้สอน คบ. คอมพวิ เตอร์ ๓ นายณัชพิสิษฐ์ ไชยเสน พนักงานราชการ ครผู สู้ อน ศษ.บ. การบริหารการศึกษา ครูผู้สอน คบ. การสอนภาษาจนี ๔ นางสาวนษิ ฐา จฑุ าศลิ ป์ พนักงานราชการ ครูผสู้ อน บช.บ การจัดการท่ัวไป ครผู ้สู อน ค.อ.บ. เทคโนโลยกี ารเกษตร ๕ นางสาวพรทพิ ย์ นชุ จโิ น พนักงานราชการ ครผู ู้สอน วท.บ. สขุ ศกึ ษา ครูผู้สอน คบ. ดนตรศี ึกษา ๖ นายรัชพงษ์ อมั พรคีรมี าศ พนักงานราชการ ครูผสู้ อน คบ. สังคมศึกษา ๗ นางศุศิรา จีนาคา พนกั งานราชการ ๘ นายสหรัฐ สมุ าลี พนักงานราชการ ๙ นายอธคิ ม สุธรรม พนกั งานราชการ ข้อมลู บุคลากร(จา้ งเหมาบรกิ าร) ตารางท่ี ๖ ขอ้ มูลบุคลากร(จ้างเหมาบรกิ าร) ท่ี ช่ือ – สกลุ สถานะ ตาแหนง่ วฒุ ิการศึกษา วิชาเอก 1 นางจติ ราพร มณสี กุลชยั ลกู จา้ งชัว่ คราว แมบ่ า้ น ม.๖ มัธยมศกึ ษา ตอนปลาย ๒ นายสมศักดิ์ สวุ รรณจรัสแสง ลูกจา้ งชั่วคราว คนครัว ม.๖ มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย ๓ นายสขุ ชัย ปญั ญาวรลกั ษณ์ ลูกจ้างชั่วคราว สารวตั รนกั เรียน ปริญญาตรี พลศึกษา รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

ท่ี ชอื่ – สกุล สถานะ ตาแหนง่ ๗ ๔ นายสมมิตร เสื้อนา้ เงนิ ลูกจ้างชั่วคราว คนครวั วฒุ กิ ารศกึ ษา วิชาเอก ขอ้ มูลบุคลากร(ธรุ การ) ตาแหนง่ ม.๖ มธั ยมศึกษา ธุรการ ตอนปลาย ตารางท่ี ๗ ข้อมลู บุคลากร(ธรุ การ) วุฒิการศึกษา วชิ าเอก ท่ี ชื่อ – สกลุ สถานะ ปริญญาตรี อุตสาหกรรม 1 นางพรพมิ ล นภาเวชกุล ลกู จา้ งชว่ั คราว การท่องเทีย่ ว ขอ้ มูลบคุ ลากร(พีเ่ ลย้ี งเด็กพกิ าร) ตารางท่ี ๘ ขอ้ มลู บุคลากร(พเี่ ลยี้ งเด็กพกิ าร) ท่ี ชอ่ื – สกุล สถานะ ตาแหนง่ วฒุ กิ ารศกึ ษา วชิ าเอก พเ่ี ลย้ี งเดก็ พิการ ม.๓ 1 นายเสนห่ ์ จิรอดิศัยถาวร ลกู จ้างช่ัวคราว มธั ยมศกึ ษา ตอนต้น 2 นายอภสิ ิทธ์ิ สุธรรม ลกู จา้ งชว่ั คราว พี่เลี้ยงเด็กพิการ ม.๖ มัธยมศึกษา 3 นางมะลิ ก้องพนาไพร ลกู จา้ งชั่วคราว พี่เลย้ี งเดก็ พิการ ปวส. ตอนปลาย 4 นายยุทธการ ต่าดู ลกู จ้างชัว่ คราว พี่เลี้ยงเดก็ พิการ ปวส. 5 นางวิไลพร ตา่ ดู ลกู จ้างช่วั คราว พีเ่ ลย้ี งเด็กพิการ ม.๖ บญั ชี 6 นางสาวดรุณี ผาตพิ พิ ัฒนาไพร ลกู จา้ งช่ัวคราว พเ่ี ลี้ยงเดก็ พกิ าร ปรญิ ญาตรี ชา่ งไฟฟา้ 7 นายประเดช ส่าเหล่วา ลกู จา้ งชัว่ คราว พี่เล้ียงเด็กพิการ ปวส. 8 นางสาวสาแพ ก้อนเพชรตาแมว ลกู จ้างช่วั คราว พเ่ี ลีย้ งเด็กพกิ าร มธั ยมศกึ ษา ปรญิ ญาตรี ตอนปลาย สังคมศกึ ษา ช่างไฟฟ้า สาธารณสขุ ขอ้ มูลบคุ ลากร(ลกู จา้ งประจา) ตารางที่ ๙ ขอ้ มลู บคุ ลากร(ลูกจ้างประจา) ท่ี ชอ่ื – สกุล สถานะ ตาแหนง่ วุฒกิ ารศกึ ษา วชิ าเอก คนสวน มศ.๓ - 1 นายจันทร์ แพนอ้ ย ลกู จา้ งประจา คนสวน ป.๖ - คนครัว มศ.๓ - 2 นายบญุ สม นานาวรรณคาร ลกู จ้างประจา ธุรการ ม.๖ - คนครวั มศ.๓ - 3 นายประสาน ต่าดู ลกู จ้างประจา 4 นายปณุ ยวจั น์ แกว้ พรหมมา ลกู จ้างประจา 5 นายนิกร คานวณ ลกู จ้างประจา รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน

๘ 1.3. ข้อมลู นกั เรียน ปกี ารศึกษา๒๕๖๓ (ข้อมูล ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๓) ตารางที่ ๑๐ ขอ้ มูลนกั เรียน ปกี ารศกึ ษา 2561-2563 ระดับช้นั ป2ี 561 ปี2562 ปี2563 จานวน เพศ รวม จานวน เพศ รวม จานวน เพศ รวม หอ้ งเรยี น ชาย หญิง หอ้ งเรยี น ชาย หญงิ หอ้ งเรียน ชาย หญิง ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 1 4 2 6 1 3 7 10 1 3 3 6 ประถมศึกษาปที ่ี 2 1 5 1 6 1 4 4 8 1 3 8 11 ประถมศึกษาปที ่ี 3 1 - 1 1 1 5 1 6 1 4 4 8 ประถมศกึ ษาปีที่ 4 1 5 6 11 1 1 2 3 1 5 3 8 ประถมศึกษาปที ่ี 5 1 5 5 10 1 5 5 10 1 257 ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 1 5 4 9 1 5 6 11 1 8 10 18 รวมระดับประถม 6 24 19 43 6 23 25 48 6 25 33 58 ศกึ ษา มัธยมศึกษาปที ่ี 1 2 18 32 50 3 30 47 77 3 24 47 71 มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 2 35 26 57 2 20 25 45 3 29 45 74 มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 2 35 39 74 2 32 20 52 16 28 44 รวมระดบั 6 88 97 185 7 82 92 174 8 69 119 189 มัธยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 2 19 28 47 2 29 28 57 3 45 53 98 2 14 35 49 2 23 20 43 2 17 35 52 มัธยมศึกษาปีท่ี 5 2 30 34 64 2 15 19 34 2 11 27 38 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 รวมระดับ มัธยมศึกษาตอน 6 63 97 160 6 67 67 134 7 69 112 188 ปลาย รวมทุกระดบั 18 175 213 388 19 172 184 356 21 163 264 435 หมายเหตุ อตั ราส่วน ครู : นกั เรยี น = ๑ : 10  ต่ากว่าเกณฑ์  เปน็ ไปตามเกณฑ์ (๑ : 12)  สูงกวา่ ตามเกณฑ์ของปีการศึกษา ๒๕๖๓ แผนภูมิท่ี ๒ ขอ้ มูลนักเรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน

๙ 1.4 ข้อมลู นักเรยี นที่สาเร็จการศกึ ษา ตารางท่ี ๑๑ สรปุ จานวนนักเรยี นท่สี าเรจ็ การศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓ ปีการศึกษา ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ รวม จานวนผู้สาเรจ็ การศึกษา 2561 10 29 43 82 2562 11 36 31 78 94 2563 18 39 37 254 รวม 39 104 111 แผนภมู ิท่ี ๓ สรปุ จานวนนักเรยี นท่สี าเรจ็ การศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๑.๕ ข้อมลู หลกั สตู รท่จี ดั การเรยี นการสอน ตารางที่ ๑๒ การจัดสดั ส่วนสาระการเรยี นรแู้ ละเวลาเรียนทกุ ช้นั ปี ดงั แสดงในตารางต่อไปน้ี ระดับช้ันประถมศึกษา (ป.1 – ป.3) เวลาเรยี น(คดิ เปน็ ร้อยละตอ่ ป)ี ระดบั ชน้ั สังคมศกึ ษา สขุ ศึกษา การงาน ภาษา กจิ กรรม รวม พัฒนา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ศาสนาและ และพล ศลิ ปะ อาชีพและ ตา่ ง ผเู้ รียน วฒั นาธรรม ศึกษา เทคโนโลยี ประเทศ ป.1 24 20 8 12 8 8 4 4 12 100 ป.2 24 20 ป.3 24 20 8 12 8 8 4 4 12 100 รวม 72 60 8 12 8 8 4 4 12 100 24 36 24 24 12 12 36 300  จานวนชั่วโมงท่ีจัดให้นักเรยี น เรียนทัง้ ปี เทา่ กับ 1,000 ชว่ั โมง  แผนการเรยี นร/ู้ จุดเน้นการพฒั นาผ้เู รียนทตี่ อ้ งการเน้นเปน็ พเิ ศษ คอื ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

๑๐ ระดับชั้นประถมศึกษา (ป.4 – ป.6) เวลาเรียน(คิดเป็นร้อยละตอ่ ป)ี ระดับชนั้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา สุข ศิลปะ การงาน ภาษาต่าง กิจกรรมพัฒนา รวม ศาสนาและ ศึกษา อาชพี และ ประเทศ ผเู้ รียน วฒั นาธรรม เทคโนโลยี 100 และพล 100 ศกึ ษา 100 300 ป.4 16 20 8 12 8 8 8 8 12 ป.5 16 20 8 12 8 8 8 8 12 ป.6 16 20 8 12 8 8 8 8 12 รวม 48 60 24 36 24 24 24 24 36  จานวนช่ัวโมงทจี่ ัดให้นกั เรยี น เรียนทงั้ ปี เทา่ กบั 960/1,000 ช่ัวโมง  แผนการเรียนร/ู้ จดุ เนน้ การพัฒนาผู้เรยี นท่ีต้องการเน้นเป็นพิเศษ คอื กลุ่มสาระการเรียนรหู้ ลัก 5 กลมุ่ สาระ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ม.1 – ม.3) เวลาเรียน(คดิ เปน็ รอ้ ยละต่อป)ี ระดับช้ัน ภาษาไท สงั คมศกึ ษา สขุ ศึกษา ศิลปะ การงาน ภาษาต่าง กจิ กรรมพัฒนา รวม ย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศาสนาและ และพล อาชีพและ ประเทศ ผเู้ รยี น ศึกษา เทคโนโลยี 100 วฒั นาธรรม 10 10 100 10 10 100 ม.1 10 10 10 13.33 6.66 6.66 23.33 10 10 300 30 30 ม.2 10 10 10 13.33 6.66 6.66 23.33 ม.3 10 10 10 13.33 6.66 6.66 23.33 รวม 30 30 40 39.99 19.98 19.98 69.99  จานวนช่ัวโมงที่จัดใหน้ ักเรยี น เรียนทงั้ ปี เทา่ กับ 1,200 ชว่ั โมง  แผนการเรียนร/ู้ จดุ เน้นการพัฒนาผูเ้ รยี นทตี่ ้องการเน้นเป็นพิเศษ คือ การงานอาชีพ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 – ม.6) เวลาเรยี น(คดิ เป็นร้อยละตอ่ ปี) ระดับช้นั สขุ สังคมศึกษา ศกึ ษา การงาน ภาษาตา่ ง กิจกรรม รวม ประเทศ พฒั นาผู้เรียน ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ศาสนาและ และ ศิลปะ อาชีพและ 100 พล เทคโนโลยี 100 วัฒนาธรรม 100 300 ศกึ ษา ม.4 5 5 5 7.5 5 2.5 57.5 7.5 5 ม.5 5 5 5 7.5 5 2.5 57.5 7.5 5 ม.6 5 5 5 7.5 5 2.5 57.5 7.5 5 รวม 15 15 15 22.5 15 7.5 172.5 22.5 15  จานวนชั่วโมงท่จี ดั ให้นกั เรียน เรียนทง้ั ปี เทา่ กับ 1,360 – 1,600 ชัว่ โมง  แผนการเรียนร/ู้ จดุ เน้นการพัฒนาผเู้ รียนท่ีตอ้ งการเน้นเป็นพเิ ศษ คอื ค้นหาตนเองในด้านทผ่ี เู้ รยี นสนใจ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๑๑ ๑.6 ข้อมลู โครงสร้างการบริหารของสถานศึกษา การดาเนนิ งานโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน มีการจัดทาแผนงานลานาไปสู่การ ปฏิบตั งิ าน มกี ารช่วยเหลอื สนับสนุน กากับตดิ ตาม โดยแบง่ โครงสร้างการบรหิ ารงานเป็น ๕ กลมุ่ บริหาร ไดแ้ ก่ กล่มุ บริหารวชิ าการ กลุ่มบริหารบุคคล กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ กลุ่มบรหิ ารท่ัวไปและกลุ่มบริหาร กิจการนักเรียน โดยผูบ้ ริหารยึดหลักการบรหิ าร/เทคนคิ ด้านการบรหิ ารแบบ SPIE Model ดงั น้ี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน

๑๒ โครงสรา้ งการบริหารงาน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แมฮ่ อ่ งสอน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ นางศรัญญา ทับน้อย คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ผ้อู านวยการโรงเรยี น พื้นฐาน นายณเรศ กณั ทวชี ยั นายสวสั ด์ิ ทวานรุ กั ษ์ นางอารรี ักษ์ เรือนคา นายเอกชัย แสงโรจน์ นางอารีรักษ์ เรือนคา รองผู้อานวยการกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ รองผอู้ านวยการกล่มุ บรหิ ารงบประมาณ รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารบคุ คล รองผูอ้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป รองผู้อานวยการกลุม่ บรหิ ารกิจการนกั เรียน ๑. งานสานกั งานกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ ๑. งานสานกั งานกลุ่มบรหิ าร ๑. งานสานกั งานกลมุ่ บริหารบุคคล ๑. งานสานักงาน-แผนงาน ๑. งานสานักงานกลุ่มบรหิ ารกิจการ ๒. งานแผนงานกล่มุ บรหิ ารวิชาการ งบประมาณ กล่มุ บริหารท่วั ไป ๓. งานพัฒนาหลักสูตร ๒. งานนโยบายและแผน ๒. งานแผนงานและจัดระบบภายใน ๒. งานสง่ เสริมสขุ ภาพและอนามัย นักเรยี น ๔. งานจดั การเรยี นการสอน ๓. งานบรหิ ารพัสดแุ ละสินทรัพย์ กลุ่มบริหารบคุ คล ๓. งานโภชนาการ ๒. งานแผนกลมุ่ บรหิ ารกจิ การนกั เรยี น ๕. งานทะเบียนและวัดผล ๔. งานการเงนิ ๓. งานอัตรากาลัง ๔. งานภมู ทิ ศั น์และสงิ่ แวดลอ้ ม ๓. งานพฤติกรรมและปอู งกนั ยาเสพ ประเมนิ ผล ๕. งานบัญชี และสรรหา บรรจุ แต่งต้งั โอนยา้ ย ๕. งานอาคาร และสาธารณูปโภค ตดิ ๖. งานประกันคุณภาพภายใน ๖. งานควบคมุ ภายใน ๗. งานวจิ ัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ ๗. งานสารสนเทศ/SET ๔. งานทะเบียนประวตั ิ ๖.งานยานพาหนะและบริการสาธารณะ ๔. งานระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ๘. งานสง่ เสริมกจิ กรรมวชิ าการ ๘. งานนิเทศ กากับ ติดตาม และบาเหน็จความดคี วามชอบ ๗. งาน To Be Number One ๕. งานรกั ษาความปลอดภัย ๙. งานแนะแนว ตรวจสอบการปฏบิ ัติงาน ๕. งานวินัยและนติ ิการ ๘. งานชุมชนสัมพนั ธ์ ๖. งานหอพกั นกั เรียนประจา ๑๐. งานพัฒนาสอ่ื นวัตกรรมและ ๙. งานอนื่ ๆ แหลง่ เรยี นรงู้ านโครงการพิเศษ ผู้รับผดิ ชอบ ๙. งานสง่ เสริมกจิ กรรมนักเรยี น ๗. งานสง่ เสรมิ ประชาธิปไตยและ ๑๑. งานนิเทศ กากบั ติดตาม ตรวจสอบการปฏิบตั งิ าน ๖. งานพัฒนาบคุ ลากร ๑๐.งานสหกรณ์ สภานักเรียน ๑๒. งานอืน่ ๆ ๗. งานนิเทศ กากบั ตดิ ตาม ๑๑. งานคณะกรรมการสถานศึกษา ๘. งานสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรม/ ตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน ๑๒. งานโสตทัศนูปกรณ์ วนั สาคัญ ๙. งานกจิ กรรมทกั ษะการดารงชวี ิต ๘. งานอน่ื ๆ ๑๓. งานประชาสัมพนั ธ์ นักเรยี นประจา ๑๐. งานนิเทศ กากับ ติดตาม ๑๔. งานตรวจสอบภายใน ๑๕. งานนิเทศ กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ าน ๑๑. งานอ่ืนๆ ตรวจสอบ การปฏบิ ตั ิงาน ๑๖.งานอน่ื ๆ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

๑๓ 1.7 ผลงานดเี ดน่ ของสถานศกึ ษาในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ รางวลั ของสถานศึกษา ระดบั ประเทศ สถานศกึ ษาท่มี ีระบบและกลไกการบริหารจดั การคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาเพ่ือการ ประกนั คณุ ภาพ ปกี ารศึกษา 2562 รางวัลของบุคลากรในสถานศกึ ษา ตารางที่ ๑๓ รางวัลของบคุ ลากรในสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ท่ี ช่อื -สกลุ ช่ือรางวัลทไี ด้รับ หนว่ ยงานทมี่ อบ ๑ นางสมุ ินตรา นาคอินทร์ ครผู สู้ อนดเี ด่นกลุ่มสาระการ เครือข่ายสถานศึกษาสังกัดสานัก บริหารงานการศกึ ษาพิเศษกลมุ่ ๖ เรียนร้ภู าษาไทย เครือขา่ ยสถานศกึ ษาสังกดั สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม ๖ ๒ นางจิราภรณ์ แสนปวน ครผู สู้ อนดเี ด่นกลมุ่ สาระการ เครอื ข่ายสถานศึกษาสังกัดสานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม ๖ เรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ เครือขา่ ยสถานศึกษาสังกดั สานัก ๓ นายเสกสรร ใจประเสรฐิ ครผู ้สู อนดเี ดน่ กลุ่มสาระการ บริหารงานการศึกษาพิเศษกลมุ่ ๖ เครอื ขา่ ยสถานศกึ ษาสังกัดสานัก เรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และ บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษกลุ่ม ๖ เครือขา่ ยสถานศกึ ษาสงั กดั สานกั เทคโนโลยีสารสนเทศ บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษกลุ่ม ๖ เครือขา่ ยสถานศึกษาสังกัดสานัก ๔ นายปารวลักษณ์สวัสตียา ครูผู้สอนดีเดน่ กลุ่มสาระการ บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลุ่ม ๖ เครือขา่ ยสถานศึกษาสงั กดั สานัก หอมสมบัติ เรยี นร้สู ังคมศึกษา บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษกลุม่ ๖ เครอื ขา่ ยสถานศึกษาสังกดั สานกั ๕ นายสุรพล แก้วอร่ามยิ่ง ครผู สู้ อนดีเดน่ กลุม่ สาระการ บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษกลุม่ ๖ เครือขา่ ยสถานศึกษาสังกดั สานัก เรียนรสู้ ขุ ศึกษาพละศึกษา บริหารงานการศกึ ษาพิเศษกลุ่ม ๖ ๖ นายฆอ้ งชัย กนั ยวมิ ล ครผู ู้สอนดเี ดน่ กลุ่มสาระการ เครือข่ายสถานศึกษาสังกัดสานัก เรยี นรศู้ ิลปะ บริหารงานการศกึ ษาพิเศษกลุ่ม ๖ ๗ นางพชิ ญส์ ติ า ครผู ูส้ อนดีเด่นกล่มุ สาระการ ภทั รเสถียรกติ ต์ เรียนรู้การงานอาชพี ๘ นายณรงคช์ ยั โชคอรณุ ครผู ู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ๙ นายณัชพสิ ิษฐ์ ไชยเสน ครผู ู้สอนดเี ด่นกิจกรรมพฒั นา ผเู้ รียน ๑๐ นายรชั พงษ์ อัมพรคีรมี าศ บคุ ลากรต้นแบบด้านการครอง ตนตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ๑๑ นางศศุ ิรา จนี าคา บุคลากรต้นแบบดา้ นการ รณรงคต์ ่อตา้ นยาเสพติด ๑๒ นายอธิคม สธุ รรม บคุ ลากรตน้ แบบด้านระบบดแู ล เครือขา่ ยสถานศกึ ษาสังกดั สานกั ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษกลุ่ม ๖ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน

๑๔ 1.8 ข้อมูลแหล่งเรียนร้ทู ั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ตารางท่ี ๑๔ ข้อมลู แหล่งเรยี นรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา แหลง่ เรยี นรู้ภายใน แหล่งเรียนรู้ภายนอก ๑ หอ้ งสมดุ SMK PARK ๑ วัดพระธาตปุ างหมู ๒ หอ้ งปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์ ๒ วดั พระธาตุดอยกองมู 3 ห้องปฏบิ ัตกิ ารเคมี ๓ วดั ภสู มวณาราม 4 ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ ๔ กุงคณุ ลุง 5 ห้องปฏบิ ัตกิ ารทางภาษา ๕ โครงการพระราชดาริปางตอง 2 (ปางองุ๋ ) 6 ห้องศนู ย์พฒั นาทักษะคณติ ศาสตร์ ๖ สะพานข้าว กา้ วเพ่ือสุข บ้านผาบ่อง 7 หอ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ ๗ น้าพรุ อ้ นผาบ่อง 8 ศูนยแ์ สดงทักษะงานอาชีพ ๘ ทงุ่ ดอกบวั ตอง 9 หอ้ ง USO NET 10 ศูนยก์ ารเรียนรู้โครงการตามพระราชดาริ 11 หอ้ งโสตทศั นศึกษา 12 ห้องปฏิบตั กิ ารนาฏศลิ ป์ 13 ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอรป์ ระถมศกึ ษา 14 ห้องปฏบิ ตั ิการดนตรสี ากล 15 ห้องศูนย์ภาษาไทย 16 ห้องพมิ พ์ภาษาไทย-องั กฤษ 17 ห้องปฏบิ ตั ิการช่างยนต์ 18 หอ้ งปฏิบตั ิการช่างไฟฟูา 19 หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารโลหะ-ช่างไม้ 20 ห้องฏบิ ัตกิ ารงานบ้าน – งานประดิษฐ์ ๑.๙ ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี ควรมี มี ขาด เกิน ตารางท่ี ๑๕ ข้อมูลอาคารสถานที่ 33 - - ท่ี รายการ -1 - - 1 อาคารเรียน แบบ ๒๑๖ ล (ปรบั ปรงุ ๒๙) -2 - - -9 - - 2 บ้านพักครูแบบ ๒๐๗ -5 - - 3 บ้านพกั ครแู บบ ๒๐๕/๒๖ -3 - - 4 บ้านพักครแู บบ ๒๐๔ - 11 - - 5 บา้ นพักครแู บบ ๒๐๑ -5 - - 6 บา้ นพักภารโรง /๓๒ 7 หอนอนแบบเก่า 8 หอนอนแบบมาตรฐาน ๒๖ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน

๑๕ ท่ี รายการ ควรมี มี ขาด เกิน 9 บ้านพักนกั เรยี น ๘ คน (จุ ๘ คน) -5 - - 12 โรงฝกึ งานแบบ ๑๐๒/๒๗ -1 - - 13 โรงฝกึ งานแบบ ๒๐๔/๒๗ -1 - - 14 หอประชมุ แบบ ๑๐๑ ล/ ๒๗ พเิ ศษ 1 1 - - 15 อาคารพยาบาล 22 - - 16 หอ้ งน้าแบบมาตรฐาน (ชาย) 53 2 - 17 ห้องนา้ แบบมาตรฐาน (หญิง) 77 - - 18 หอ้ งส้วมแบบมาตรฐาน ๖ ท่/ี ๒๗ (ชาย) 5 5 - - 19 หอ้ งส้วมแบบมาตรฐาน ๖ ที่/๒๗ (หญิง) 6 6 - - 20 โรงหงุ ตม้ 22 - - 21 โรงอาหาร ๓๐๐ ท่นี ง่ั 11 - - 24 โรงเรือนเพาะชา 21 1 - 25 อาคาร สพฐ. ๔ (ส้วม ๔ ทนี่ ่ัง) 44 - - 26 บา้ นพักครู แบบแฟลต ๘ หนว่ ย 11 - - 1.10 ผลการประเมนิ คณุ ภาพ ยอ้ นหลัง 3 ปี ตารางท่ี ๑๖ ผลการประเมินคณุ ภาพภายใน ยอ้ นหลัง 3 ปี มาตรฐาน ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2560 2561 2562 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ดี ดเี ลิศ ดี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและ ดีเยี่ยม ดเี ลิศ ดเี ลศิ การจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียน ดี ดีเลศิ ดี การสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ หมายเหตุ ปี 2560 มีระดบั การประเมนิ 4 ระดบั ไดแ้ ก่ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีเยีย่ ม ปี 256๑ มีระดบั การประเมนิ 5 ระดับ ไดแ้ ก่ กาลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลศิ ยอดเย่ียม ปี 256๒ มีระดับการประเมนิ 5 ระดับ ได้แก่ กาลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๑๖ 1.11 ขอ้ มูลงบประมาณ ตารางที่ ๑๗ ข้อมลู งบประมาณ ย้อนหลัง 3 ปี ปีงบประมาณ รายรบั จานวน/บาท รายจา่ ย จานวน/บาท 2561 เงินงบประมาณ 26,623,407 1. งบบุคลากร 3,381,240 2562 เงินนอกงบประมาณ 2. งบดาเนนิ งาน 3,820,500 รวมรายรับ 3. งบลงทนุ 5,516,800 2563 เงนิ งบประมาณ 4. เงนิ อุดหนุน 13,913,867 เงินนอกงบประมาณ -- - รวมรายรบั 26,623,407 รวมรายจ่าย เงนิ งบประมาณ 26,623,407 24,034,686 1. งบบุคลากร เงินนอกงบประมาณ 2. งบดาเนินงาน 3,497,623 รวมรายรบั 2,484,944 3. งบลงทุน 4. เงนิ อดุ หนนุ 9,455,100 -- 8,597,019 24,034,686 รวมรายจา่ ย - 28,999,880 1. งบบุคลากร 24,034,686 2. งบดาเนนิ งาน 3,176,680 3. งบลงทุน 4. เงนิ อดุ หนนุ 1,907,043.54 9,846,200 -- 13,148,738 28,999,880 รวมรายจ่าย - 28,078,661.54 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน

๑๗ ๑.๑๒ ข้อมูลการพัฒนาผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรยี น (Reading Test: RT) ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖๒- 2563 ตารางท่ี ๑๘ ผลประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ดา้ นการประเมนิ ปี 2562 ปี 2563 เพมิ่ ขน้ึ ลดลง การอา่ นออกเสยี ง 44.22 55.33 11.11 0 การอ่านร้เู รอ่ื ง 49.11 64.00 14.89 0 เฉลี่ยรวม 46.67 59.67 13 0 แผนภูมิท่ี ๔ กราฟเปรียบเทียบผลการพฒั นาคะแนนเฉลี่ยผลการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น (Reading Test: RT) จากกราฟเปรียบเทยี บผลการพัฒนาคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของ ผู้เรียน(Reading Test:T) ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ พบวา่ ด้านการประเมินการอา่ นออกเสียงของผเู้ รียนในปี ๒๕๖๓ เพิ่มสงู ขึน้ กวา่ ปี ๒๕๖๒ ๑๑.๑๑ และด้านการประเมนิ การอา่ นร้เู ร่อื งของผู้เรียนในปี ๒๕๖๓ เพิ่มสูงขึ้น กว่าปี ๒๕๖๒ ๑๔.๘๙ 1.13 สรุปผลข้อมูลการพฒั นาผลการประเมนิ คุณภาพผูเ้ รยี น (NT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ - 2563 ตารางที่ ๑๙ ผลประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน (NT) ดา้ นการประเมนิ ปี 2562 ปี 2563 เพม่ิ ขน้ึ ลดลง 0 ภาษาไทย 39.58 43.07 3.49 17.33 คณิตศาสตร์ 50.33 33.00 0 6.92 เฉลีย่ รวม 44.96 38.04 0 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

๑๘ แผนภมู ทิ ี่ ๕ กราฟเปรยี บเทียบผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรียน(NT) 60 50 40 30 20 10 0 คณติ ศาสตร์ รวม ภาษาไทย ปี 2562 ปี 2563 เพม่ิ ข้นึ ลดลง จากกราฟเปรีบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน(NT)ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ พบว่า ดา้ นการประเมิน วิชาภาษาไทยของผเู้ รียนในปี ๒๕๖๓ เพิ่มสูงกว่าปี ๒๕๖๒ อยู่ที่ ๓.๔๙ และวิชาคณิตศาสตร์ ลดตา่ ลง ๑๗.๓๓ ควรมกี ารพัฒนาการศักยภาพกลมุ่ สาระคณิตศาสตรเพมิ่ ขน้ึ ๑.๑๔ สรุปข้อมลู คะแนนเฉลย่ี สอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา ๒๕๖๒ - 2563 ตารางท่ี ๒๐ ข้อมลู เฉล่ยี สอบ O – NET ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ กลมุ่ สาระวิชา ปี 2562 ปี 2563 เพิ่มขึน้ ลดลง ภาษาไทย 45.08 40.28 0 4.8 ภาษาอังกฤษ 26.10 27.22 1.12 0 คณิตศาสตร์ 20.60 20.00 0 0.6 วทิ ยาศาสตร์ 26.95 24.49 0 2.46 เฉลีย่ รวม 29.68 28.00 0 1.69 แผนภมู ทิ ี่ ๖ กราฟเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี สอบ O-NET ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 50 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวม 45 ปี 2562 40 35 30 25 20 15 10 5 0 ภาษาไทย ปี 2563 เพิ่มข้ึน ลดลง รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

๑๙ 1.15 สรปุ ขอ้ มูลคะแนนเฉล่ยี สอบ O-NET ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา ๒๕๖๒ - 2563 ตารางท่ี ๒๑ ขอ้ มูลเฉลีย่ สอบ O- NET ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ กลมุ่ สาระวชิ า ปี 2562 ปี 2563 เพม่ิ ขน้ึ ลดลง ภาษาไทย 32.07 33.01 0.94 0 สงั คมศึกษาฯ 30.43 30.62 0.19 0 ภาษาองั กฤษ 21.58 21.42 0 0.16 คณิตศาสตร์ 15.50 17.99 2.49 0 วทิ ยาศาสตร์ 25.07 25.34 0.27 0 เฉลยี่ รวม 24.93 25.68 0.75 0 แผนภมู ิท่ี ๗ กราฟเปรียบเทยี บคะแนนเฉลี่ยสอบ O-NET ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2563 35 30 25 20 15 10 5 0 ภาษาไทย สังคมศึกษาฯ ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เฉลยี่ รวม ปี 2562 ปี 2563 เพ่มิ ขน้ึ ลดลง รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน

๒๐ 1.16 สรุปข้อมลู สมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นระดบั สถานศึกษาแต่ละรายวชิ าในระดับ ๓ ข้ึนไป ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ – มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ตารางท่ี ๒๒ ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ระดบั ช้นั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รอ้ ยละเฉลย่ี ระดบั ช้นั ไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมฯ พละศึกษา ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาตง่ ประเทศ 77.08 ป. 1 83.33 66.67 66.67 33.33 83.33 100.00 100.00 83.33 84.09 73.44 ป.๒ 81.82 90.91 72.73 63.64 100.00 90.91 100.00 72.73 71.88 62.50 ป.๓ 87.50 75.00 37.50 75.00 100.00 100.00 75.00 37.50 67.36 63.06 ป.๔ 75.00 50.00 25.00 62.50 87.50 100.00 100.00 75.00 50.00 50.00 ป.๕ 100.00 50.00 16.67 66.67 100.00 100.00 16.67 50.00 51.48 48.77 ป.๖ 88.89 66.67 33.33 55.56 100.00 100.00 27.78 66.67 70.59 ม.๑ 44.78 41.79 58.21 58.21 100.00 88.06 74.63 38.81 64.19 ม.๒ 17.39 26.09 43.48 53.62 97.10 88.41 44.93 28.99 ม.๓ 13.95 25.58 67.44 41.86 95.35 95.35 51.16 9.30 ม.๔ 19.35 38.71 83.87 58.06 62.37 51.61 56.99 40.86 ม.๕ 39.22 35.29 76.47 62.75 88.24 39.22 25.49 23.53 ม.๖ 70.59 70.59 76.47 70.59 97.06 76.47 70.59 32.35 ร้อยละ 53.11 54.82 58.48 92.58 85.84 61.94 46.59 เฉลี่ย 60.15 กลมุ่ สาระฯ แผนภูมิท่ี ๘ ร้อยละของนกั เรยี นทมี่ เี กรดเฉล่ียผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ในระดับ ๓ ขน้ึ ไป ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ร้อยละเฉล่ีย รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

๒๑ ส่วนที่ ๓ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการประกันคณุ ภาพ ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ มผี ลการประเมินดังต่อไปน้ี ตารางที่ ๒๓ สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั คุณภาพ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผเู้ รียน ดี มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั ดี มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผเู้ รยี น : ระดบั คุณภาพ ดี การดาเนินงาน ๑) กระบวนการพฒั นา โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน มีการจดั กระบวนการพฒั นาผู้เรยี นดว้ ยวธิ ีการ จดั การ เรียนรเู้ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั พฒั นาตามศักยภาพท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัดของ หลักสูตรสถานศึกษาโดยครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในรูปแบบ Active Leaning และStem Education คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เรียนรูจ้ ากแหล่งเรียนรู้ห้องสมุด ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองท้ังน้ียัง เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นใช้ทักษะกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา ทั้งยังเน้นเรื่องการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียน ผ่านกิจกรรมอักษรกลายร่าง เพ่ือมุ่งให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกเขียนได้ ทั้งยังฝึกทักษะด้านคิดคานวณ ตั้งแต่ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เป็นต้นไป โดยใช้กิจกรรมคิดคล่องท้ังห้องเรียนเป็นการฝึกกระบวนการคิด การคานวณ คดิ คล่อง เพอื่ เกิดทักษะดังกลา่ ว มีการดาเนนิ การพัฒนาวิชาการทเี่ นน้ คณุ ภาพผู้เรียนรอบดา้ น ท้ังยังมีหลักสูตร สถานศึกษาและคลอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย โดยการพัฒนาผู้เรียนด้านการอ่าน การเขียน การคิดคานวณ ทั้งยังส่งเสริมผู้เรียนด้านความเป็นเลิศทางด้านกีฬา มีการส่งเสริมผู้เรียนด้านทักษะงานอาชีพ และยังมีการ จัดการเรียนการสอนทวิศึกษากับวิทยาลัยการอาชีพนวมิน ทราชินีแม่ฮ่องสอน สาขาก่อสร้างและสาขา พาณิชยกรรม เมอ่ื จบการศึกษาดังกล่าวแล้วนั้น ผู้เรียนได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพเพิ่ม ๑ วุฒิ โดยได้รับ ความร่วมมือจากครูผู้สอนกลุ่มสาระการงานอาชีพเป็นผู้ควบคุมดูแลผู้เรียน มีการพัฒนาครูในการนาเสนอ มเี ทคนิคการสอน/กลยทุ ธใ์ นการสอน มีพัฒนาการใช้ส่ือเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้ ทห่ี ลากหลาย เช่น ห้องสมุด SMK PARK ห้อง USO NET ห้องปฏิบัติการฯลฯครูมีการร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน เพอ่ื นามาพัฒนาผูเ้ รยี นทกุ ระดับชนั้ นอกจากนโี้ รงเรยี นได้ดาเนินการพัฒนาทักษะการดารงชีวิตในกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สาหรับโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ มีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามกาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งเป็นไปตามวสิ ัยทัศนข์ องโรงเรียน คอื มารยาทงาม นา้ ใจดี ผู้เรียนมีผลการพัฒนาทางวิชาการ โดยโรงเรียน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดแทรกการบูรณาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฝึกให้ผู้เรียน รู้การคดิ วิเคราะห์ เน้นการปฏิบัติจริง อาทิเช่นการเข้าร่วมกิจกรรมวันสาคัญทางศาสนา กิจกรรมวันวิชาการ กิจกรรมวนั ชาติพันธ์ุมุ่งเนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนมีความภาคภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และวัฒนธรรมของผ้เู รยี น ผูเ้ รียนเรยี นรู้ในการ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน

๒๒ อยรู่ ่วมกันทา่ มกลางความแตกต่าง มสี ว่ นรว่ มในการทากจิ กรรมการพัฒนาเรอื นนอน กิจกรรมนิเทศเรือนนอน กจิ กรรมประกวดเรือนนอนน่าอยู่ กจิ กรรมกฬี าสภี ายในโรงเรยี น กิจกรรมเลือกตั้งประธานนักเรียน อีกท้ังยัง ทาใหผ้ ู้เรียนมสี ขุ ภาวะทางรา่ งกาย สุขภาพจิตดี ผ่านการออกกาลังกายในทุกวัน ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ มจี ิตสาธารณประโยชน์เปน็ ไปตามเปาู หมายของสถานศกึ ษากาหนด ๒) ผลการดาเนินการ ผลจากการประเมินผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคิด คานวณเป็นไปตามเปาู หมายของสถานศึกษา มกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในรูปแบบ Active Leaning Stem Education คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ห้องสมุด และศึกษาค้นคว้าหา ความร้ดู ้วยตนเอง ทง้ั ยงั เน้นให้ผูเ้ รยี นใช้ทกั ษะกระบวนการคดิ กระบวนการแกป้ ัญหา และยังเนน้ เรื่องการอ่าน ออกเขียนได้ของผู้เรยี น โดยใชก้ ิจกรรมอักษรกลายร่าง เพ่ือมุ่งให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกเขียนได้ ทั้งยังมีทักษะ ด้านคิดคานวณ ตั้งแต่ประถมศึกษาปีที่ ๑ โดยใช้กิจกรรมคิดคล่องท้ังห้องเรียนเพ่ือให้ผู้เรียน ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การคานวณคล่องท้ังยังมีผลการประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแก้ปัญหาทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นไปตามเปูาหมาย ของสถานศกึ ษากาหนด มีผลการประเมินความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ค้นคว้า หาสิ่งที่ผู้เรียนสนใจ ถนัด สอดคล้องกับเนื้อหาในบทเรียนท่ีผู้เรียน สามารถนามาใช้ในการทาโครงงาน การ สร้างชน้ิ งาน ผลงานผู้เรียน มผี ลสมั ฤทธ์ิ มที ักษะกระบวนการทางาน มีทักษะด้านอาชีพโดยน้อมนาเอาหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้และนาไปสู่ผลงาน และนาผู้เรียนแข่งขันทักษะด้านวิชาการ ด้านงาน อาชีพระดับเครือข่าย ประเดน็ การพิจารณา ผลการประเมิน ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คานวณ จากผลการประเมนิ พบว่ารอ้ ยละของจานวนผู้เรียนท่มี ผี ลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สาร และการคิดคานวณระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ – มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ อยู่ในระดับ ๗๖.๖๗ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน

๒๓ ประเด็นการพิจารณา ผลการประเมนิ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมี วิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหาโดยการ ทางานเป็นทีม จากผลการประเมินพบว่ารอ้ ยละของจานวนผู้เรียนที่มผี ลการประเมนิ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คดิ เหน็ และแกป้ ัญหาโดยการทางานเป็นทีมระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ – มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ อยใู่ นระดับ ๗๕.๑๗ ความสามารถในการใน การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่อสารผลิตช้นิ งานอย่าง สร้างสรรค์ จากผลการประเมินพบว่ารอ้ ยละของจานวนผู้เรียนในการใช้เทคโนโลยีในการ ส่ือสารผลิตช้ินงานอยา่ งสร้างสรรค์ ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษา ปีที่ ๖ อยู่ในระดับ ๗๗.๗๖ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

๒๔ ประเด็นการพิจารณา ผลการประเมนิ ความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐานและ เจตคตทิ ีด่ ีต่องานอาชพี จากผลการประเมนิ พบวา่ รอ้ ยละของจานวนผู้เรยี นท่ีมคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน ทด่ี ตี อ่ งานอาชพี ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ อยใู่ นระดบั ๖๗.๓ ความรู้ในหลักปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียงและ สามารถนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวนั จากผลการประเมนิ พบว่าร้อยละของจานวนผู้เรยี นร้ใู นหลักปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนามาใช้ในชีวติ ประจาวันได้ ระดับชัน้ ประถมศึกษา ปที ่ี ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๖ อยู่ในระดับ ๗๙.๒๔ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๒๕ ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการประเมิน ความรแู้ ละเปน็ ผ้นู าใน วฒั นธรรมชนเผ่าของตน จากผลการประเมินพบว่ารอ้ ยละของจานวนผู้เรียนท่ีมีความรู้และ เป็นผนู้ าในวฒั นธรรมชนเผ่า ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ – มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ อย่ใู นระดับ ๙๔.๖๑ มคี ณุ ลักษณะและค่านยิ ม ที่ดีกาหนดไวใ้ นหลักสตู ร สถานศึกษา จากผลการประเมนิ พบว่ารอ้ ยละของผลการประเมินคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ตามสถานศกึ ษากาหนด ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ตงั้ แตร่ ะดบั ดขี นึ้ ไป อย่ใู นระดับ ๙๐.๗๗ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๒๖ ประเดน็ การพิจารณา ผลการประเมิน มคี วามภาคภูมิใจใน ท้องถนิ่ และความเป็นไทย จากผลการประเมนิ พบวา่ รอ้ ยละของผเู้ รยี นมคี วามภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ อย่ใู นระดบั ๙๘.๒ การยอมรบั ทจ่ี ะอยูร่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและ ความหลากหลาย จากผลการประเมนิ พบว่ารอ้ ยละของผ้เู รียนทมี่ ีการยอมรับทีจ่ ะอยูร่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและความหลากหลาย ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ – มัธยมศึกษา ปีที่ ๖ อยู่ในระดบั ๗๕.๑๑ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๒๗ ประเด็นการพิจารณา ผลการประเมนิ สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม จากผลการประเมนิ พบวา่ ร้อยละของผเู้ รียนที่มีสุขภาวะทางรา่ งกายและ สขุ ภาพจิตสงั คมระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑–มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖อยใู่ นระดับ ๙๖.๗๓ การมีทักษะการดารงชีวิต รอ้ ยละเฉล่ยี ของนักเรยี นมที กั ษะการดารงชวี ิตในกรอบสาระการเรยี นรู้ ท้องถน่ิ สาหรบั โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ ในกรอบสาระการเรยี นรู้ ทอ้ งถิ่นสาหรบั โรงเรยี น ศึกษาสงเคราะห์ จากผลการประเมนิ พบว่าร้อยละของผู้เรยี นมีทกั ษะการดารงชวี ติ ในกรอบ สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ สาหรับโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษา ปีท่ี ๑ – มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ อยใู่ นระดับ ๙๒.๖๐ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน

๒๘ ๓) หลกั ฐาน เอกสาร หลกั ฐานร่องรอย ๑. แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๒. แผนปฏิบัติการประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๓.หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน ๔. ตารางสอนของครผู ู้สอน ๕. คมู่ อื ประเมินคณุ ภาพมาตรฐาน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๖. แบบประเมนิ คุณภาพมาตรฐาน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๗.ข้อมูลรายบคุ คลของผู้เรยี น ๘. แบบบนั ทกึ หลังสอน ๙. รายงานการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผเู้ รียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๑๐. รายงานผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๑๑. รายงานวิจัยในชนั้ เรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๑๒. รายงานการใช้สือ่ นวตั กรรมมในการจดั การเรียนการสอน ๑๓. ภาพถ่ายกิจกรรมการจดั การเรียนการสอน และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๔) จดุ เดน่ ๑. สถานศึกษาสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆอย่าง ต่อเนือ่ งโดยจัดกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสาคญั รปู แบบActive leaning เนน้ ให้ ผู้เรียนใช้กระบวนการคิด แกป้ ญั หา คานวณคลอ่ ง อ่านหนงั สอื ออกและคล่อง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพม่ิ ข้ึน ๒. ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นไปตามอัตลักษณ์ของ โรงเรยี น คอื มารยาทงาม น้าใจดี นกั เรียนช่วยกันดูแลพฒั นาโรงเรยี นให้โรงเรียนน่าอยู่ มีสุขภาวะทางร่างกาย มีทกั ษะดา้ นอาชพี ในท้องถน่ิ ตามกรอบทักษะการดารงชวี ติ สาหรบั โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ ๕) จุดควรพัฒนา ๑. ส่งเสริมนักเรียนจัดทาโครงงานด้านคุณธรรม และการสร้างนวัตกรรม รวมทั้งงานอาชีพ โดยให้ผ้เู รยี นคิดเองผ่านการช้แี นะจากครผู ู้สอน ใช้แหลง่ เรยี นรู้ สือ่ ต่างๆค้นควา้ เพื่อพัฒนาตอ่ ยอด มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ : ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ การดาเนนิ งาน ๑) กระบวนการพฒั นา การบริหารจัดการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน มีการกาหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปาู ประสงค์ กลยุทธ์ อย่างชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการศึกษา โดยใช้ รูปแบบ SPIE Model ส่งผลต่อคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีการระบบบริหารงานตาม โครงสร้างการบรหิ ารงาน ๕ กลมุ่ งานสนองนโยบายและจุดเน้นนามาสู่การปฏิบัติมุ่งให้พัฒนาการศึกษาให้เป็น “การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานวถิ ีใหม่ วิถีคณุ ภาพ” เนน้ การมีส่วนรว่ มของครู ผมู้ ีส่วนกยี่ วขอ้ งทุกภาคสว่ น มีการแต่งต้ัง คณะกรรมการจดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) เพอ่ื ร่วมกันวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายนอก(SWOT) สู่การดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ทาให้เกิดการขับเคล่ือน การพฒั นาการบรหิ ารสถานศึกษาทาให้บรรลเุ ปูาหมายตามโครงสร้างของสถานศึกษา โดยแต่ละกลุ่มงานจัดทา รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๒๙ ค่มู อื การปฏิบัตงิ าน จัดทาปฏิทินการปฏิบตั ิงานชัดเจนเป็นระบบ มีการนิเทศกากับติดตาม จากผู้บริหารแต่ละ กลุ่มงาน การนิเทศการสอนภาคเรียนละ ๑ คร้ัง มีการติดตามตรวจสอบงาน/โครงการ ตรวจสอบระบบประกัน คณุ ภาพ ประเมินคุณภาพภายในปกี ารศึกษาละ ๑ ครัง้ มีการสรุปผลการดาเนินการและนาเสนอที่ประชุมของ สถานศึกษา ส่งผลถึงการดาเนินงานและสรุปรายงาน/โครงการ เป็นไปตามกลยุทธ์ของโรงเรียนศึกษา สงเคราะห์แม่ฮ่องสอนตามแผนปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ มีงานตามโครงสร้าง ๗๐ งาน ๙ โครงการ ดงั ตารางนี้ ตารางที่ ๒๔ โครงการ/กิจกรรมท่ีสอดคลอ้ งกับกลยุทธข์ องโรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน กลยทุ ธ์ท่ี กลยุทธข์ อง จานวน โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน งาน โครงการ ๑ พฒั นาครูและบุคลากร 71 ๒ พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น 18 3 ๓ พัฒนาระบบการบริหารจดั การ 29 2 ๔ พัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดลอ้ ม และแหลง่ เรยี นรู้ 40 ๕ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา 7 1 ๖ พัฒนาการกระบวนจดั การเรียนการสอน 52 รวม 70 9 แผนภูมทิ ี่ ๙ สรุป/โครงการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แมฮ่ อ่ งสอน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน

๓๐ ดาเนนิ งานและสรปุ รายงาน/โครงการ เปน็ ไปตามมาตรฐานของโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ตามแผนปฏบิ ัติการอย่างเปน็ ระบบ มีงานตามโครงสรา้ ง ๕๙ งาน ๙ โครงการ ดงั ตารางน้ี ตารางที่ ๒๕ โครงการ/งานทส่ี อดคล้องกับมาตรฐานของโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ท่ี มาตรฐานของ จานวน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน งาน โครงการ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รียน 16 3 37 4 ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 62 59 9 ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั รวม แผนภมู ิท่ี ๑๐ สรุปโครงการ/งานของโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนดาเนินการพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษาและคลอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย โดยการพัฒนาผู้เรียนด้านการอ่าน การเขียน ทั้งยัง สง่ เสรมิ ผู้เรียนด้านความเป็นเลิศทางด้านกีฬา ส่งเสริมผู้เรียนด้านทักษะงานอาชีพ และยังมีการจัดการเรียน การสอนทวิศึกษากับวทิ ยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีแม่ฮ่องสอน สาขาก่อสร้างและสาขาพาณิชย กรรม เม่ือ จบการศึกษาแล้วนั้นผู้เรียนได้ประกาศนียบัตรวิชาชีพเพ่ิม โดยความร่วมมือจากครูผู้สอนกลุ่มสาระการงาน อาชีพเปน็ ผู้ควบคุมดูแลคร้ังนี้ การพฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ส่งเสริมให้มีการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น มกี ารจดั ทาคาสัง่ มอบหมายการปฏบิ ัติหน้าทต่ี ามกรอบของโครงสรา้ งชดั เจน มีการจัดทาคู่มือพรรณนางานของ แต่ละกลมุ่ งานชัดเจน ทง้ั ยงั มกี ารสง่ เสรมิ พฒั นาครู บคุ ลากรพัฒนาวชิ าชพี ของตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง มีการจัดทา ID PLAN และรายงานสรุปผลการดาเนินการจัดทา ID PLAN ตลอดปีการศึกษา เพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรผ่านโครงการกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาวิชาชีพ สมรรถนะการสอนอย่างต่อเนื่องและมีเมตตา มจี ิตสาธารณะตระหนา้ ท่ใี นความเปน็ ครโู รงเรยี นประจา การจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๓๑ การรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ โรงเรียนมุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษาไม่ว่าจะเกิดภัยต่างๆและมีการกาหนด มาตรการในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียนผ่านการจัดการเรียนการสอนในการปฏิบัติจริง ดาเนินการพัฒนาอาคารสถานที่ เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้เอื้อต่อการจัดการศึกษา มีห้องสมุด SMK ครอบวงจร อาทิเช่น หอ้ งสมุดสวย หนังสือนา่ อา่ นทันสมยั มเี ทคโนโลยีทท่ี ันสมัย มีกิจกรรมพัฒนาวันเสาร์เพ่ือให้นักเรียน ร่วมกันทาความสะอาดบริเวณโดยรอบของสถานศึกษาให้น่าอยู่โดยมีครูผู้รับผิดชอบดูแลให้ความช่วยเหลือ นักเรียน มีศูนย์แสดงฝีมือทักษะผู้เรียน สถานศึกษายังมีการพัฒนาแหล่งเรียนภายในสถานศึกษาต่างๆใน เหมาะสมกบั ผ้เู รียน อกี ท้งั ยังใหผ้ ู้เรยี นได้ศกึ ษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษาในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อให้ ผู้เรียนเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสังคม จัดให้มีระบบรักษาความปลอดภัย มีหน่วยงานภายนอกเข้ามาจัดอบรม การรกั ษาความปลอดภัย การขับขรี่ ถยนตด์ ว้ ยความปลอดภัยต่อผู้เรียน รวมถึงการปรับปรุงภูมิทัศน์เรือนนอน ท่เี อื้อต่อการเสริมสร้างพัฒนาการผู้เรียนโดยมีห้องสาหรับให้นักเรียนทากิจกรรม ประชุมหรือทางานโดยแบ่ง สัดส่วนของพื้นท่ีในเรือนนอนอย่างเหมาะสม มุ่งให้ผู้เรียนกินอ่ิมนอนอุ่นและยังมีระเบียบวินัยเกิดขึ้นผ่าน จัดระบบการดูแลหอพักเป็นประชาธิปไตยแบบพ่อแม่ปกครองลูก มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีการจัดทา ระบบการจัดการสถานศึกษาฐานขอ้ มูลของนักเรยี นประจาต้ังแตเ่ รอื นนอนหอพกั ท่ี ๑ – เรือนนอนหอพักที่ ๑๖ ผ่านระบบออนไลน์ สถานศกึ ษามีอาคารเรอื นพยาบาล อุปกรณ์พยาบาลเคร่ืองมือที่รองรับผู้เรียนไม่สบายเพ่ือ รักษาอาการเบื้องต้นอย่างครอบคลุม อีกทั้งสถานศึกษาจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ สถานศึกษามีส่วนร่วมประสานงาน มีการประชาสัมพันธ์และการบริการ ชุมชนผา่ นกจิ กรรมเปิดร้ัว เปดิ บ้าน การจัดรายการศึกษาสงเคราะห์สัมพันธ์ ของคลื่นวิทยุFM.104 MHZ. ทุก วันอาทิตย์ เวลา 13.00 – 13.30 น. เพื่อใช้เป็นส่ือกลางในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน กิจกรรมต่างๆมีการบริหารงานผ่านระบบสารสนเทศการศึกษาพิเศษSpecial Education Technology(SET) ในการบนั ทกึ ขอ้ มลู นักเรียน ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลงบประมาณ ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน ตลอดจนช่องทางในการ เผยแพร่ข้อมลู สารสนเทศโดยการจดั ประชุมผู้ปกครอง แจ้งข่าวสารข้อมูลทางLine เว็บเพจประชาสัมพันธ์ทาง เฟสบุ๊ค(Facbook)เว็บไซต์ของสถานศึกษา มีการส่งเสริมให้ครูใช้สื่อเทคโนโลยี สื่อการสอนออนไลน์ อนิ เตอรเ์ น็ต เข้ามาจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื ส่งเสรมิ พฒั นาให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนที่หลากหลาย ๒) ผลการดาเนินงาน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน มีเปูาหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ท่ีสถานศึกษากาหนดไว้ อย่างชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการสถานศึกษา โดยใช้รูปแบบ SPIE Model ส่งผลต่อคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดระบบบริหารงานตามโครงสร้างการ บริหารงาน ๕ กลุ่มงาน และสนองนโยบายและจุดเน้นนามาสู่การปฏิบัติ มุ่งให้พัฒนาการศึกษาให้เป็น “การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานวถิ ีใหม่ วิถีคุณภาพ” มงุ่ เนน้ ความปลอดภัยในสถานศึกษาไม่ว่าจะเกิดจากภัยทางอากาศ ควนั ไฟ ละอองฝุน ค่าPM และมาตรการใช้ส่ือเทคโนโลยีเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียน ดาเนินการปรับปรุง หอพกั ดา้ นอาคารสถานที่เอือ้ ต่อการเสริมสร้างพัฒนาการเด็ก มุ่งให้ผู้เรียนกินอิ่มนอนอุ่นและมีวินัย ผ่านการ จัดระบบการปกครองดูแลในหอพักเป็นประชาธปิ ไตยแบบพอ่ แม่ปกครองลูก มีการวิเคราะห์บริบทองค์กรโดย ใช้ SWOT สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ยึดกลไกลการบริหารแบบกระจายอานาจ ร่วมคิดร่วมทา ทัง้ ยังมีการขบั เคลื่อนระบบในการทางานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ จัดทาแผนพัฒนาการจดั การศึกษา(พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)แผนปฏิบัติการ ๒๕๖๓ มีปฏิทินการปฏิบัติงาน การนิเทศติดตาม ประเมินผล สรุปผลการดาเนิน โครงการท่ีสอดคล้องกับกลยุทธ์และมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ทั้ งยังมุ่ง พัฒนาครูและบุคลากรผ่านโครงการกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาวิชาชีพ สมรรถนะการสอนอย่างต่อเนื่องและ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๓๒ มีเมตตา จิตสาธรณะ ตระหนักในหนา้ ท่ีของครูประจา นอกจากน้ีโรงเรยี นมีสว่ นร่วมประสานงานเครือข่ายและ การบรกิ ารชมุ ชนผ่านการกจิ กรรมเปิดร้ัว เปิดบ้าน จัดกิจกรรมเย่ียมบ้านนักเรียนเชิงรุก จัดรายการวิทยุคล่ืน ความถ่ีFM 105 MHZเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์การสื่อสารและการบริการชุมชน ทาให้การดาเนินงาน ดังกลา่ วเป็นไปตามเปูาหมายท่กี าหนดไว้ โรงเรียนมีการประชุมการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา การออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยครู ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการนาหลักสูตรไปใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาแก่ผู้เรียน โดยมี ผบู้ ริหาร นิเทศกากับติดตาม ประเมินการจัดการเรียนการสอนและนาผลมาปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียน การสอนให้มีประสทิ ธภิ าพ มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยครูให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาปรับปรุงแก้ปัญหา ผูเ้ รียน นวตั กรรม การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ผู า่ นชุมชนแห่งการเรยี นรู้(PLC) มีผลการดาเนินงานโครงการ /งาน บรรลุตามเปูาหมายท่สี ถานศกึ ษากาหนดไว้ คดิ เป็นร้อยละ 83.75 ๓) หลกั ฐาน เอกสาร หลกั ฐาน รอ่ งรอย ๓.๑ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๓.๒ แผนปฏบิ ัติการประจาปี ๒๕๖๓ ๓.๓ สารสนเทศ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๓.๔ โครงสร้างการบริหารงานท้งั ๕ กลุ่มงาน ( กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ กลุ่มบริหารงบประมาณ กล่มุ บรหิ ารบุคคล กลมุ่ บรหิ ารกจิ การนกั เรยี น กลุ่มบรหิ ารงานท่วั ไป) ๓.๕ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ๓.๖ แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ๓.๗ สรปุ โครงการ/งาน/กิจกรรม ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๓.๘ ปฏทิ ินการปฏิบตั งิ าน/พรรณนางาน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๓.๙ แบบนิเทศ กากบั ติดตามการจัดการเรยี นการสอน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๓.๑๐ สรปุ ประเมนิ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ผู้เรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๓.๑๑ สรปุ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๓.๑๒ แฟูมระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ๓.๑๓ แผนการจัดการเรียนร้/ู บนั ทึกหลังการสอน ๓.๑๔ ผลงานนกั เรียน ๓.๑๕ สรปุ การจดั กิจกรรมพฒั นาวันเสาร์ ๓.๑๖ สรปุ รายงาน ID Plan ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๓.๑๗ ภาพถ่ายกจิ กรรมการจัดการเรยี นการสอน กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน รวมทัง้ กิจกรรมของครูบุคลากร ๓.๑๘ บันทกึ การประชมุ ประจาเดอื น ๔) จดุ เดน่ ๑. ผู้บรหิ ารมีการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาให้บรรลตุ ามเปูาหมาย วิสัยทศั น์ จดั ระบบบรหิ ารโดยใช้ รปู แบบ SPIE Model และรายงานผลการปฏิบัติงาน ๑.๑ มีการจัดระบบบริหารงานตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงาน ๕ กลุม่ งานและสนองนโยบายและ จดุ เนน้ นามาสกู่ ารปฏิบตั ิ มุ่งพัฒนาการศกึ ษาให้เปน็ “การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานวิถใี หม่ วถิ คี ุณภาพ” ๑.๒ มวี ิสัยทัศนใ์ นการพฒั นาปรับปรุงภมู ิทัศนใ์ นสถานศึกษาใหเ้ ป็นแหล่งเรยี นร้แู ละนา่ อยู่ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๓๓ ๒. มแี นวทางในการพัฒนาบุคลากรดว้ ยวธิ ีการต่างๆ สร้างความสามคั คี รว่ มคดิ ร่วมทา ช่วยกนั วางแผนเพอื่ พฒั นาโรงเรียนและพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน ๕) จดุ ทคี่ วรพฒั นา ๑. พัฒนาครูด้านการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้กระบวนการสรา้ งระบบพ่เี ลยี้ ง Coaching and Mentoring มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ : ระดับคณุ ภาพ ดี ๑) กระบวนการพัฒนา โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน มีการจัดทาการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โดยใหส้ อดคลอ้ งกับบริบทของสถานศึกษาผ่านการจัดทาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา๒๕๖๓ และมกี ารสอดแทรกกิจกรรมการบรู ณาการ มกี ารส่งเสรมิ พฒั นาครูด้านการคดั กรองผ้เู รียน เพ่ือส่งเสริม ช่วยเหลือผู้เรียนผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลจากครูผู้สอนทุกรายวิชา และครูสามารถนาข้อมูล ดงั กลา่ วมาใชในการออกแบบการสอน การจดั การเรยี น โดยครูมีการจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้โดยใช้ Active Learning จัดกิจกรรมการบูรณาการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญซึ่งอยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ทุกคน โดยผ่านกระบวนการที่หลากหลายเน้นการลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการดารงชีวิต กระบวนการคิด วิเคราะห์ คิดแบบมีวิจารณญาณ ในรูปแบบวางแผนการจัดการเรียนรู้ ครูได้ดาเนินการวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวช้ีวัด มาตรฐานการเรียนรู้ วิเคราะห์คุณภาพผู้เรียนซึ่งได้มีในแผนการจัดการเรียนรู้ทุกรายวิชาท่ีสอน มโี ครงการสอนเพ่อื จัดทาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชาท่ีสอน ครูมีแนวทางในการพัฒนา ศักยภาพผูเ้ รียน ครูมกี ารจัดทาวิจยั ในชนั้ เรยี นเม่อื เกดิ ปัญหาที่พบในชัน้ เรียนที่ทาการสอน เพ่ือแก้ปัญหาในชั้น เรยี นผา่ นนวัตกรรม กิจกรรม แบบฝึกทักษะ ท่ีหลากหลาย และนาผลที่ได้นั้นมาสรุปและปรับปรุงพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ครูและผู้เรียนร่วมกันจัดบริหารชั้นเรียนเชิงบวก จัดให้มีการออกแบบการเรียนรู้ ที่ตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน การจัดบรรยากาศ กิจกรรมในห้องเรียน มีการวัดและประเมินผลตาม ระเบียบวัดผลของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน รวมถึงครูมีการวิเคราะห์หาคุณภาพข้อสอบ อีกทั้งยังมีเครื่องมือท่ีใช้ประเมินหลากหลาย มีการพัฒนาสื่อการสอน มีการใช้เทคโนโลยี มุ่งเน้นพัฒนา ศกั ยภาพผู้เรียน ผา่ นการจัดทาโครงการ/ โครงงาน/กจิ กรรม/งาน ที่โรงเรียนสง่ เสริมสนับสนุนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐาน ๒) ผลการดาเนินการ ครูดาเนินงานตามหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้มีการสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผู้เรียนมีการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการตามสมรรถนะ มีสรุปผลคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีสรุปผลการคัดกรองผู้เรียนรายบุคคลเพื่อนาข้อมูลไปช่วยเหลือ แก้ไข ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนมีการ พัฒนาได้อย่างเหมาะสมเต็มศักยภาพของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนน้ันเกิดความสุขในการเรียน ช่วยให้ครูผู้สอน สามารถนาข้อมูลมาใช้ในกรวางแผนการจัดการเรียนรู้ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ แตกตา่ งของผู้เรยี น มีการใช้สอื่ และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมต่อผ้เู รียน สู่การจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ โดยครูมี การจัดทาแผนการสอนโดยใช้Active Learning มีการสอดแทรกกิจกรรมบูรณาการน้อมนาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ตามสมรรถนะผู้เรียน มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ จัดทา วจิ ยั ในชน้ั เรยี นเพ่อื แกป้ ัญหาในช้นั เรียนภาคเรยี นละ ๑ เรอื่ ง และนาผลมาปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการ สอน การจัดบรรยากาศชั้นเรียนเชิงบวกมีการตกแต่งห้องเรียนทุกระดับช้ัน รวมถึงห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ต่างๆล้วนจดั บรรยากาศในการเรียน การบริหาจัดการผู้เรียนเน้นการเรียนรู้ระหว่างครูกับผู้เรียน ผู้ปกครอง รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

๓๔ ผา่ นระบบการดเู หลอื ชว่ ยเหลือผเู้ รียนเสมือนเปน็ พ่อแม่คนทีส่ องของผู้เรียน การจัดเก็บข้อมูลผู้เรียนเป็นระบบ เชน่ การเยย่ี มบ้านนกั เรยี น เนน้ ความเปน็ อยูข่ องผ้เู รยี น มกี ารตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ มีขั้นตอนชัดเจน มีการใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลตามระเบียบวัดผลของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ แม่ฮ่องสอน ให้บรรลุเปูาหมายในการจัดการเรียนรู้ผู้เรียนผ่านกระบวนการนิเทศกากับติดตามเพ่ือพัฒนา คุณภาพครแู ละผู้เรยี น ส่งเสริมใหม้ ีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างเพ่ือนครูเพ่ือเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่าง หลากหลายภายในสถานศึกษา ๓) เอกสารหลกั ฐาน เอกสารรอ่ งรอย ๑. แผนพัฒนาการจดั การศึกษา(พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๒. แผนปฏิบตั ิการประจาปี ๒๕๖๓ ๓. หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอน ๔. แนวปฏิบัตกิ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕. แฟมู ขอ้ มลู นกั เรยี นรายบคุ คล ๖. รายงานการนิเทศการสอน ๗. แบบวิเคราะหผ์ เู้ รยี นรายบคุ คล ๘. แผนการจัดการเรยี นรู้ ๙. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้ ๑๐. รายงานวิจยั ในช้นั เรยี น ๑๑. สอื่ การสอน/นวัตกรรม/กลยุทธ์ เทคนคิ การสอน ๑๒. บันทึก/รปู ภาพการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ร่วมกนั ของครู ๑๓. รายงาน/เกยี รติบตั รนักเรยี นทีร่ ่วมกิจกรรมต่างๆ ๑๔. เกียรตบิ ัตรครูผู้สอน ๑๕. รปู ภาพกจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอน ๔) จดุ เดน่ ๑. มีการจดั ชั้นเรียน ผ่านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล มีการ วิเคราะห์ พัฒนานักเรียน เสมือนเป็นพ่อแมค่ นท่สี องของผเู้ รียน ๒.มีการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผ่านกระบวนการท่ีหลากหลาย มีแหล่ง เรยี นรู้/ส่อื การสอนท่ีหลากหลาย ๓. มกี ารจดั เกบ็ ข้อมลู ผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ ๕) จุดท่ีควรพฒั นา ๑. พัฒนาและส่งเสริมการทาวิจยั ในชั้นเรยี นอยา่ งมีคณุ ภาพ ๒. พัฒนาการจัดทาสื่อการจัดการเรียนรู้ การผลิตส่ือเทคโนโลยีเพ่ิมพูนความรู้ด้วยเทคนิค ใหม่ มาใชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน

๓๕ ส่วนที่ ๔ สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา ผลการประเมนิ ของสถานศึกษาถอื เป็นข้อมลู สารสนเทศสาคญั ท่สี ถานศกึ ษาจะต้องนาไป วิเคราะห์สังเคราะห์เพ่ือสรุปนาไปสู่การสะท้อนความสาเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓ และนาไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนนาผลการดาเนินงานของสถานศึกษา สามารถ สรุปผลการประเมินในภาพรวม จุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมท้ังแนวทางการพัฒนาเพ่ือ นามาพัฒนาคุณภาพการศึกษาและความต้องการช่วยเหลือเพ่ือพัฒนาการศึกษาให้เป็นไปตามเปูาหมายและ มรี ะดับที่สงู ขนึ้ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหไ์ ดจ้ ัดทาแนวทางการพฒั นา ดังต่อไปน้ี ตารางท่ี ๒๖ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา จุดเดน่ จุดทค่ี วรพฒั นา มาตรฐาน แนวทางการพฒั นาของสถานศึกษา ๑. ดา้ นคณุ ภาพผ้เู รยี น แนวทางการพฒั นาดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น ๑. สถานศกึ ษาสนับสนนุ สง่ เสรมิ การจัด ๑. สง่ เสรมิ นกั เรยี นจัดทาโครงงานดา้ น กิจกรรมการเรยี นการสอนในรูปแบบตา่ งๆอย่าง คณุ ธรรม และการสร้างนวัตกรรม รวมท้งั งานอาชพี ตอ่ เนื่องโดยจดั กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี น โดยให้ผูเ้ รยี นคิดเองผา่ นการช้แี นะจากครูผู้สอน ใช้ การสอนเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ รปู แบบActive แหล่งเรยี นรู้ ส่ือตา่ งๆค้นคว้าเพอื่ พัฒนาต่อยอด leaning เนน้ ให้ผูเ้ รยี นใช้กระบวนการคดิ แกป้ ญั หา คานวณคลอ่ ง อ่านหนังสอื อกและคลอ่ ง สง่ ผลให้ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเพิ่มข้นึ ๒. ผเู้ รียนมคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีคุณธรรม จริยธรรม เปน็ ไปตามอตั ลักษณ์ของ โรงเรียน คือ มารยาทงาม นา้ ใจดี นกั เรียนช่วยกัน ดูแลพฒั นาโรงเรยี นให้โรงเรียนนา่ อยู่ มีสขุ ภาวะทาง รา่ งกาย มที กั ษะด้านอาชพี ในท้องถิน่ ตามกรอบ ทักษะการดารงชีวิตสาหรบั โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ ๒. ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ แนวทางการพัฒนาด้านคุณภาพการบรหิ ารจัดการ ๑. ผู้บริหารมีการบริหารจัดการสถานศึกษาให้ ๑. พัฒนาครูดา้ นการจัดการเรยี นการสอน บรรลุตามเปูาหมาย วิสัยทัศน์ จัดระบบบริหารโดย โดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เลยี้ ง Coaching and ใช้รูปแบบ SPIE Model และรายงานผลการ Mentoring ปฏิบตั งิ าน รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน

๓๖ มาตรฐาน แนวทางการพฒั นาของสถานศึกษา ๒. ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ(ตอ่ ) ๑.๑ มกี ารจัดระบบบริหารงานตาม โครงสร้างการบริหารงาน ๕ กล่มุ งานและสนอง นโยบายและจุดเน้นนามาสูก่ ารปฏิบัติ ม่งุ พัฒนา การศึกษาใหเ้ ป็น “การศึกษาขั้นพน้ื ฐานวถิ ใี หม่ วิถี คุณภาพ” ๑.๒ มวี ิสัยทัศน์ในการพัฒนาปรับปรุง ภูมิทศั น์ในสถานศึกษาใหเ้ ปน็ แหล่งเรยี นรูแ้ ละนา่ อยู่ ๒. มีแนวทางในการพัฒนาบุลากรด้วยวิธีการ ต่างๆ สร้างความสามัคคี ร่วมคิด ร่วมทา ช่วยกัน วางแผนเพื่อพัฒนาโรงเรียนและพัฒนาคุณภาพ ผู้เรยี น ๓. ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้น แนวทางการพัฒนาด้านคุณภาพการบริหารจัดการ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ ๑. พัฒนาและส่งเสริมการทาวิจัยในชั้น ๑. มีการจัดช้ันเรียน ผ่านระบบดูแล ชว่ ยเหลือนักเรียน ครูรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล มี เรียนอยา่ งมีคณุ ภาพ ๒. พัฒนาการจัดทาส่ือการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ พฒั นานักเรียน เสมือนเป็นพ่อแมค่ นท่ี การผลิตสื่อเทคโนโลยเี พม่ิ พนู ความรดู้ ้วยเทคนิคใหม่ สองของผู้เรียน ๒.มกี ารจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน มาใชใ้ นการจดั การเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย เป็นสาคัญ ผ่านกระบวนการที่หลาหลาก มีแหล่ง เรยี นร้/ู ส่ือการสอนท่ีหลากหลาย ๓. มีการจัดเก็บข้อมูลผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ แนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษาตามระบบประกันคณุ ภาพของสถานศกึ ษา โรงเรียน ศึกษาสง เคร าะห์แม่ฮ่ องสอน ดาเนินก ารร ะบบประ กันคุณภาพตาม ท่กี ระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ แม่ฮ่องสอน พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ โดยมีข้ันตอนคือ ๑) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงประกาศกาหนด ๒) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งมั่น คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ๓) ดาเนนิ การตามแผนที่กาหนดไว้ ๔) จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ๕) ติดตามผลการดาเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา ๖) จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับ ดูแลสถานศกึ ษาเป็นประจาปี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน

๓๗ สว่ นที่ ๕ การรบั รองผลการประเมินคณุ ภาพภายใน สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓  รบั รอง  ไม่รบั รอง เนอื่ งจาก........................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................................... ลงชอื่ (นางศรญั ญา ทบั น้อย) ผอู้ านวยการ โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน ความเห็นประธานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์แมฮ่ อ่ งสอน .........................เห็นชอบ............................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นายปัญญา จนี าคา) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

๓๘ ภาคผนวก รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน

๓๙ กฎกระทรวง การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑(ก) รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

๔๐ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน

๔๑ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน

๔๒ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report:SAR)ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน