แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน ที่ วนั ที่ เรื่อง การขอความเหน็ ชอบการใช้แผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา 2564 เรยี น ประธานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ด้วยโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จัดการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีการบริหารจัดการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อสนองนโยบายรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สำนัก คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ และมาตรฐานโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์- แมฮ่ ่องสอน โรงเรียนไดด้ ำเนนิ นการวางแผนการจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปีการศกึ ษา 2564 ดงั น้ี 1) คณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา 2564 ร่วมกันวิเคราะห์สภาพ ปจั จุบนั ปัญหาและความตอ้ งการของแต่ละกลมุ่ บริหารงาน 2) กำหนดแนวทางวิธีการใช้ การพัฒนา และจัดสรรงบประมาณตามความจำเป็น ในการ ปรับปรุงพัฒนางาน 3) จัดทำแผนงาน โครงการ กจิ กรรม เคร่ืองมือ และนิเทศ กำกบั ตดิ ตามการดำเนนิ งาน บัดนี้ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ได้ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำ ปีการศึกษา 2564 เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้นำเสนอ และขอความเห็นชอบใช้แผนปฏิบัติการดังกล่าว จาก คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์แม่ฮอ่ งสอน จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา ลงชอ่ื (นางศรญั ญา ทบั น้อย) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน - เห็นชอบ (นายปญั ญา จนี าคำ) ประธานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน
คำนำ แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ได้ จัดทำเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่วางไว้ โดย เน้นบริหารการปฏิบัติงานมุ่งสู่มาตรฐานสากลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งมี รายละเอียดของโครงการตามแผนปฏิบัติการ ปฏิทินการปฏิบัติงาน และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน โดยคำนึงถึงมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายของโรงเรียน ตลอดจนนโยบายของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทิศทางของสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ในข้อที่เก่ียวข้องกับ โรงเรียน แผนปฏิบัติการฉบับนี้สำเร็จได้ด้วยดี จากการร่วมมือของคณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การ ปฏิบัติงานในปีการศึกษา ๒๕๖๔ จะทำให้การดำเนินงานภายในโรงเรยี น เป็นไปในทิศทางเดียวกนั และ มงุ่ มนั่ พฒั นาเป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้ ตามวิสัยทัศนข์ องโรงเรียนต่อไป โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน
สารบัญ หนา้ ก คำนำ ข สารบญั 1 ส่วนที่ ๑ บริบทและสภาพการจัดการศึกษา สว่ นที่ ๒ ทศิ ทางการจดั การศึกษา 10 สว่ นที่ 3 สรปุ ผลการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม สว่ นท่ี 4 การประมาณการงบประมาณรายรบั 13 สว่ นที่ 5 รายละเอยี ดงาน/โครงการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ 18 สว่ นที่ 6 การบริหารแผนสูก่ ารปฏบิ ัติ สว่ นที่ 7 การกำกับ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงาน 51 ภาคผนวก ผจู้ ดั ทำ 113 127 129
๑ สว่ นท่ี ๑ บริบทและสภาพการจัดการศึกษา ๑. ประวตั สิ ถานศกึ ษา โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษา พิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับประกาศ กระทรวงศึกษาธิการจัดต้ังเมื่อวนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๑7 ให้เป็นโรงเรียนสหศึกษาแบบอยู่ประจำ สังกัด กองการศึกษาพเิ ศษ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการสอน เมือ่ วนั ท่ี 3 พฤศจิกายน 2517 โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เริ่มแรกในการรบั เด็กเขา้ เรยี นคือ เด็กชาวเขา และพืน้ ที่ราบท่ีอยู่ในท้องถิ่น ทุรกันดาร ผู้ปกครองมีฐานะยากจน ให้เข้าศึกษาอบรมตามพระราชบัญญัติประถมศึกษา โดยมี ว่าที่ร้อยตรีปัญญา จีนาคำ ดำรงตำแหน่ง ครูใหญ่โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน (คนแรก) มี นักเรียน จำนวน 70 คน มีครูอาจารย์ จำนวน 4 คน โดยใช้อาคารเรียนของโรงเรียนห้องสอนศึกษา (หลังเดิม) ทำการเรียนการสอน จนกระทั่งเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2520 ได้ย้ายมาตั้งที่แห่งใหม่ ณ ตำบลปางหมู อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ห่างจากที่ตั้งของตัวเมืองไปทางทิศเหนือ บนถนน สายแม่ฮอ่ งสอน - ปาย กโิ ลเมตรท่ี 8 มพี ้นื ท่ี จำนวน 2 แปลง คอื แปลงท่ี 1 เนือ้ ที่จำนวน 206 ไร่ 1 งาน - ตารางวา ใช้เป็นที่ตั้งอาคารเรียนและอาคารประกอบ ตามหนังสือกรมป่าไม้ ท่ี กส. 0705/14453 ลงวันที่ 21 กันยายน 2516 (ใบอนุญาตฉบับที่ 77 เล่ม 1 ลงวันที่ 21 กันยายน 2516) และแปลงที่ 2 ห่างจากแปลงที่ 1 ประมาณ 500 เมตร มีเนื้อท่ีจำนวน ๔๐ ไร่ - งาน ๑๖ ตารางวา สำหรับใช้เป็นที่ทำการแปลงเกษตรของโรงเรียน (ใบอนุญาต นสล. เลขที่ มส ๐๑๗๗) รวม พืน้ ทที่ ้ังหมด จำนวน 2๔6 ไร่ 1 งาน ๑๖ ตารางวา) ระยะแรกเปิดสอนเฉพาะระดับประถมศึกษา ต่อมาในปีการศึกษา 2532 ได้ขยายชั้นเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และในปีการศึกษา 2538 ได้ขยายชั้นเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ปัจจุบันมีนักเรียนทั้งแบบอยู่ประจำและไป-กลับ เป็นเด็กด้อยโอกาส 1๑ ประเภท ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธกิ าร เขตพื้นที่บริการของโรงเรียนมี 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองและอำเภอขุนยวม โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่เลขที่ 202 หมู่ที่ 1 ตำบลปางหมู อำเภอเมือง จังหวัด แม่ฮ่องสอนรหัสไปรษณีย์ 58000 หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร ๐๕๓ - 061258 ปัจจุบันมี นางศรัญญา ทับน้อย ดำรงตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน คนท่ี ๙ ๒. ทตี่ ัง้ และอาณาเขต โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ อ่ งสอน จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน กอ่ ต้งั วนั ท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ต้งั อยู่ ณ บา้ นปางหมู เลขท่ี ๒๐๒ หมู่ ๑ ตำบลปางหมู อำเภอเมือง จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน รหัสไปรษณีย์ ๕๘๐๐๐ มเี นอ้ื ที่ ๒๐๖ ไร่ ๑ งาน โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้
๒ ทศิ เหนือ ติดกบั แมน่ ำ้ ปาย ทศิ ใต้ ตดิ กับศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจงั หวัดแมฮ่ ่องสอน ทิศตะวนั ออก ติดกับแม่นำ้ ปาย ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กับถนนของกรมทางหลวง โทรศัพท์ ๐-๕๓๐๖-๑๒๕๘ โทรสาร ๐-๕๓๐๖-๑๒๕๘ E-mail [email protected] ๓. พ้นื ทบ่ี รกิ าร โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน เปิดรับนักเรียนด้อยโอกาส ๑๑ ประเภท ที่อยู่ในเขต พน้ื ท่อี ำเภอเมอื ง อำเภอขนุ ยวม จงั หวดั แม่ฮ่องสอน ดังน้ี ๑) เด็กถูกบังคับให้ขายแรงงานหรือแรงงานเด็ก หมายถึง เด็กที่ถูกบังคับให้ทำงาน หารายได้ด้วยการขายแรงงานก่อนวัยอันสมควร ถูกเอารัดเอาเปรียบจากนายจ้างจนไม่มีโอกาสได้รบั การศึกษาหรอื การพฒั นาใหเ้ ป็นไปตามหลักพัฒนาการอันเหมาะสมกบั วัย ๒) เด็กเร่ร่อน หมายถึง เด็กที่ไม่มีที่อยู่อาศัยพักพิงเป็นหลักแหล่งแน่นอน ดำรงชีวิต อยู่อย่างไร้ทิศทาง ขาดปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต เสี่ยงต่อการประสบภัยอันตรายและเป็นปัญหา สงั คม ๓) เด็กที่อยู่ในธุรกิจทางเพศหรือโสเภณีเด็ก หมายถึง เด็กที่มีความสมัครใจหรือ ถูกบังคับล่อลวงให้ขายบริการทางเพศหรือถูกชักจูงให้ต้องตกอยู่ในสภาพเสี่ยงต่อการประกอบอาชีพ ขายบริการทางเพศ ๔) เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือเด็กกำพร้า หมายถึงเด็กที่มารดาคลอดทิ้งไว้ในโรงพยาบาล หรือตามสถานทีต่ ่าง ๆ รวมไปถึงเด็กท่ีบิดามารดาปล่อยทิ้งไว้ใหม้ ีชวี ิตอยูต่ ามลำพงั หรืออยู่กับบุคคล อื่น โดยไม่ได้รับการเลี้ยงดูจากบิดามารดา ทั้งนี้อาจมีสาเหตุจากปัญหาการหย่าร้าง หรือครอบครัว แตกแยกมสี ภาพชีวิตอยทู่ ่ามกลางความสบั สนขาดความรัก ความอบอุน่ ตลอดถงึ เด็กทข่ี าดผูอ้ ปุ การะ- เลี้ยงดูอันเน่ืองมาจากสาเหตอุ ่นื ๕) เด็กที่ถูกทำร้ายทารุณ หมายถึง เด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ทางร่างกาย หรือ ทางจิตใจ มีชีวิตอยู่อย่างไม่เป็นสุข ระแวง หวาดกลัว เนื่องจากถูกทำร้ายทารุณ ถูกบีบคั้น กดดัน จากบิดามารดาหรือผู้ปกครองซึ่งมีสภาพจิตใจหรืออารมณ์ไม่ปกติ หรือถูกล่วงละเมิดทางเพศใน ลกั ษณะตา่ ง ๆ จากบุคคลใกลต้ วั ๖) เด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ) หมายถึง เด็กซึ่งเป็นบุตรหลานของคนยากจนที่มี รายได้ไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ ครอบครัวมีรายได้เฉลี่ยไม่เกิน ๒๐,๐๐๐บาทต่อปี ครอบครัว อยู่รวมกันหลายคนขาดแคลนปัจจัยพื้นฐาน มีชีวิตอยู่อย่างยากลำบาก รวมถึงเด็กในแหล่งชุมชน แออดั หรือบตุ รของกรรมกรก่อสร้างหรือเด็กจากครอบครวั ที่อยู่ในถิ่นทุรกนั ดาร ห่างไกลท่ีขาดโอกาส ที่จะไดร้ ับการศกึ ษา และบรกิ ารอน่ื ๆ ๗) เด็กในชนกลุ่มนอ้ ย หมายถงึ เดก็ ทเ่ี ป็นบุตรหลานของบคุ คลทีม่ วี ฒั นธรรมแตกต่าง จากประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ มีชีวิตอยู่อย่างยากลำบาก และมีปัญหาเกี่ยวกับการถือสัญชาติ- ไทยเป็นสาเหตุให้ไม่มีโอกาสได้รับการศึกษาหรือบริการอื่น ๆ ส่วนใหญ่เป็นเด็กในครอบครัวที่อพยพ เข้ามาอาศัยตามบรเิ วณแนวชายแดนของประเทศไทย เชน่ ชาวเขา ชาวเล เปน็ ต้น
๓ ๘) เด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด หมายถึง เด็กที่ติดสารระเหยหรือยาเสพติด ให้โทษ หรอื เด็กกลุม่ เสย่ี งต่อการถูกชกั นำใหป้ ระพฤตติ นไม่เหมาะสมเก่ยี วข้องผูกพนั กับกลุ่มมิจฉาชีพ ผู้มีอิทธิพลหรือบุคคลที่แสวงหาผลประโยชน์จากการประกอบอาชีพผิดกฎหมาย เป็นเด็กด้อยโอกาส ที่มแี นวโน้มสูงตอ่ การกอ่ ปญั หาในสงั คม ๙) เด็กที่ได้รับผลจากโรคเอดส์ หรือโรคติดต่อร้ายแรงที่สังคมรังเกียจ หมายถึง เด็ก ที่ติดเชื้อเอดส์ หรือมีบิดามารดาเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ เป็นเด็กที่ถูกสังคมรังเกียจ เป็นเหตุให้เด็ก ไม่สามารถเขา้ รบั การศึกษา หรอื บริการอน่ื ๆ ร่วมกับเด็กปกตทิ ัว่ ไปได้ ๑๐) เด็กในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หมายถึง เด็กที่กระทำผิด และถูก ควบคุมอยู่ในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนตามกฎหมาย ตลอดถึงเด็กหญิงที่ตั้งครรภ์นอก สมรส ซึ่งมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น การทำแท้ง การฆ่าตัวตาย การทอดทิ้งทารก เปน็ ต้น ๑๑) เด็กที่มีความต้องการพิเศษ หมายถึง เด็กที่ไม่สามารถเรียนรู้ได้เหมือนเด็กปกติ ทั้งนี้มีสาเหตุมาจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม จำเป็นต้องได้รับ การกระตุ้นช่วยเหลือ บำบัด ฟื้นฟูและให้การเรียนการสอนที่เหมาะสมกับลักษณะและความต้องการ ของเดก็ ๔. ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลปางหมู อำเภอ เมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นที่ตั้งของหน่วยงานหลัก เช่น ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัด แม่ฮ่องสอน หมวดการทางแม่ฮ่องสอน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปางหมู ที่ทำการอุทยาน แห่งชาติน้ำตกแม่สุรินทร์ กองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๓๓๖ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน องคก์ ารบริหารตำบลปางหมู ๕. สภาพแวดล้อมทางสงั คมวฒั นธรรม ชุมชนสว่ นใหญ่เปน็ คนในพน้ื ทเ่ี ดิม มอี าชพี ทำการเกษตรแบบดั้งเดมิ นับถอื ศาสนาพุทธ และ ศาสนาคริสต์ ยึดมั่นในหลักศาสนา บริเวณใกล้ๆ โรงเรียนเป็นหน่วยงานของราชการ เช่น ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจำจงั หวดั แม่ฮ่องสอน หมวดการทางแมฮ่ ่องสอน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ตำบลปางหมู ท่ที ำการอทุ ยานแห่งชาตนิ ้ำตกแม่สุรนิ ทร์ กองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนท่ี ๓๓๖ ๖. การประกอบอาชพี การประกอบอาชีพของชุมชนโดยสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม ได้แก่ การทำไร่ ทำนา ทำสวน โดยมีอาชีพเสริมได้แก่ หัตถกรรม จักสาน ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง ซึ่งถือเป็นภูมิปัญญา ท้องถน่ิ นอกเหนือจากนัน้ คือ ค้าขาย รบั ราชการ รับจ้างทว่ั ไป และการทอ่ งเทย่ี ว
๔ ๗. ขอ้ มูลเก่ยี วกบั อาคารสถานที่และส่ิงก่อสร้าง ประเภท ช่อื แบบอาคาร จำนวนหลงั / ปีท่ีไดร้ บั สภาพปจั จบุ ัน หนว่ ยทม่ี แี ล้ว จดั สรรอาคาร สว้ ม/ฝ้าเพดานชำรุด อาคารเรยี น ๑. อาคารเรียน แบบ ๒๑๖ ล (ปรับปรุง ๒๙) อาคาร หลัง หนว่ ย จนถงึ ปี ประกอบ ๒. บา้ นพักครูแบบ ๒๐๗ ปจั จุบนั ๓. บา้ นพักครูแบบ ๒๐๕/๒๖ ๓ ๔๘ ๔. บ้านพกั ครูแบบ ๒๐๔ ๒๕๓๐,๔๖,๕๐ ๑ ๑ ๒๕๔๔ ชำรุด ๒ ๑๐ ๒๕๓๙ ชำรุดมาก ๙ ๙ ๒๕๒๗-๒๕๓๒ บนั ได/ประตู ชำรุดมาก ๕. บ้านพกั ครแู บบ ๒๐๑ ๕ ๕ ๒๕๑๗- พนื้ /บนั ได/ประตู ชำรดุ มาก ๒๕๒๖ ๖. บา้ นพกั ภารโรง /๓๒ ๓ ๓ ๒๕๓๕,๓๖,๓๙ บันได/ประตู ชำรุดมาก ๗. หอนอนแบบเกา่ ๑๑ ๓๘๕ ๒๕๑๗-๒๕๒๗ ฝา/พ้ืน/หลังคา ชำรดุ มาก ควร ซอ่ ม ๘. หอนอนแบบมาตรฐาน ๒๖ ๕ ๒๐๐ ๒๕๔๐-๒๕๔๓ ฝา/หลงั คา/พื้น ชำรดุ มาก ควร ซ่อม ๙. บา้ นพักนักเรยี น ๘ คน (จุ ๘ คน) อาคาร ๑๐. โรงฝกึ งานแบบ ๑๐๒/๒๗ ๕ ๔๐ ๒๕๓๕-๒๕๓๙ ฝา/หลงั คา/พน้ื ชำรุดมาก ควร ประกอบ ๑๑. โรงฝกึ งานแบบ ๒๐๔/๒๗ ซอ่ ม ๑๒. หอประชมุ แบบ ๑๐๑ ล/ ๒๗ พิเศษ ๑๓. อาคารพยาบาล ๑ ๒ ๒๕๓๖ ดี ๑๔. ห้องนำ้ แบบมาตรฐาน (ชาย) ๑ ๔ ๒๕๕๒ ดี ๑๕. ห้องน้ำแบบมาตรฐาน (หญงิ ) ๑ ๒ ๒๕๔๑ ดี ๑๖. ห้องสว้ มแบบมาตรฐาน ๖ ที่/๒๗ (ชาย) ๑๗. ห้องส้วมแบบมาตรฐาน ๖ ท่/ี ๒๗ (หญงิ ) ๒ ๒ ๒๕๒๐, ฝา/หลงั คา/พื้น ชำรุดมาก ควร ๒๕๕๗ ซอ่ ม, ดี ๓ ๓ ๒๕๔๐-๒๕๔๓ พื้นทรดุ ชำรุดมาก ๗ ๗ ๒๕๔๐- ประตู/พื้น ชำรดุ มาก(๓), ดี ๒๕๔๓,๔๗,๕๕ (๔) ๕ ๓๐ ๒๕๔๕ ประต/ู พ้นื ทรดุ ชำรุดมาก ๖ ๓๖ ๒๕๔๕, ๕๕ ประต/ู พ้ืน ชำรดุ มาก(๔), ดี (๒) ๑๘. โรงหุงตม้ ๑ ๑ ๒๕๔๗ พืน้ /หลงั คา ชำรดุ มาก ควร ซอ่ ม ๑๙. โรงอาหาร ๓๐๐ ทีน่ ง่ั ๒๐. รัว้ มาตรฐานแบบโปรง่ ๑ ๑ ๒๕๔๙ ดี ๒๑. หอถงั นำ้ ๙/๙ ๒๒. โรงเรอื นเพาะชำ ๑๕๐ เมตร ๒๕๕๔ ดี ๒๓. อาคาร สพฐ. ๔ (สว้ ม ๔ ทีน่ ั่ง) ๒๔. บา้ นพกั ครู แบบแฟลต ๘ หนว่ ย ๑ ๑ ๒๕๕๖ ดี ๑ ๑ ๒๕๕๗ ดี ๒ ๘ ๒๕๕๘ ดี ๑ ๘ ๒๕๕๘ ดี
๕ ประเภท ชอ่ื แบบอาคาร จำนวนหลัง / ปที ไี่ ดร้ บั สภาพปัจจบุ นั หนว่ ย จดั สรรอาคาร ทมี่ ีแลว้ จนถึงปี หลงั หนว่ ย ปัจจุบนั อาคาร ๒๕. โรงหงุ ต้ม 1 หลงั 2559 ดี ประกอบ ๒๖. สว้ มมาตรฐานแบบ 4 ท่ี (สว้ ม แบบ สปช. 603/29) 1 หลัง 2559 ดี ๒๗. สนามบาสเกต็ บอล แบบ FIBA ๒๘. ป้อมยาม 1 สนาม 2559 ดี ๒๙. หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วมนักเรยี นหญิง 6 ที่/49 1 หลัง 2560 ดี ๓๐. ห้องนำ้ หอ้ งสว้ มนักเรียนชาย 6 ท/ี่ 49 1 หลงั 2560 ดี ๓๑. ลานกฬี าอเนกประสงค์ 1 หลัง 2560 ดี ๓๒. โรงอาบนำ้ นกั เรยี น อาคารโรงซักผา้ และ 1 สนาม 2560 ดี อาบนำ้ หญงิ ๓๓. ถงั เกบ็ น้ำ หอถังน้ำ 18/12 1 หลงั 2560 ดี ๓๔. หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วมนกั เรียนชาย 4 ท/่ี 49 ๓๕. ห้องนำ้ หอ้ งสว้ มนักเรยี นหญงิ 4 ท/่ี 49 1 ชุด 2560 ดี 1 หลงั 2561 ดี ๓๖. บ้านพักผบู้ รหิ าร บา้ นพักครู แบบ 207 1 หลัง 2561 ดี ๓๗. หอ้ งน้ำหอ้ งสว้ มนกั เรียนชาย 6 ท่/ี 49 1 หลงั 2562 ดี ๓๘. หอ้ งนำ้ ห้องสว้ มนกั เรียนหญงิ 6 ที่/49 ๓๙. โรงอาบนำ้ นักเรยี น อาคารโรงซักผา้ และ 1 หลงั 2562 ดี อาบนำ้ หญิง 1 หลัง 2562 ดี ๔๐. ห้องนำ้ ห้องส้วมนกั เรียนหญิง 4 ที่/49 1 หลัง 2562 ดี ๔๑. หอ้ งน้ำห้องสว้ มนกั เรียนชาย 4 ท/่ี 49 4 หลงั 2563 ดี ๔๒. ห้องน้ำหอ้ งส้วมนักเรยี นหญิง 4 ท/่ี 49 ๔๓. หอ้ งน้ำห้องสว้ มนกั เรยี นชาย 4 ท/่ี 49 4 หลงั 2563 อย่รู ะหว่างจัดจ้าง ๔๔. โรงอาบน้ำนกั เรยี น อาคารโรงซกั ผ้าและ 1 หลัง 2564 อยรู่ ะหว่างจัดจา้ ง อาบน้ำหญิง 1 หลงั 2564 อยรู่ ะหว่างจัดจา้ ง 1 หลัง 2564 อยู่ระหว่างจัดจ้าง
๖ ๘. แผนผังโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๙. โครงสร้างการบรหิ ารงาน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน ๗ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน นางศรญั ญา ทับนอ้ ย ผ้อู ำนวยการ นายณเรศ กณั ทวีชยั นายสวสั ดิ์ ทวานรุ ักษ์ นางอารีรกั ษ์ เรือนคำ นายเอกชยั แสงโรจน์ นางอารีรักษ์ เรือนคำ รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บริหารงบประมาณ รองผูอ้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารบุคคล รองผ้อู ำนวยการกลมุ่ บริหารทว่ั ไป รองผอู้ ำนวยการกลุม่ บรหิ ารกิจการนกั เรยี น ๑. งานสำนักงานกลมุ่ บริหารวิชาการ ๑. งานสำนักงานกลมุ่ บริหาร ๑. งานสำนักงานกลมุ่ บรหิ ารบุคคล ๑. งานสำนักงานและแผนงาน ๑. งานสำนักงานกลมุ่ บรหิ ารกจิ การ ๒. งานแผนงานกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ งบประมาณ ๒. งานแผนงานและจัดระบบภายใน กลุม่ บริหารทัว่ ไป นักเรียน ๓. งานพฒั นาหลกั สตู ร ๒. งานนโยบายและแผน กลุ่มบรหิ ารบุคคล ๒. งานแผนกลมุ่ บรหิ ารกิจการนักเรยี น ๔. งานจัดการเรยี นการสอน ๓. งานบรหิ ารพัสดุและสินทรัพย์ ๓. งานอตั รากำลัง 2. งานพัสดุ ๓. งานพฤตกิ รรมและปอ้ งกนั ยาเสพตดิ ๕. งานทะเบียนและวัดผลประเมนิ ผล ๔. งานการเงิน 3. งานสง่ เสริมสขุ ภาพและอนามัย ๔. งานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ๖. งานประกนั คณุ ภาพภายใน ๕. งานบญั ชี และสรรหา บรรจุ แตง่ ตั้ง โอนย้าย 4. งานโภชนาการ ๕. งานรักษาความปลอดภัย ๗. งานวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาคุณภาพ ๖. งานควบคุมภายใน ๔. งานทะเบยี นประวัติ 5. งานภมู ทิ ัศน์และสง่ิ แวดล้อม ๖. งานหอพกั นกั เรยี นประจำ ๘. งานส่งเสริมกิจกรรมวชิ าการ ๗. งานสารสนเทศ/SET 6. งานอาคาร และสาธารณปู โภค ๗. งานสง่ เสรมิ ประชาธิปไตยและ ๙. งานแนะแนว ๘. งานนเิ ทศ กำกบั ติดตาม และบำเหน็จความดคี วามชอบ 7. งานยานพาหนะและบรกิ ารสาธารณะ สภานกั เรียน ๑๐. งานพัฒนาส่อื นวัตกรรมและ ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงาน ๕. งานวนิ ยั และนติ ิการ 8. งาน To Be Number One ๘. งานส่งเสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/ แหลง่ เรยี นรู้ ๙. งานอน่ื ๆ ผู้รบั ผิดชอบ 9. งานชมุ ชนสมั พนั ธ์และสง่ เสริมกิจกรรม วนั สำคัญ ๑๒. งานโครงการพิเศษ ๖. งานพัฒนาบุคลากร นกั เรียน ๙. งานกจิ กรรมทกั ษะการดำรงชีวติ ๑๓. งานนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ๗. งานนิเทศ กำกับ ติดตาม ๑๐. งานสหกรณ์ นักเรยี นประจำ ตรวจสอบการปฏิบตั งิ าน ๑๑. งานคณะกรรมการสถานศึกษา ๑๐. งานนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ๑๔. งานอ่ืน ๆ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ าน ๑๒. งานโสตทศั นปู กรณ์ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ าน ๑๓. งานประชาสัมพันธ์ ๑๑. งานอนื่ ๆ ๘. งานอ่ืน ๆ 14. งานปฏคิ ม ๑5. งานตรวจสอบภายใน ๑6. งานนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม ๗7 ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงาน ๑7. งานอ่นื ๆ
๗8 ๑๐. ขอ้ มลู นกั เรยี น (ข้อมลู จากระบบ SET ณ วนั ที่ 25 มถิ ุนายน ๒๕๖๔) เพศ ระดับชัน้ เรยี น จำนวนหอ้ ง หญงิ รวม ชาย 5 ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๑ 23 8 ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๑ 44 15 ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑ 5 10 14 ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ๑ 59 15 ประถมศึกษาปีที่ ๕ ๑ 12 3 12 ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๑ 66 69 ๖ 34 35 รวม ๓ 38 47 85 มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ๓ 26 47 73 มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ 3 35 47 82 มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๓ 38 60 98 มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ 3 45 52 97 มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๒ 18 34 52 มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ ๑7 200 287 487 556 รวม ๒3 234 322 รวมทั้งหมด ๑๒. ทำเนียบผู้บริหาร โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน ท่ี ช่อื ผู้ดำรงตำแหน่ง ตำแหน่ง ระยะเวลาดำรงตำแหนง่ ๑. ว่าท่รี อ้ ยตรี ปญั ญา จีนาคำ ครใู หญ่ ๑๔ เมษายน ๒๕๑๙ - ๒๕๓๕ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๓๕ - ๒๕๓๗ ๒. นายจรญั นลิ พลบั ผู้อำนวยการ ๓. นายชเู กยี รติ ไชยทา ผอู้ ำนวยการ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ - ๒๕๓๙ ๔. นายพนา ปราณีตศิลป์ ผอู้ ำนวยการ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ - ๒๕๔๔ ๕. นายอดิสรณ์ พวงทอง ผูอ้ ำนวยการ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๔ - ๒๕๕๑ ๖. นายสมศักด์ิ สขุ นยิ ม ผอู้ ำนวยการ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔ ๗. นายกจั จายน์ อำพนั ธุ์ ผอู้ ำนวยการ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๔ – ๒๕๖๑ ๘. นายอดิศร แดงเรือน ผู้อำนวยการ ๑๑ มนี าคม ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ ๙. นางศรญั ญา ทบั น้อย ผอู้ ำนวยการ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ - ปจั จบุ นั
๑๓. ข้อมูลเกี่ยวกับบคุ ลากร : ปรมิ าณและคณุ ภาพ ๘9 จำนวน จำนวนตามวฒุ ิ รวม ตามเพศ ตำแหนง่ ตำ่ กว่า 1 ชาย หญงิ ปริญญาตรี ๔ ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาตรี 31 สายบริหาร 9 5 ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา 0 1 1 0 0 4 7 รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ๓ ๑ ๔ 0 0 1 2 สายครผู สู้ อน 6๔ ครู 14 20 3 28 0 พนักงานราชการ 54 0 9 0 ลกู จา้ งประจำ 50 0 0 5 ลกู จ้างชว่ั คราว(จา้ งเหมาบริการ) 3 1 0 0 4 ลกู จ้างชว่ั คราว(พเ่ี ล้ียงเด็กพกิ าร) 3 4 0 0 7 ลูกจา้ งชว่ั คราว(ธรุ การ) 01 0 0 0 ลูกจา้ งช่ัวคราว(ยาม) 20 0 0 2 รวมทั้งสิ้น 32 3๒ ๘ 38 18
๑๐ ส่วนที่ ๒ ทิศทางการจัดการศกึ ษา ทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายในและภายนอกสถานศึกษา ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ แม่ฮ่องสอน พบว่า สถานภาพของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนมีความเข้มแข็ง มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะ ชีวิต สังคม วชิ าการและอาชีพ เพ่ือให้นักเรียนออกสู่สังคม และพ่ึงพาตนเองได้ และนำไปใช้เป็นกรอบและทิศทาง ในการจัดการศึกษา โดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามจุดเน้นในการพัฒนานักเรียน คือ “กินอม่ิ นอนอุน่ มวี นิ ัย” เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพของโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ มฮ่ ่องสอนให้เป็นไปตามวิสยั ทศั นท์ ี่ กำหนดไว้ว่า “โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนเป็นสถานศึกษาที่พร้อมให้บริการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพ ชีวิตนักเรียนได้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพด้วยวิถีพอเพียง โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน” และตามมาตรฐาน การศึกษาให้สูงขึ้น โดยคณะครู กรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานและผู้ปกครองนักเรียน ได้กำหนดทิศทางของ สถานศึกษา ซึ่งประกอบดว้ ย วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ เปา้ ประสงค์ และกลยุทธ์ ดังน้ี วสิ ัยทศั น์ : โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนเปน็ สถานศึกษาท่พี ร้อมให้บรกิ ารจัดการเรียนรู้ และพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตนักเรียนไดอ้ ย่างทว่ั ถงึ และมีคุณภาพด้วยวิถีพอเพียง โดยการมีส่วนรว่ มของ ทกุ ภาคส่วน พันธกิจ 1. จัดการศึกษาให้แก่นักเรียนได้รับบริการทางการศึกษาที่ มีคุณภาพ ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย สอดคล้องกบั ความต้องการจำเป็นของแตล่ ะบุคคลในลักษณะโรงเรยี นประจำเปน็ หลัก 2. จดั ระบบพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ยกระดับคุณภาพท้ังด้านองค์ความรู้ ทักษะการส่อื สาร และสมรรถนะการสอนในระดบั มาตรฐานสากล 3. จัดระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาให้ทันสมยั อยา่ งมคี ุณภาพ 4. สร้างการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วนในการจัดการศึกษา เปา้ ประสงค์ 1. นักเรียนไดร้ บั บริการทางการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ ดว้ ยรูปแบบที่หลากหลาย สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการ จำเป็นของแต่ละบุคคล 2. นักเรียนประจำทุกคนได้รับสวัสดิการความเป็นอยู่ การอบรมดูแลความประพฤติ คุณธรรม จริยธรรม และพัฒนาทกั ษะงานทกั ษะชวี ิตเต็มตามศักยภาพ 3. นักเรยี นไป-กลับทุกคน ได้รบั สวัสดกิ ารตามระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนอยา่ งทว่ั ถงึ และมีคุณภาพ 4. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาท้ังด้านองค์ความรู้ ทักษะการส่ือสาร การใช้ ICT และสมรรถนะการสอนในระดบั มาตรฐานสากลอย่างต่อเน่อื ง 5. โรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการคุณภาพทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ 6. สรา้ งเครือขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนในการจัดการศกึ ษาอยา่ งมคี ุณภาพและประสิทธิภาพ
๑๑ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นด้อยโอกาส เป้าประสงค์ที่ 1 นกั เรียนได้รับบรกิ ารทางการศึกษาท่ี มคี ุณภาพ ด้วยรูปแบบท่ีหลากหลาย สอดคลอ้ ง กบั ความตอ้ งการจำเปน็ ของแตล่ ะบคุ คล เป้าประสงค์ที่ 2 นักเรียนประจำทุกคนได้รับสวัสดิการความเป็นอยู่ การอบรมดูแลความประพฤติ- คณุ ธรรมจริยธรรม และพัฒนาทกั ษะงานทักษะชวี ติ เต็มตามศักยภาพ เป้าประสงค์ที่ 3 นักเรียนไปกลับทกุ คนได้รับสวัสดิการตามระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนอย่างทัว่ ถึงและ มคี ณุ ภาพ กลยทุ ธ์ 1. จัดระบบการค้นหา คัดกรอง และรับเดก็ นักเรียนเข้าเรยี นเชิงรุก 1.1 จัดทำระบบการสำรวจ และค้นหานักเรียน เป้าหมายการรับเข้าเรียน ด้วย ICT ผ่าน เครอื่ งมอื ระบบ Open source เชอื่ มโยงระบบ on line บนมอื ถอื 1.2 สรา้ งระบบการคดั กรอง และรบั เดก็ เขา้ เรยี นเชงิ รกุ 2. พฒั นาวิชาการเพอ่ื การเรยี นรู้ 2.1 พัฒนาการอ่าน การเขียน ให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาไทยอย่างมี ประสิทธิภาพ 2.2 ออกแบบหลักสูตรการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน มุ่งเน้นความสามารถด้านภาษา ความสามารถด้านคำนวณ และความสามารถด้านเหตผุ ล (LNR) 2.3 จัดการเรียนรู้ตามแนวจิตวิญญาณไทยใจสากล โดยสร้างหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ICT + วิถชี ุมชนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มงุ่ สู่อาเซียนและสากล 2.4 พัฒนากระบวนการคิด - ทักษะงาน - ทักษะชีวิต - ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ให้นักเรยี นมีความสามรถ พึ่งตนเองได้ - ทำงานเป็น - มวี ินัย มีคุณธรรม มีจิตสาธารณะ - ปฏิบัติตนตามค่านิยม 12 ประการได้ 2.5 สง่ เสรมิ วิจยั ในชน้ั เรยี นให้เป็นส่วนหนงึ่ ของกระบวนการจดั การเรียนการสอน 2.6 จัดห้องเรยี นคณุ ภาพ ตามแนวทางโรงเรียนผูน้ ำการเปลย่ี นแปลง 2.7 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่เชื่อมโยงกิจกรรมพัฒนานักเรียนประจำ ท้ังด้านวิชาการ คณุ ธรรม ระเบียบวินัย ศิลปะ ดนตรี กฬี า นนั ทนาการ และการอาชีพ 3. จดั ระบบการดแู ลนักเรยี นประจำที่อบอนุ่ ปลอดภยั เสรมิ การจดั การเรยี นรูอ้ ยา่ งลงตวั 3.1 ปรับปรุงหอพักด้านอาคารสถานท่ี เฟอร์นิเจอร์ ครุภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น เหมาะสมกับการเสรมิ สร้างพัฒนาการเดก็ 3.2 จดั ระบบปกครองดูแลในหอพกั เปน็ ประชาธิปไตยแบบ พอ่ แมป่ กครองลกู พด่ี ูแลน้อง 3.3 ทบทวนการปฏิบัติตามกิจวัตรประจำวันให้นักเรียนมีความเป็นอยู่ท่ีดี มีการประพฤติ ปฏิบตั ิตนเปน็ ผมู้ คี ุณธรรมจริยธรรม ตามคำขวญั “พ่อแม่รักลกู ด่ังดวงจติ ครูกร็ ักและหว่ งศิษย์ ด่งั ดวงใจ” 3.4 จัดกิจกรรมนักเรียนประจำท่ีสอดคล้องกับการพฒั นาดา้ นทักษะกระบวนการคิด ทักษะ การเรียนรู้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ือง ทักษะงาน - ทักษะชวี ิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหน้ ักเรียนมี ความสามารถช่วยเหลือตัวเอง พ่ึงตนเองได้ ทำงานเป็น มีวินัย คุณธรรม มีจิตสาธารณะ ปฏิบัติตนตามค่านิยม 12 ประการ มีความกตญั ญูและรักโรงเรียน 4. จดั การเรียนรวมเด็กพิการทม่ี คี ุณภาพ สอดคลอ้ งความตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษของแตล่ ะบุคคล 5. จัดระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นไป-กลับอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 5.1 จดั ต้ังและสง่ เสริมเครือข่ายผูป้ กครองนักเรยี นไป - กลับให้เข้มแขง็
๑๒ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพฒั นาครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เป้าประสงค์ที่ 4 ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาทั้งด้านองค์ความรู้ ทักษะการสื่อสาร การใช้ ICT และสมรรถนะการสอนในระดับมาตรฐานสากลอยา่ งต่อเน่ือง กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ โดยนำหลักธรรม และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวติ และการทำงาน 2. พัฒนาครูด้านการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เล้ียง Coaching and Mentoring 3. ส่งเสริมการพัฒนาครูผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง ท้ังด้านองค์ความรู้ ทกั ษะการสอ่ื สาร การใช้ ICT ระบบปกครองดูแลช่วยเหลือนักเรยี นประจำและไปกลบั และสมรรถนะการสอนในระดับมาตรฐานสากล ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาระบบบริหารจดั การคุณภาพ เป้าประสงค์ที่ 5 โรงเรยี นมรี ะบบการบรหิ ารจดั การคุณภาพทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ กลยุทธ์ 1. จัดรูปแบบการบริหารจัดการและกลไกการบริหารแบบกระจายอำนาจและร่วมคิดร่วมทำ เพื่อดำเนินงานตามนโยบายแผนยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ ได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพแนวทางโรงเรียน นิติบคุ คล โดยคำนงึ ถึงผลผลติ ตามเป้าหมายการจัดต้งั โรงเรียนเปน็ สำคัญ 2. บริหารจัดการอาคารสถานที่และทรัพยากรท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ เอ้ือต่อความเป็นอยู่ที่อบอุ่น มนั่ คงปลอดภยั และการบรกิ ารเครอื ขา่ ยชุมชน 3. จัดสำนักงานอิเล็กทรอนิคส์ พัฒนาเครือข่าย ICT ในการบริหารและการบริการทาง การศกึ ษา 4. ดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง จัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการศึกษา โดยดำเนินการ ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ไดว้ สั ดุอุปกรณ์มีคุณภาพ 5. พัฒนาศูนย์ขอ้ มูล จัดระบบสารสนเทศด้านการศึกษา และการประชาสัมพันธ์ที่เอื้อประโยชน์ การพัฒนาโรงเรียน 6. พัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานสสู่ ากล 6.1 วิจยั และพัฒนาหลกั สูตร รปู แบบการสอน นวัตกรรม สอ่ื เทคโนโลยี 6.2 นเิ ทศ กำกับ ติดตามประเมนิ ผล รายงาน ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และ KM 6.3 ขบั เคลอื่ นการเตรียมความพร้อมสปู่ ระชาคมอาเซียน และกา้ วสสู่ ากล 6.4 ผบู้ ริหารมกี ารพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง 7. จัดระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียนเพื่อการดำรงคุณภาพอย่างย่ังยืน และพร้อมรับการ ประเมินคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานจากองค์กรภายนอก ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พัฒนาการบริหารจดั การที่เนน้ การมีส่วนร่วม เป้าประสงค์ท่ี 6 สร้างเครือข่ายการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและ ประสทิ ธภิ าพ กลยทุ ธ์ 1. แสวงหาภาคีเครอื ขา่ ยและการจดั กจิ กรรมการพัฒนาโรงเรยี นร่วมพฒั นา (Partner School) ท้งั ภายในและต่างประเทศ 2. สง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วน
๑๓ สว่ นท่ี ๓ สรุปผลการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ไดน้ ำข้อมลู ทางดา้ นสภาพแวดลอ้ ม ท้ังภายในและภายนอกท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ การดำเนินงานของโรงเรียนมาทำการวิเคราะห์ เพอื่ หาปจั จัย ที่ก่อให้เกิดความสำเร็จและอุปสรรคในการปฏิบัติงานของโรงเรียน โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายนอกด้านโอกาสและอุปสรรค และการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในที่แสดงถึงจุดแข็งและ จุดอ่อน (SWOT) เพ่ือนำผลการวิเคราะห์มาเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการกำหนดทิศทางและพัฒนา กลยุทธ์ของโรงเรียน ให้สามารถพัฒนา ส่งเสริม และปรับปรุงปัจจัยที่ทำให้ภารกิจของโรงเรียนมี ประสิทธิภาพมากย่งิ ข้ึน ซง่ึ สามารถสรปุ ได้ดงั นี้ ผลการศึกษาปจั จัยสภาพแวดลอ้ ม โอกาส แนวทางส่งเสริม พฒั นา โครงการ / กจิ กรรม / งาน ๑. พรบ.การศกึ ษาเปดิ โอกาสให้ โรงเรียนมกี ลไกคณะกรรมการ งานชมุ ชนสัมพนั ธ์ ชมุ ชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการจัด สถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน งานประชาสัมพันธ์ การศึกษา เช่น สนบั สนุน เช่ือมการทำงานร่วมกนั งานโสตทศั นปู กรณ์ งบประมาณ ด้านเทคโนโลยี อยา่ งย่งั ยืน งานคณะกรรมการสถานศกึ ษา การขอสัญชาติ ด้านงานอาชพี เป็นตน้ ๒. มีแหล่งเรียนรูภ้ ายนอก - มกี ารสร้างและพัฒนา กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน เนอ่ื งจากชุมชนมีความ หลกั สูตรทอ้ งถน่ิ งานแหลง่ เรยี นรู้ หลากหลายทางประเพณีและ - จดั กิจกรรมส่งเสริมนักเรยี น งานหลกั สตู ร วฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ใหม้ แี หล่งเรยี นรทู้ างวัฒนธรรม ๓. มีช่องทางในการตดิ ต่อ ส่อื สาร การประชาสัมพนั ธข์ อ้ มลู งานประชาสมั พันธ์ และประชาสมั พันธ์กบั เครอื ข่าย ขา่ วสารโรงเรียน ผ่านคลืน่ วิทยุ งานชุมชนสัมพนั ธ์ การศึกษาหนว่ ยงานภายนอก FM 104 Mhz. เพจ Face และชมุ ชน book โรงเรียน ๔. สถานศกึ ษาตง้ั อยบู่ รเิ วณ - ผ้ปู กครองรับ-ส่งนกั เรยี นได้ งานประชาสมั พันธ์ ชุมชน การคมนาคมสะดวก ง่าย โดยใช้ระบบ Check In งานชุมชนสมั พนั ธ์ - สามารถช่วยกจิ กรรมชุมชน ไดส้ ะดวก
๑๔ อปุ สรรค แนวทางควบคุม แก้ไข โครงการ / กจิ กรรม / งาน งานการเรยี นการสอน ๑. วัฒนธรรมบางอยา่ ง - สง่ เสรมิ การสอ่ื สารด้วย งานพฒั นาบคุ ลากร ไม่สอดคลอ้ ง กับการสง่ เสรมิ ภาษาไทยกลาง โครงการ Smart Teacher คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ อง - สร้างนักเรยี นอาสาท่ีพดู งานส่งเสริมสุขภาพและ อนามยั นักเรียน เชน่ ค่านยิ มด้าน ภาษาทอ้ งถิ่นไดม้ าชว่ ยในการ งานส่งเสรมิ กิจกรรมวชิ าการ งานกจิ กรรมส่งเสริมทกั ษะชวี ิต ครอบครวั บางสว่ นไม่พูดภาษาไทย สื่อสารกับผู้ปกครอง นักเรียนประจำ งานโสตทัศนปู กรณ์ - กำหนดกรอบหรือวฒั นธรรม งานพฒั นาสอ่ื นวตั กรรมและ แหลง่ เรยี นรู้ องค์กรระหวา่ งสังคมและ โครงการพฒั นาส่ือและ แหล่งเรยี นรู้ ทอ้ งถิ่น งานโสตทศั นปู กรณ์ ๒. นโยบายดา้ นการศึกษา - เปิดโอกาสใหค้ รมู ีการ งานการเรียนการสอน งานหอพักนักเรียนประจำและ เปล่ียนแปลงบอ่ ย ครตู ้องพฒั นา แลกเปล่ยี นเรียนรู้ พฒั นา ส่งเสรมิ ระเบยี บวินยั ตนเองสกู่ ารเลื่อนวทิ ยฐานะ ตนเองให้ทนั ต่อการ เปน็ การดงึ ครูออกนอกห้องเรียน เปล่ยี นแปลงโลกระหวา่ งกลุ่ม และการสนบั สนนุ หรอื การพัฒนา สาระการเรียนรู้ บางอย่าง กระทบกบั เวลาเรียน - สรา้ งข้อตกลง กำหนดเวลา ของนักเรียน การปฏิบัติงานอย่างชดั เจน ๓. หมอกควนั ไฟป่าชว่ งฤดแู ล้ง - รณรงคส์ รา้ งความตระหนัก กระทบตอ่ ปญั หาสขุ ภาพ เร่ืองหมอกควนั และการดูแล ตนเองแก่นักเรียน - สร้างฐานการเรียนรู้ สงิ่ แวดล้อม ๔. ส่ืออุปกรณม์ สี ภาพเก่า ชำรดุ สร้างความตระหนักในการรู้ ตามอายุการใช้งาน คณุ คา่ ของสิ่งของ แนะวิธีการ การใชอ้ ปุ กรณ์ต่าง ๆ การ บำรงุ รกั ษาอย่างถูกต้องและ ระมดั ระวงั โดยนอ้ มนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๕. นกั เรยี นขาดภมู คิ ุม้ กนั ดา้ นการ - สำรวจประเด็นความบนั เทงิ ใช้เทคโนโลยีการสือ่ สาร มุ่งเน้น ท่นี ักเรียนสนใจ แลว้ ใหค้ วามรู้ ด้านความบันเทิงมากกวา่ ด้าน เรือ่ งสอ่ื ออนไลน์ท่ีดีและ วชิ าการ เกิดพฤตกิ รรมเลยี นแบบ อันตราย ทไี่ ม่เหมาะสม และยงั ขาดความรู้ - สรา้ งข้อตกลงหรือมาตรการ ดา้ นทักษะอาชีพ เร่ืองการผลิต การใชส้ ือ่ เทคโนโลยี และการตลาด - สง่ เสรมิ การใชส้ อ่ื ออนไลนใ์ น การพฒั นาทกั ษะอาชีพ
๑๕ จดุ แขง็ แนวทางส่งเสริม พฒั นา โครงการ / กจิ กรรม / งาน ๑. โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน สร้างความเขม้ แขง็ และพฒั นา กิจกรรม Organization ครอบคลุม มกี ารกระจายอำนาจ ระบบบริหารงาน Development การบรหิ ารงาน เปิดโอกาสให้ บคุ ลากรทุกคนมีส่วนรว่ ม จัดระบบบริหารงาน มุง่ งานสำนกั งาน ๒. มกี ารจดั ทำคูม่ ือของกลุ่มงาน ผลสมั ฤทธ์ิ นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม มีการ โครงการสง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศ บริหารจดั การองคก์ รโดยยึดหลัก - ส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ เฉพาะ ทางวชิ าการ ธรรมาภิบาลและกัลยาณมิตร ดา้ นเฉพาะบคุ คล งานสง่ เสรมิ กจิ กรรมวิชาการ ๓. นกั เรยี นมคี วามสามารถดา้ น - จัดฐานการเรยี นรู้สง่ เสรมิ งานระบบดแู ลช่วยเหลอื วิชาการ กีฬา นาฏศิลป์ ดนตรี ด้านทักษะอาชีพ งานสง่ เสรมิ ทกั ษะชีวิตนักเรียน ทักษะการดำรงชวี ติ และทักษะ - พัฒนาระบบหอนอน ประจำ อาชีพ สามารถพึ่งพาตนเองได้ งานชมุ ชนสมั พนั ธ์ - สร้างความสัมพันธเ์ ชิงบวก ๔. โรงเรยี นให้ความร่วมมือกับ และใหค้ วามรว่ มมอื กบั งานอตั รากำลัง และสรรหา ชุมชนและองค์กรภายนอกท้ัง หน่วยงานภายนอกอย่าง บรรจุ แต่งตง้ั โอนยา้ ย ภาครัฐและเอกชนอย่างต่อเน่ือง ตอ่ เนอ่ื ง - สร้างความตระหนกั และรู้ งานพัฒนาบคุ ลากร ๕. อัตราครแู ละบุคลากรเพียงพอ เทา่ ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง โครงการ Smart Teacher ต่อจำนวนนกั เรยี น - จดั ทำแผนการพฒั นาเพม่ิ จำนวนนกั เรยี น งานบริหารพัสดุและสนิ ทรัพย์ ๖. สถานศึกษาสง่ เสรมิ ให้ครู - ขยายการใหบ้ รกิ ารทาง นำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ- การศกึ ษา พอเพียงมาใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน - สง่ เสริมการนำหลักปรชั ญา และการดำเนินชวี ิต มีความ ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้กับ สามัคคี ให้ความรว่ มมือในการ การทำงาน ดำเนินงาน - ยกระดับเป็นสถานศึกษา ๗. โรงเรียนไดร้ ับการจัดสรร พอเพียง งบประมาณจากหนว่ ยงาน ตน้ สังกดั อย่างเพียงพอ พัฒนาระบบบริหารจดั การ การจัดจา้ ง จัดซื้อพัสดุ ครุภัณฑ์ ใหไ้ ดข้ องที่มีคุณภาพ ใช้อยา่ งคุ้มค่า และบำรุงรกั ษา ใหอ้ ยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน
๑๖ จุดแขง็ แนวทางสง่ เสริม พฒั นา โครงการ / กจิ กรรม / งาน ๘. โรงเรียนมีพ้นื ท่เี พยี งพอ มี จัดระบบการบรหิ ารทรพั ยากร งานอาคารและสาธารณปู โภค อปุ กรณ์ครบ เอ้ือต่อการจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ งานภมู ิทศั น์และส่งิ แวดล้อม เรยี นรู้ และให้บริการชุมชน มี หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ การจัดเก็บวัสดอุ ุปกรณ์ นำมาใช้ พอเพียง อยา่ งคุ้มค่าและสรา้ งสรรค์ จดุ อ่อน แนวทางควบคุม แกไ้ ข โครงการ / กิจกรรม / งาน ๑. การสอื่ สารในองคก์ รไมท่ ั่วถึง - สง่ เสริมการทำงานเป็นทมี งานสำนักงาน ทำใหบ้ ุคลากรมีความเขา้ ใจ - จดั ระบบสารบรรณ การ งานโสตทศั นูปกรณ์ ไมต่ รงกนั ส่งผลให้การ ส่อื สารและบริการในหน่วยงาน กจิ กรรม Organization ปฏิบตั ิงานลา่ ชา้ กวา่ กำหนด Development ๒. ส่ือวัสดอุ ปุ กรณไ์ ม่พร้อมและ - ใชท้ รัพยากรให้คมุ้ ค่า และ งานอาคารและสาธารณปู โภค ไมเ่ พียงพอ เช่น คอมพวิ เตอร์ บำรงุ รกั ษาใหอ้ ยูใ่ นสภาพพร้อม งานภมู ิทศั น์และสง่ิ แวดลอ้ ม อาคารเรยี น อาคารประกอบ ใชง้ าน งานโสตทศั นปู กรณ์ พัสดคุ รุภัณฑ์ทรดุ โทรม ชำรดุ - นำทรพั ยากรท่ีเหลือใช้หรอื โครงการพฒั นาส่ือและแหล่ง ตามอายุการใช้งาน พ้ืนที่ ชำรดุ มาซอ่ มแซม หรือ เรยี นรู้ ในโรงเรียนยงั นำมาใชเ้ ป็น ประยุกต์ใช้แลว้ นำกลบั มาใช้ งานพฒั นาสือ่ นวัตกรรมและ แหลง่ เรยี นรูไ้ มท่ ้ังหมด และครู ใหม่ (REUSE) แหล่งเรียนรู้ ขาดความรใู้ นการบำรงุ รักษาวสั ดุ อปุ กรณ์ ๓. นักเรยี นบางส่วนยงั ขาดวินยั - เสริมสร้างระเบยี บวนิ ัยให้แก่ โครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ขาดแรงจงู ใจทางการเรยี น และ ผู้เรียน โครงการส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ทกั ษะทางอาชีพ - ส่งเสริมความสามารถหรือ ทางวิชาการ ความถนดั ของแตล่ ะบุคคล โครงการพฒั นาส่ือและแหล่ง - จัดระบบดูแลนักเรียนให้มี เรียนรู้ ประสิทธิภาพ งานส่งเสรมิ กิจกรรมวิชาการ งานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ๔. ครูและบุคลากรมีการโยกยา้ ย - วางแผนการบริหารบคุ คล งานอตั รากำลัง และสรรหา ทกุ ภาคเรยี น บคุ ลากรท่ีมีความรู้ บรรจุ แต่งตั้ง โอนยา้ ย เฉพาะทางไมเ่ พียงพอต่อภาระ งานพฒั นาบุคลากร งาน โครงการ Smart Teacher
๑๗ จุดออ่ น แนวทางควบคุมแกไ้ ข โครงการ / กิจกรรม / งาน ๕. งบประมาณบางหมวด บาง - วางแผน ควบคุม จดั สรรการ งานนโยบายและแผน รายการไม่เพยี งพอต่อ ใชง้ บประมาณ และให้ความรู้ งานบรหิ ารหัสดแุ ละสนิ ทรัพย์ ความต้องการ มโี ครงการ/งาน/ ความเขา้ ใจเรื่องระเบียบพัสดุ งานบริหารบญั ชี กจิ กรรม นอกเหนือจาก และการเงนิ โครงการบริหารแผนปฏบิ ตั ิการ แผนปฏิบตั ิการ เพม่ิ ระหว่าง ประจำปี ๒๕๖๔ ภาคเรยี น ส่งผลกระทบต่อการ วางแผนงบประมาณ และครู บางสว่ นขาดความรเู้ ร่ืองระเบียบ พัสดุ การเงิน
๑๘ ส่วนที่ ๔ การประมาณการงบประมาณรายรบั ของโรงเรยี น ประเภทรายรับ ประมาณรายรบั ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ๑. เงนิ งบประมาณ ๑ เม.ย.๖4 - ๓๐ ก.ย.๖4 ๑ ต.ค.๖4 – ๓๑ ม.ี ค.๖5 รวม หมายเหตุ ๑.๑.งบบุคลากร - - - - ค่าจ้างช่วั คราว ๑.๒.งบดำเนินงาน - - - - - - - ค่าสาธารณปู โภค - - - - ค่าตอบแทน - - - - คา่ ใชส้ อย - คา่ วสั ดุ 954,850.00 954,850.00 1,909,700.00 ๑.๓.งบเงนิ อดุ หนนุ 593,538.00 - 593,538.00 - คา่ จดั การเรยี นการสอน 918,860.00 - 918,860.00 - คา่ หนังสอื เรยี น 478,970.00 - 478,970.00 - ค่าเครือ่ งแบบนกั เรยี น 120,665.00 241,330.00 - ค่ากิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120,665.00 - ค่าอปุ กรณ์การเรียน - - ๒. เงินนอกงบประมาณ - - - ๒.๑ เงนิ รายได้สถานศึกษา - - - ๒.๒ เงนิ สนบั สนุนจาก อปท. 3,066,883.00 - 4,142,398.00 ๒.๓ อน่ื ๆ 1,075,515.00 รวม
ประมาณการรายจ่ายประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ รายจา่ ยประจำตามโครงสรา้ ง ๑) กล่มุ บริหารวิชาการ งาน/กจิ กรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ ผู้รับผดิ ชอบ ๑. งานสำนักงาน งบดำเนินงาน นางพิชญส์ ติ า กล่มุ บรหิ ารวชิ าการ เชงิ ปริมาณ เชงิ คณุ ภาพ งบบุคลากร งบลงทุน ภัทรเสถียรกิตต์ิ - ๑๗,๐๐๐ - ๒. งานแผนงาน ๑) ทะเบยี นรับหนงั สือราชการ ๑) เอกสารงานสำนักงานและ นางสาวอาพันธ์ชนก กลุ่มบริหารวชิ าการ - ๑๗,๐๐๐ - ศิรงิ าม จำนวน ๓ เลม่ งานพัสดุ มีความถกู ต้อง จดั เกบ็ - - - ๒) บันทกึ การประชมุ กล่มุ บริหาร อย่างเป็นระบบ สะดวกรวดเร็ว วิชาการ จำนวน ๑ แฟ้ม ในการใช้งาน ทันตามเวลาที่ ๓) แฟ้มเอกสารรับ-จา่ ย จำนวน กำหนด ๓ แฟม้ ๔) ทะเบียนคุมพัสดจุ ำนวน ๒ เล่ม รวม ๑) กลมุ่ บริหารวชิ าการมี ๑) กลุ่มบริหารวชิ าการมกี าร แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี จำนวน ปฏบิ ตั ิงานท่เี ป็นไปตามแผนและ ๑ เล่ม ปฏิทินการดำเนนิ งาน มีขอ้ มูล ๒) เกบ็ รวบรวมข้อมลู การ สารสนเทศเปน็ ปัจจุบนั และ ดำเนนิ งาน และผลงานของกลุม่ ตรวจสอบได้ บรหิ ารวิชาการได้รอ้ ยละ 80 ของ การดำเนินงานทั้งหมด ๓) กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการมีรายงาน สารสนเทศ จำนวน 1 เล่ม 19
งาน/กจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ ๓. งานพฒั นาหลกั สูตร งบดำเนินงาน เชงิ ปริมาณ เชิงคณุ ภาพ งบบุคลากร งบลงทนุ นางจรี วรรณ ทวานรุ ักษ์ ๔. งานจัดการเรียน - - - นางพิชญส์ ติ า การสอน ๔) มกี ารจดั การระบบควบคมุ - - - ภัทรเสถียรกติ ต์ิ นายเสกสรร ใจประเสรฐิ ภายใน ตรวจสอบได้ - - - หัวหนา้ กลุ่มสาระ - 496,970 - การเรยี นรู้ รวม - 496,970 - นางพิชญส์ ิตา ๑) หลกั สตู รสถานศกึ ษา จำนวน ๑) โรงเรียน ภัทรเสถียรกติ ต์ิ ๑ เล่ม ศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน ๒) หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ มีหลักสตู รสถานศึกษา และกิจกรรมผูเ้ รยี น จำนวน ๙ เลม่ ท่สี อดคล้องกบั หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน บรบิ ทของโรงเรียน หลักสูตรโรงเรียน มาตรฐานสากล และมีการ สอดแทรกหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง สนองความแตกตา่ ง ระหวา่ งบคุ คล รวม ๑) นกั เรยี น จำนวน ๔๓๕ คน ๑) ผูเ้ รยี นมผี ลสัมฤทธ์ิ ๒) ครูโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ทางการเรยี นสงู ข้ึน แม่ฮ่องสอน จำนวน ๔๖ คน ๒) การจดั การเรียนการสอนท่ีมี ความหลากหลายและเป็นระบบ รวม 20
งาน/กิจกรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ ผ้รู บั ผิดชอบ ๕. งานทะเบียนและ งบดำเนนิ งาน นางจิราภรณ์ แสนปวน วดั ผลประเมนิ ผล เชิงปรมิ าณ เชิงคุณภาพ งบบคุ ลากร งบลงทนุ - - - นางอัมรัตน์ ๖. งานประกันคุณภาพ ๑) ค่มู ือแนวปฏิบัติการรบั นักเรยี น ๑) สถานศึกษามรี ะบบการรบั ภญิ ญาพนั ธ์ ภายใน - - - นางสาวนันทิชา ทะเบยี นนักเรยี น และการวัดผล นกั เรยี นทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ - - - วงศ์นอ้ ย ๗. งานวจิ ัยเพื่อพัฒนา ประเมนิ ผล 2) สถานศึกษามีข้อมูลในการทำ คุณภาพ ๒) ทะเบยี นนักเรียน จำนวน สำมะโนนกั เรยี นไปใชป้ ระโยชน์ - - - - - - ๑ เลม่ ในการช่วยเหลือนกั เรียน ๓) แฟม้ ขอ้ มูลสารสนเทศนกั เรียน ๓) ใหบ้ ริการแก่ผเู้ ก่ียวข้องอย่าง จำนวน ๒๑ แฟม้ สะดวก รวดเรว็ ถกู ตอ้ ง และมี ๔) แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ ตาม ความพึงพอใจในการรับ-บริการ แบบฟอร์ม ท่สี ถานศึกษากำหนด จำนวน 530 ฉบบั รวม ๑) ผู้บริหาร ครูและบุคลากร ครูและบคุ ลากร นำระบบ จำนวน ๔๐ คน ประกนั คุณภาพภายในไปใชใ้ น การปฏิบัติงานอย่างมี ประสิทธิภาพ รวม ๑) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑) ครรู ้อยละ ๑๐๐ ใช้ จำนวน ๔๖ คน กระบวนการศึกษาวิจัยเพื่อ พฒั นาการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น และจัดทำรายงานวจิ ยั ในชน้ั เรียนอยา่ งเป็นระบบ ภาคเรียนละ ๑ เรอื่ ง 21
งาน/กจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ งบดำเนนิ งาน ๘. งานส่งเสริมกจิ กรรม เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ งบบคุ ลากร งบลงทุน นางพชิ ญ์สิตา วิชาการ - ภทั รเสถียรกิตติ์ ๒) ครูร้อยละ ๘๐ นำผลการวิจยั - - - ๙. งานแนะแนว - - นางสาวรตั ณี ในชั้นเรยี นมาใชป้ รบั ปรุงการ - คำสังวาลย์ ๑๐. งานพัฒนาสอื่ เรยี นการสอน - - - นายเสกสรร นวัตกรรม และแหล่ง - - ใจประเสรฐิ เรียนรู้ รวม - - - - ๑) นักเรยี น จำนวน 1) นักเรียนได้รบั การส่งเสริม - - ๔๓๕ คน และพัฒนาทกั ษะทางดา้ น วชิ าการด้วยกิจกรรมการเรยี นรู้ ทีห่ ลากหลาย สามารถปฏิบัติตน จนเปน็ นิสัยในชีวติ ประจำวัน รวม ๑) นกั เรยี น จำนวน ๔๓๕ คน ๑) นักเรยี นไดร้ บั การแนะแนว ครบทงั้ 3 ด้าน มคี วามรักและ เห็นคณุ คา่ ของตนเองและผู้อ่ืน รวม ๑) นักเรียน จำนวน ๔๓๕ คน ๑) นักเรยี นทกุ คนไดร้ ับสิทธก์ิ าร ใชบ้ รกิ าร ส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยี ภายในหอ้ งสมุดและ แหลง่ เรียนร้ขู องโรงเรียนเพ่ือ การศึกษาทุกคน ๒) โรงเรยี นมีแหล่งเรียนรู้ สอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษาภายในสถานศึกษา 22
งาน/กจิ กรรม เปา้ หมาย เชิงคุณภาพ งบบุคลากร เงนิ งบประมาณ งบลงทนุ ผ้รู บั ผิดชอบ เชงิ ปรมิ าณ งบดำเนินงาน - - นางสาวอาพนั ธช์ นก พรอ้ มอำนวยความสะดวกให้ครู - - - ศิริงาม - - - นางสาวรัตณี บุคลากร และนักเรยี น ใชเ้ พ่ือ - - คำสงั วาลย์ - สนบั สนุนการเรียนการสอนให้ - - - ผเู้ รยี นเกดิ ความรแู้ ละทกั ษะตาม - มาตรฐานการเรยี นร้แู ละมี คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ รวม ๑๑. งานโครงการพิเศษ ๑) ผู้บรหิ าร ครแู ละบุคลากร ๑) นักเรยี นและครูไดจ้ ัด ทางการศกึ ษา โครงการหรือกิจกรรมสนอง จำนวน ๔๖ คน นโยบายตามกลยทุ ธใ์ นการ ๒) นักเรียน จำนวน ๔๓๕ คน พฒั นาของโรงเรียน รวม ๑๒. งานนิเทศ กำกับ ๑) ครูจำนวน ๔๖ คน ๑) ครกู ลุ่มบรหิ ารวชิ าการได้รับ ตดิ ตามการปฏบิ ัติงาน การนเิ ทศ กำกับติดตามการ และการจดั การเรยี น ปฏิบัตงิ านและครผู สู้ อนทกุ คน การสอน ไดร้ ับการนเิ ทศการจัดการเรียน การสอนอย่างน้อย ภาคเรยี นละ 1 ครงั้ รวม 23
๒) กลุ่มบรหิ ารกจิ การนกั เรียน งาน/กิจกรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ ๑. งานสำนักงาน งบบคุ ลากร งบดำเนินงาน นางสาวกชพร คดิ ดี กลุ่มบริหารกจิ การ เชงิ ปรมิ าณ เชงิ คณุ ภาพ งบลงทุน นักเรียน ๑) แผนปฏบิ ัติการปฏทิ ิน - กลมุ่ บริหารกจิ การนักเรียนมี -- - นายณรงคช์ ัย โชคอรณุ ๒. งานแผนงาน ปฏิบตั งิ านของกลุ่มบริหารกจิ การ การปฏบิ ัตงิ านทีเ่ ป็นไปตามแผน -- - กลมุ่ บริหารกิจการ - 10,000 - นักเรียน นกั เรยี น จำนวน 1 เล่ม และปฏทิ นิ การดำเนินงานเปน็ - 10,000 - ๒) บัญชีพสั ดแุ ละบนั ทกึ การใช้ ปจั จบุ นั และตรวจสอบได้ พสั ดขุ องกล่มุ งาน จำนวน 1 เลม่ ๓) รายงานสรปุ ผลการปฏิบัติงาน โครงการของกลุ่มบรหิ ารกจิ การ นักเรยี น จำนวน 1 เลม่ รวม ๑) งาน/โครงการ/กิจกรรมกล่มุ บรหิ ารกจิ การนักเรยี น บรรลุ ๑) ประชุมจดั ทำแผนปฏิบัติการ ตามวัตถุประสงค์ ประจำปี ๒๕๖4 จำนวน ๑ ครง้ั / และใช้งบประมาณเปน็ ไปตามที่ ปีการศกึ ษา กำหนดไว้ในแผนปฏบิ ตั ิการ ๒) รายงานสรปุ ผลการปฎิบัติงาน ประจำปี ๒๕๖4 ตามแผนปฏิบตั ิ จำนวน ๑ เล่ม 3) เอกสารโครงการ/กจิ กรรม จำนวน ๑ แฟ้ม รวม 24
งาน/กิจกรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ ผูร้ บั ผดิ ชอบ งบบุคลากร งบดำเนนิ งาน นายภกั ดิภ์ ณ ๓. งานพฤตกิ รรมและ เชงิ ปริมาณ เชิงคุณภาพ งบลงทุน ชยั บรุ ณ์ ปอ้ งกันยาเสพตดิ -- - ๑) นักเรยี น ๔๓๕ คน ประพฤติ ๑) นักเรยี นมพี ฤติกรรมท่ดี ี นางสาวปราหนนั -- - บวั วัฒนา ปฏบิ ตั ิตนตามกฎระเบียบของ ปฏิบัติตนตามกฎระเบยี บของ -- - นายอธิคม สุธรรม สถานศกึ ษา และไม่ยงุ่ เกยี่ วกับยา สถานศกึ ษา และไม่ย่งุ เกีย่ วกับ -- - -- - นายอธิคม สุธรรม เสพติด ยาเสพตดิ -- - ๔. งานหอพักนักเรยี น รวม 1) นักเรียนหอพักทำกจิ กรรม -- - ประจำ ๑) หอพักนกั เรยี น จำนวน ๑๖ และรักษาความสะอาดของ หลัง ๒) นักเรียน จำนวน หอนอน และอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมี ๕. งานส่งเสริม ๔๓๕ คน ความสุข ประชาธปิ ไตยและ สภานักเรียน รวม 1) นกั เรยี นรเู้ ก่ยี วกับหลกั ๑) ร้อยละ 90 ของนกั เรยี นมี ประชาธปิ ไตย ๖. งานสง่ เสรมิ คณุ ธรรม ความรเู้ ก่ยี วกบั หลักประชาธปิ ไตย เกดิ ภาวะความเป็นผู้นำและผู้ จริยธรรมและวันสำคัญ ๒) คณะกรรมการนกั เรียน จำนวน ตามทด่ี ี สามารถทำงารว่ มกนั ได้ 1 คณะ อย่างมีความสขุ รวม 1) นักเรียนได้รบั การสง่ เสริม ๑) นกั เรียน จำนวน ๔๓๕ คน คุณธรรม จริยธรรม และ มพี ฤติกรรมที่ พึงประสงค์ตามหลักสูตร รวม - - - 25
งาน/กิจกรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ ผูร้ ับผิดชอบ ๗. งานระบบดูแล งบบคุ ลากร งบดำเนินงาน นางสาวรัตณี ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น เชิงปรมิ าณ เชิงคุณภาพ งบลงทนุ คำสงั วาลย์ -- - ๘. งานรกั ษาความ 1) แฟม้ ขอ้ มูลสารสนเทศของ ๑) งานระบบดูแลช่วยเหลือ นายภกั ดิภ์ ณ ปลอดภัย -- - ชยั บรุ ณ์ นกั เรยี น แตล่ ะระดบั ชนั้ จำนวน นกั เรียน ดำเนนิ งานอย่างมี -- - นางปาริชาติ มังกรณ์ ๙. งานกิจกรรมทักษะ 22 แฟ้ม ระบบ เกดิ ประสทิ ธภิ าพ การดำรงชีวิตนักเรียน - นักเรยี น จำนวน ๕๕๖ คน และสามารถตรวจสอบได้ -- - นายสุรพล ประจำ -- - แก้วอร่ามย่ิง รวม ๑๐. งานนเิ ทศ กำกบั -- - ติดตาม ตรวจสอบ ๑) ครแู ละนกั เรียน ทกุ คน ได้รับ ๑) ครูและนักเรียนใชช้ วี ติ อยู่ใน -- - ความสะดวกและความปลอดภยั สถานศกึ ษาดว้ ยความสะดวก และปลอดภัย -- - รวม ๑) ร้อยละ 90 ของนกั เรยี นมี ๑) นกั เรยี นประจำในมสี ุขภาพ ทักษะการดำรงชีวิตในการอยู่ พลานามัย มีความสะอาดของ ร่วมกบั ผู้อนื่ เสื้อผ้า สขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง สมบรู ณ์ ไดร้ บั การรกั ษา พยาบาล ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบ ของโรงเรียน และอยู่รว่ มกับ ผู้อ่ืนได้อย่างมีความสขุ รวม ๑) ผ้บู รหิ าร ครแู ละบุคลากร ๑) ครแู ละบุคลากร สามารถ จำนวน ๑๒ คน ปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งเปน็ ระบบ ถกู ต้อง รวม 26
๓) กลุ่มบริหารท่ัวไป งาน/กจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ ผู้รับผดิ ชอบ ๑. งานสำนกั งานและ งบดำเนนิ งาน นายปุณยวจั ณ์ แผนกล่มุ บรหิ ารทั่วไป เชงิ ปริมาณ เชงิ คณุ ภาพ งบบุคลากร งบลงทนุ แก้วพรหมมา - - - นางพรพิมล นภาเวชกุล 2. งานพสั ดุ 1) ทะเบยี นรับหนงั สือราชการ 1) เอกสารงานสำนักงานจดั เก็บ นางอรณชั ชา สมบัติ - - - จำนวน ๑ เล่ม อย่างเปน็ ระบบสะดวกรวดเร็วใน 12,000 - นางอรณชั ชา สมบตั ิ 2) ทะเบยี นสง่ หนงั สือราชการ การใชง้ าน จำนวน ๑ เล่ม 3) บนั ทึกการประชุมกลุ่มบริหาร ทัว่ ไป จำนวน ๑ แฟม้ 4) แฟม้ เอกสารรับ จำนวน ๑ แฟม้ 5) แฟม้ เอกสารส่ง จำนวน ๑ แฟ้ม รวม 1) มีการลงทะเบียนครุภัณฑ์ เปน็ ระบบถูกต้องครบถ้วน และ 1) คูม่ ือพัสดจุ ำนวน 1 เลม่ เปน็ ปัจจบุ นั 2) ทะเบียนครภุ ัณฑ์ และจัดทำ 2) การปฏิบตั งิ านพัสดุถกู ต้อง ทะเบียนคุม จำนวน 1 เล่ม ตามระเบยี บการเบิกจา่ ยพสั ดุ 27
งาน/กจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ ผ้รู บั ผิดชอบ งบดำเนินงาน 3. งานส่งเสรมิ สขุ ภาพ เชิงปรมิ าณ เชงิ คณุ ภาพ งบบคุ ลากร งบลงทุน และอนามัย - 12,000 3) สมดุ คมุ /การเก็บรักษาพสั ดุ - 50,000 4. งานโภชนาการ และการเบิกจ่ายพัสดแุ ละการยืม - 50,000 รวม - 5. งานภูมทิ ศั น์และ พสั ดุ จำนวน ๑ แฟ้ม - สิ่งแวดล้อม - - รวม 5,000 - - 1) ดำเนินการสำรวจ ตรวจสอบ 1) นักเรยี น ครแู ละบุคลากร 5,000 - นางศุศิรา จีนาคำ นางอรณัชชา สมบัติ ยาและเวชภณั ฑ์ทีจ่ ำเป็นต้องใช้ใน ได้รับบริการด้านสุขภาพอนามัย น.ส.สาแพ กอ้ นเพชรตาแมว การให้บรกิ าร ภาคเรยี นละ 1 ครงั้ ทำให้มสี ขุ ภาพอนามัยทีส่ มบรู ณ์ และจดั ซ้ือใหม้ ีความพร้อมและ แข็งแรง และไม่มีการระบาดของ เพยี งพอต่อการใหบ้ ริการ โรคตดิ ต่อในโรงเรยี น รวม - 150,000 1) ปรบั ปรงุ ร่องระบายน้ำเสยี รอบ 1) โรงอาหารมกี ารจดั การของ น.ส.อนญั ญา 150,000 รนกรวรญั ชิต โรงครัวและโรงอาหาร เสยี อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ไมส่ ่ง - นายปารวลักษณ์สวัสตยี า หอมสมบตั ิ กลน่ิ รบกวนการจดั การเรยี นการ นางสาวพชิ ญสติ าภทั ร สอนโดยรอบ เสถยี รกิตต์ นายจำลอง เสารยี ์ 1) จัดซ้อื ถงุ ขยะจำนวน 1) นกั เรยี นร้อยละ ๙๕ มวี ินยั รู้ นายรัชพงษ์ อัมพรคีรีมาศ 1 ครง้ั บทบาทหน้าท่ีของตนเอง และ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เป็น รวม พน้ื ฐานท่ีดี ในการนำความรู้ ทักษะไปใช้ให้เปน็ ประโยชนแ์ ก่ สังคมได้ 28
งาน/กจิ กรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ งบบคุ ลากร งบดำเนนิ งาน 6. งานอาคาร และ เชิงปรมิ าณ เชิงคณุ ภาพ งบลงทุน นายสมนกึ แสนปวน สาธารณปู โภค - ๖๓,๒๑๐ - นายสงวนศกั ด์ิ ศรีวชิ ยั 1) สำรวจ ตรวจสอบ 1) อาคารเรยี น อาคารประกอบ นางสาวอนัญญา รนกรวรญั ชิต สว่ นประกอบของอาคารเรยี น และระบบสาธารณูปโภคใน อาคารประกอบ และซอ่ มแซม โรงเรียนศกึ ษาเคราะห์ ปรับปรุง ใหม้ ีสภาพสมบรู ณ์ แมฮ่ ่องสอน มีความพร้อมใช้งาน ปลอดภยั และพร้อมใช้งาน และปลอดภยั เอื้อต่อการเรยี นรู้ สัปดาห์ละ ๑ คร้ัง และการพกั อาศยั อยู่ในโรงเรียน 2) สำรวจ ตรวจสอบระบบไฟฟ้า ประจำได้อยา่ งเหมาะสม และซ่อมแซมปรับปรุง ใหม้ สี ภาพ สมบูรณ์ ปลอดภัย เพียงพอและ พรอ้ มใชง้ าน สัปดาหล์ ะ ๑ ครั้ง 3) สำรวจ ตรวจสอบ ระบบ ประปาจงั หวัดและระบบประปา ภเู ขาซอ่ มแซมปรับปรุงใหม้ สี ภาพ สมบูรณ์ เพยี งพอตอ่ การใช้อุปโภค และบริโภค สปั ดาห์ละ ๑ ครั้ง 4) สำรวจ ตรวจสอบ ระบบ สุขาภบิ าล สิง่ ปฏกิ ูลบริเวณอาคาร เรยี น และอาคารประกอบและ จดั การสิ่งปฏกิ ูลของระบบ สุขาภิบาล เดอื นละ ๒ คร้ัง 29
งาน/กิจกรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ งบบคุ ลากร งบดำเนนิ งาน นายสงวนศักดิ์ ศรวี ชิ ยั เชิงปริมาณ เชงิ คุณภาพ งบลงทนุ - ๖๓,๒๑๐ 5) สำรวจ ตรวจสอบ สภาพเครอ่ื ง -- - - ดับเพลงิ และเตมิ สารเคมแี หง้ จำนวน ๔๒ ถงั 6) จัดทำทะเบยี นหรือขอ้ มูลการ ใชข้ อเข้าพักในโรงเรยี น จำนวน ๑ เล่ม รวม 7. งานยานพาหนะและ 1) สำรวจสภาพ ซ่อมแซมดแู ล 1) มีการกำหนดหนา้ ทค่ี วาม บริการสาธารณะ รถยนตข์ องโรงเรียน จำนวน ๖ คัน รับผดิ ชอบ ให้ความรแู้ ก่ ให้มสี ภาพปลอดภยั และพร้อมใช้ พนกั งานขับรถ ตลอดจน งาน สัปดาหล์ ะ ๑ คร้งั พจิ ารณา จัดและให้บรกิ าร พาหนะแกบ่ คุ ลากร มกี ารกำกบั ติดตาม จดั ทำข้อมลู สถิติการใช้ และให้บริการยานพาหนะของ โรงเรียน มกี ารกำหนดแผน ตรวจสอบ ซอ่ มบำรุง เพ่ือให้ ยานพาหนะใช้การได้ และ ปลอดภยั ตลอดเวลา ให้ คำแนะนำ เสนอผมู้ ีอำนาจ อนุมัติ ทำใหร้ ถยนต์ของ โรงเรียนอยใู่ นสภาพพร้อม 30
งาน/กจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ เชิงปริมาณ งบบคุ ลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน 8. งาน TO BE เชิงคณุ ภาพ NUMBER ONE ท่ีจะใช้งานได้ และมีคณุ ภาพที่ดี ปฏิบัติหนา้ ทีอ่ ื่น ๆ ตามที่ ผบู้ งั คับบญั ชามอบหมายและมี การประเมินผลการดำเนนิ งาน และสรปุ ผลการดำเนินงาน ประจำปีทเี่ ปน็ ระบบ รวม - -- - 1) นักเรียนแกนนำชมรม 1) นักเรยี นรอ้ ยละ 90 ของ - - - นางศศุ ิรา จนี าคำ TO BE NUMBER ONE สมาชกิ ชมรม TO BE NUMBER จำนวน 20 คน ONE โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ 2) นกั เรยี นสมาชกิ ชมรม แม่ฮ่องสอน เป็นผู้มีสนุ ทรยี ภาพ TO BE NUMBER ONE ทางด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬามี จำนวน 100 คน สุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทีด่ ีรู 3) ครทู ่ปี รึกษาชมรม จกั ป้องกนั ตนเองจากสิ่งเสพติด TO BE NUMBER ONE จำนวน ให้โทษ เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง มี 5 คน ความมั่นใจ กลาแสดงออกอย่าง เหมาะสม รูจักใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ และเปน็ แบบอย่างท่ี ดีแกน่ กั เรยี นในโรงเรียน รวม - - - 31
งาน/กจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ ผ้รู ับผิดชอบ 9. งานชมุ ชนสมั พันธ์ งบบคุ ลากร งบดำเนนิ งาน นายฆอ้ งชัย กนั ยวิมล และสง่ เสรมิ กจิ กรรม เชงิ ปรมิ าณ เชงิ คณุ ภาพ งบลงทนุ นายสหรัฐ สุมาลี นักเรียน - 25,680 - 1) ดำเนินรายการวิทยุศึกษา 1) ครแู ละนักเรียนโรงเรียน นายปารวลกั ษณ์สวัสตียา 10. สหกรณ์ สงเคราะห์สมั พันธท์ าง สวท.มส. ศกึ ษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน มี - 25,680 - หอมสมบตั ิ -- - ทุกวันอาทิตย์ เวลา 13.00 - การแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ะหว่าง 13.30 น. ตลอดปกี ารศกึ ษา บุคลากรภายในสถานศึกษา 2) ใหค้ วามรว่ มมือกับหนว่ ยงาน ระหวา่ งสถานศึกษากบั ภายนอกท้ังภาครัฐและเอกชน ครอบครัว ชุมชนและองค์กรที่ จำนวน 10 ครงั้ เกยี่ วขอ้ งอย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3) จดั ทำวารสาร,จดหมายขา่ ว นกั เรียนกลมุ่ กิจกรรม จำนวน 12 ฉบบั สนุ ทรียภาพมที ักษะและ 4) จดั ทำบตั รอวยพรปใี หม่ ความสามารถด้านการแสดงต่อ จำนวน 250 ฉบบั ชุมชนอยา่ งมีคุณภาพ รวม 1) รบั สมัครสมาชิกสหกรณ์ 1) โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ โรงเรยี นรายใหม่ สปั ดาห์ละ แมฮ่ ่องสอน มสี หกรณเ์ ป็นแหล่ง ๑ ครั้ง เรยี นรู้โดยการปฏบิ ตั จิ รงิ รจู้ ัก 2) สำรวจ ข้อมูลความต้องการ พงึ่ ตนเอง มกี ารวางแผนในการ สินค้า และจัดการซือ้ สนิ ค้าท่ีมี ใช้จ่าย และการลงทนุ มีความ ประโยชน์ต่อนกั เรยี น เดือนละ รับผดิ ชอบ ซ่ือสัตย์สจุ ริต ๑ คร้งั ชว่ ยเหลอื ซงึ่ กันและกนั ไดซ้ ื้อ 3) จัดทำบนั ทึกรายการรบั - จา่ ย สินค้าราคาถูกและคณุ ภาพดี ในสมดุ บญั ชี รบั – จ่าย จำนวน ๑ เลม่ 32
งาน/กิจกรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ ผ้รู ับผิดชอบ งบบุคลากร งบดำเนินงาน เชิงปรมิ าณ เชงิ คณุ ภาพ งบลงทุน นายฆอ้ งชยั กนั ยวิมล -- - นายสหรัฐ สุมาลี 4) จัดการประชมุ สามญั ใหญ่ -- - นางสาวนารีรัตน์ สรา้ งสรรค์ สหกรณโ์ รงเรียน ภาคเรยี นละ -- - - 1,000 - นายเสกสรร ใจประเสรฐิ ๑ ครัง้ - 1,000 - รวม 11. งานคณะกรรมการ 1) จัดการประชมุ คณะกรรมการ 1) มีการตดิ ต่อประสานงาน สถานศึกษา สถานศึกษาขัน้ พื้นฐานอย่างน้อย คณะกรรมการการศึกษาขนั้ ภาคเรยี นละ พื้นฐานอยา่ งต่อเนื่อง ๑ ครัง้ 2) คณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน พืน้ ฐาน รวม 12. งานโสตทัศนปู กรณ์ ๑) นกั เรยี น 541 คน ๑) ครูและนักเรียนได้รับบริการ ใช้งานวสั ดุครุภัณฑง์ าน โสตทศั นูปกรณใ์ นกิจกรรม ต่าง ๆ ของโรงเรียน ๒) ครูและนกั เรยี นมวี ัสดุส่ือ โสตทศั นปู กรณ์ทที่ ันสมัยและใช้ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมและเพยี งพอ รวม 33
งาน/กิจกรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ งบลงทนุ ผูร้ ับผิดชอบ เชงิ ปริมาณ งบบุคลากร งบดำเนินงาน - นายณชั พสิ ิษฐ์ ไชยเสน เชิงคณุ ภาพ 13. งานประชาสัมพนั ธ์ ๑) นกั เรยี น 541 คน - 1,320 - นางสาวจิราภรณ์ 1) นักเรียน ผปู้ กครอง ครู - บญุ เรอื นยา บคุ ลากร และชมุ ชน ไดร้ ับ - 1,320 - นางสาวอรณชั ชา ขา่ วสารข้อมูล กิจกรรมภายใน -- - เจริญสขุ และภายนอกโรงเรยี น และ -- ผลงานของโรงเรยี น -- - นายเอกชัย แสงโรจน์ - นายฆ้องชัย กนั ยวิมล รวม -- -- - 14. งานปฏคิ ม 150,000 -- 15. งานควบคุมภายใน 1) ครแู ละบคุ ลากรกลมุ่ บริหาร 1) ครูและบคุ ลากรกลุ่มบรหิ าร - 158,210 ทั่วไป จำนวน 17 คน ท่ัวไป มคี วามเข้าใจในระบบการ 16. งานนิเทศ กำกับ 2) พนกั งานบริการและคนงาน ควบคุมภายใน และสามารถ ติดตาม ตรวจสอบการ จำนวน 11 คน รายงานประเมินผลการควบคุม ปฏิบตั งิ าน 3) เอกสารควบคมุ ภายใน จำนวน ภายในไดท้ ันตามกำหนดเวลา 1 ฉบบั 1) การปฏบิ ตั งิ านภายในกลุ่ม รวม บริหารท่วั ไปมกี ารปฏิบตั ิงานท่ี เป็นระบบ ชัดเจน 1) จดั ทำสรปุ อภปิ รายผลการ นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การปฏบิ ตั ิงานงานละ 1 เล่มต่อ ภาคเรียน รวม รวมท้ังสิ้น 34
๔) กลุ่มบริหารบุคคล งาน/กิจกรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ งบดำเนนิ งาน นางสาวนษิ ฐา เชิงปริมาณ เชงิ คุณภาพ งบบุคลากร งบลงทุน จฑุ าศิลป์ - 30,000 - นางสาวจฑุ ารตั น์ ๑. งานสำงานกลุ่ม 1) มีสมดุ ลงทะเบียนรับหนงั สือ 1) เอกสารงานสำนักงาน ปฐมสกลุ ไพร - 30,000 - นางสาวอารยา บริหารงานบคุ คล ราชการจำนวน ๑ เล่ม จดั เกบ็ อย่างเปน็ ระบบสะดวก - - - สุขาวรรณ 2) มีสมดุ ลงทะเบียนนำสง่ รวดเรว็ ในการใช้งาน นางสายใจ ต่าดู จำนวน ๑ เลม่ นายปรียะพงษ์ นาวนั 3) มีบันทกึ การประชุมกลมุ่ บรหิ ารบุคคล ตลอดปีการศึกษา จำนวน 1 แฟม้ 4) แฟม้ สำหรบั เกบ็ หนงั สือ ราชการ จำนวน ๑ แฟ้ม 5) แฟม้ สำหรับเกบ็ คฉู่ บับหนงั สอื นำส่ง จำนวน ๑ แฟ้ม 6) จัดซอื้ วัสดอุ ปุ กรณส์ ำนักงาน ให้เพียงพอต่อการใช้งาน 7) มบี ัญชคี วบคมุ การใชพ้ ัสดุ และอปุ กรณ์ของกลุม่ บริหารงาน บคุ คลจำนวน 1 เลม่ รวม ๒. งานอตั รากำลงั และ 1) มขี อ้ มลู สารสนเทศดา้ น 1) โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ สรรหา บรรจุแตง่ ต้ัง อตั รากำลังข้าราชการครูและ แม่ฮ่องสอน มีการบริหาร โอนย้าย บคุ ลากรทางการศึกษา จำนวน อัตรากำลังทีเ่ ป็นระบบ 1 เล่ม มีการจดั การข้อมลู สารสนเทศ 35
งาน/กิจกรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ งบดำเนนิ งาน นายปรียะพงษ์ นาวนั 3. งานแผนงานและ เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ งบบุคลากร งบลงทนุ จัดระบบภายใน - - - 2) มีข้อมูลสารสนเทศเกย่ี วกับ ด้านอัตรากำลงั ให้ถูกต้องและ - - - การดำเนินการสรรหา บรรจุ เป็นปจั จุบัน รองรับการ - - - แตง่ ต้งั โอน ย้าย ของขา้ ราชการ จดั การเรยี นการสอนและการ จำนวน 1 เล่ม ปฏิบตั ิงาน รวม 1) จดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ าร 1) กลุ่มบริหารงานบุคคล มี กลมุ่ งานและปฏิทนิ ปฏบิ ัติงาน กระบวนการการทำงานท่เี ป็น ของกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล ระบบ เป็นไปตามแผนและ จำนวน 1 เล่ม ปฏทิ ินการดำเนินงานเป็น ๒) รวบรวมและรายงานผลการ ปัจจบุ นั และตรวจสอบได้ ดำเนนิ งานกิจกรรมและโครงการ ของกล่มุ บรกิ ารบุคคล จำนวน 1 เลม่ ๓) กำหนดมาตรฐานและวิธกี าร ปอ้ งกันความเสย่ี งในการ ดำเนนิ งาน 7 งาน ๔) ประสานงานกับบุคลากร ภายในกล่มุ บรหิ ารงานบุคคล จำนวน 5 คน รวม 36
งาน/กจิ กรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ ๔. งานทะเบียนประวัติ งบดำเนนิ งาน นางสายใจ ต่าดู และบำเหน็จความดี เชิงปริมาณ เชงิ คณุ ภาพ งบบุคลากร งบลงทนุ นางสาวนิษฐา ความชอบ - - - จุฑาศิลป์ ๑) มีขอ้ มูลสารสนเทศเก่ียวกับ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ๕. งานวนิ ยั และนติ กิ าร ทะเบยี นประวัตขิ องข้าราชการครู แมฮ่ ่องสอน การดำเนินงาน - - - นางสายใจ ตา่ ดู - - - และบคุ ลากรทางการศึกษา งานทะเบยี นและความดี จำนวน 69 แฟ้ม ความชอบ เปน็ ระบบความ ๒) ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ถกู ต้อง เทย่ี งตรง และ และเลื่อนเงินเดอื นขา้ ราชการครู สามารถตรวจสอบได้ จำนวน 30 คน ๓) ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน และการเล่ือนเงนิ เดือน ลูกจ้างประจำ จำนวน 5 คน ๔) ประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน และการเลื่อนเงนิ เดือนพนักงาน ราชการ ตำแหน่งครูผสู้ อน จำนวน 9 คน รวม ๑) ครู และบุคลากรฯ จำนวน ๑) ครแู ละบคุ ลากรได้รับ ๖9 คน มีความรู้เก่ยี วกบั ความร้เู ก่ียวกบั กฎหมาย กฎหมายระเบยี บของทางราชการ ระเบียบของทางราชการ กำหนดสามารถเป็นแบบอย่างทีด่ ี กำหนด และปฏบิ ตั ิตน เป็นผู้ มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและ จรรยาบรรณวชิ าชพี ครแู ละ สามารถเปน็ แบบอย่างทด่ี ไี ด้ 37
งาน/กจิ กรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ ผ้รู ับผดิ ชอบ ๖. งานพฒั นาบุคลากร งบดำเนินงาน นางสายใจ ตา่ ดู เชงิ ปรมิ าณ เชงิ คณุ ภาพ งบบุคลากร งบลงทนุ นางสาวนษิ ฐา ๗. งานสวัสดกิ าร - - - จุฑาศิลป์ บุคลากร รวม - - - นางสาวนิษฐา ๑) ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ๑) ครูและบคุ ลากรทางการ - - - จุฑาศิลป์ จำนวน 6๙ คน เข้าร่วมการ ศกึ ษา โรงเรียนศึกษา - - - อบรมตามท่ีโรงเรียนศึกษา- สงเคราะห์แม่ฮ่องสอน มี - - - สงเคราะห์แมฮ่ ่องสอนจดั ขน้ึ ความร้คู วามเข้าใจ ๒) มีแฟ้มสะสมผลงานของครู สามารถปฏิบัติหนา้ ที่ไดอ้ ย่าง จำนวน 50 แฟ้ม มปี ระสทิ ธิภาพมีจรรยาบรรณ วชิ าชีพ และเข้าร่วมการอบรม เพ่อื พฒั นาตนเองตามที่ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ แม่ฮ่องสอนจดั ข้ึน รวม ๑) ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ๑) ครูและบุคลากรของ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ แม่ฮ่องสอน จำนวน 6๙ คน มี แมฮ่ ่องสอน ได้รับขวัญ ขวั ญกำลงั ใจในการปฏบิ ตั ิงาน กำลังใจ และการสนบั สนุนให้ ๒) มขี ้อมลู สารสนเทศของ มีกิจกรรมท่ีก่อใหเ้ กิดความสขุ บคุ ลากร จำนวน 1 แฟ้ม อันจะส่งผลให้โรงเรยี นฯ กลายเปน็ องค์กรแห่งความสุข รวม 38
งาน/กิจกรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ ผู้รับผิดชอบ งบดำเนนิ งาน นางสายใจ ตา่ ดู ๘. งานนเิ ทศ กำกบั เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ งบบุคลากร งบลงทนุ ติดตาม ตรวจสอบ - - - ๑) กำกับติดตามการปฏิบัติงาน ๑) ครูและบุคลากรทางการ - - - ของครูและบุคลากร ในกล่มุ ศึกษา มีความรู้ความเขา้ ใจ - 30,000 - บริหารบคุ คล จำนวน 5 คน สามารถ ปฏิบตั ิหน้าทไี่ ด้อย่าง มปี ระสิทธิภาพมีจรรยาบรรณ วิชาชีพ รวม รวมทั้งสน้ิ ๕) กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ งาน/กจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ ผ้รู บั ผดิ ชอบ งบดำเนนิ งาน นางจิตราพร เชงิ ปรมิ าณ เชิงคุณภาพ งบบคุ ลากร งบลงทุน มณีสกลุ ชัย - ๕,๐๐๐ - ๑. งานสำนักงาน ๑) ทะเบยี นรบั หนังสือราชการ ๑) เอกสารงานสำนักงานถูก นางวณฐั หอมนาน - ๕,๐๐๐ - นางสาวอาพันธช์ นก จำนวน 1 เล่ม จดั เกบ็ อย่างเปน็ ระบบ - ๕,๐๐๐ - ศริ ิงาม ๒) ทะเบียนรับหนังสือราชการ สะดวกรวดเร็ว จำนวน 1 เล่ม ในการใช้งาน ๓) แฟม้ เอกสารรบั -สง่ จำนวน ๔ แฟม้ รวม ๒. งานนโยบายและแผน ๑) ประชุมจัดทำแผนปฏิบตั ิการ ๑) งาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปี ๒๕๖๔ จำนวน ๑ คร้ัง/ ทกุ กลมุ่ บริหารงาน บรรลุตาม ปีการศึกษา วัตถปุ ระสงค์ และใช้ 39
งาน/กจิ กรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ ผูร้ บั ผดิ ชอบ ๓. งานบริหารการเงนิ งบดำเนนิ งาน นางกชพร มนตบ์ ปุ ผา เชงิ ปริมาณ เชงิ คณุ ภาพ งบบคุ ลากร งบลงทุน ๕,๐๐๐ ๒) แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี งบประมาณเปน็ ไปตามท่ี - ๕,๐๐๐ - - - จำนวน ๑ เล่ม กำหนดไวใ้ นแผนปฏบิ ตั ิการ ๓) รายงานสรุปผลการปฎิบตั ิงาน ประจำปี ๒๕๖๔ ตามแผนปฏบิ ัติ จำนวน 5 เลม่ รวม ๑) ทะเบยี นคุมใบเสรจ็ รับเงนิ ๑) ผูป้ ฏบิ ตั ิงานมีความรู้ จำนวน 1 เลม่ ความเข้าใจในระเบียบท่ี ๒) ทะเบียนคุมเงินงบประมาณ เก่ยี วข้องกบั การปฏิบัตงิ าน จำนวน 1 เลม่ สามารถปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ ง ๓) ทะเบยี นคุมเงินฝากคลัง ถกู ต้องทนั ตามกำหนดเวลา จำนวน 1 เล่ม ทำใหก้ ารบริหารการเงินและ ๔) รายงานเงินคงเหลือประจำวนั งบประมาณเปน็ ไปอยา่ งมี จำนวน 1 เล่ม ประสทิ ธภิ าพ ๕) แฟ้มระเบียบการเงิน จำนวน 1 แฟ้ม ๖) แฟม้ เอกสารทางการเงนิ จำนวน ๒ แฟม้ ๗) ทะเบียนคุมจา่ ยเชค็ จำนวน ๔ เลม่ ๘) ทะเบยี นคุมการใช้ Token key จำนวน 1 เล่ม 40
งาน/กิจกรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ ผรู้ ับผิดชอบ ๔. งานบรหิ ารบญั ชี งบบคุ ลากร งบดำเนนิ งาน เชงิ ปริมาณ เชิงคุณภาพ งบลงทุน นางวณัฐ หอมนาน - ๕,๐๐๐ - นายศุภษร วงษร์ ุณ ๙) ทะเบียนคุมลูกหนี้เงนิ ยืม - ๕,๐๐๐ - นางสาวพรทิพย์ นุชจโิ น จำนวน 1 เล่ม - ๕,๐๐๐ - รวม ๑) ทะเบยี นคุมใบเสร็จรับเงนิ ๑) ผปู้ ฏิบัตงิ านมีความรู้ จำนวน 1 เล่ม ความเขา้ ใจในระเบียบที่ ๒) ทะเบียนคุมเงินงบประมาณ เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงาน จำนวน 1 เล่ม สามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ ง ๓) ทะเบียนคุมเงินฝากคลัง ถกู ต้องทนั ตามกำหนดเวลา จำนวน 1 เล่ม ทำใหก้ ารบรหิ ารการเงินและ ๔) รายงานเงนิ คงเหลือประจำวนั งบประมาณเปน็ ไปอย่างมี จำนวน 1 เลม่ ประสทิ ธิภาพ ๕) แฟ้มระเบยี บการเงนิ จำนวน 1 แฟ้ม ๖) แฟ้มเอกสารทางการเงนิ จำนวน ๒ แฟม้ ๗) ทะเบียนคุมจา่ ยเชค็ จำนวน ๔ เล่ม ๘) ทะเบียนคุมการใช้ Token key จำนวน 1 เลม่ รวม 41
งาน/กิจกรรม เป้าหมาย เงินงบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ๕. งานบรหิ ารพัสดแุ ละ งบดำเนินงาน นางสาวสร้อยทพิ ย์ สนิ ทรพั ย์ เชงิ ปรมิ าณ เชิงคณุ ภาพ งบบุคลากร งบลงทุน ทิพวรรณ์ - ๕,๐๐๐ - นางสาวพมิ พ์อารยา ๖. งานควบคมุ ภายใน 1) ทะเบยี นครุภัณฑ์ และ ๑) มีการลงทะเบยี นครภุ ณั ฑ์ ดวงจันทร์ - ๕,๐๐๐ - นางสาวณฐั ลภสั ๗. งานสารสนเทศ/SET ทะเบยี นคุมวัสดจุ ำนวน ๑๐ เลม่ เป็นระบบถูกตอ้ งครบถ้วน - ๕,๐๐๐ - คำปดิ ทอง ๒) สมดุ คุม/การเก็บรักษาพสั ดุ และเปน็ ปจั จุบนั และการเบิกจา่ ยพสั ดแุ ละการยืม ๒) การจัดซอ้ื -จดั จ้าง ถูกต้อง - ๕,๐๐๐ - นางวณัฐ หอมนาน - ๕,๐๐๐ - พัสดุ จำนวน ๑ แฟม้ ตามระบบ รวดเร็ว นางจริ าภรณ์ แสนปวน ๓) รายงานการตรวจสอบพัสดุ ๓) การปฏิบัตงิ านพสั ดุถกู ต้อง นายณฐั พสิ ิษฐ์ ไชยเสน ประจำปี จำนวน ๑ แฟ้ม ตามระเบยี บการเบิกจ่ายพสั ดุ ๔) ทะเบยี นการขอใชร้ าชพัสดุ และการรื้อถอนอาคารและสิ่ง ปลูกสรา้ ง จำนวน ๑ เลม่ รวม ๑) ผบู้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรใน ผบู้ ริหาร ครแู ละบคุ ลากรใน โรงเรยี นจำนวน ๖๐ คน โรงเรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ ๒) เอกสารควบคมุ ภายใน ในระบบการควบคมุ ภายใน จำนวน ๕ กลมุ่ งาน และสามารถรายงาน ๓) นเิ ทศ ติดตาม จำนวน ๔ ประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน คร้ัง/ปีงบประมาณ ได้ทนั ตามกำหนดเวลา ๔) เอกสารรายงานควบคมุ ภายใน จำนวน ๑ แฟ้ม รวม ๑) ผู้บริหาร ครแู ละบคุ ลากรใน ๑) โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ โรงเรียน จำนวน 49 คน แมฮ่ ่องสอนมีสารสนเทศที่มี 42
งาน/กิจกรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ งบดำเนินงาน ๘. งานนเิ ทศ กำกบั เชิงปรมิ าณ เชิงคุณภาพ งบบคุ ลากร งบลงทุน นายสวสั ดิ์ ทวานุรักษ์ ติดตาม ตรวจสอบ - นางวณัฐ หอมนาน ๒) เอกสารข้อมลู สารสนเทศของ ข้อมูลในด้าน ต่าง ๆ ท่ีเป็น - - - ๕,๐๐๐ - สถานศึกษา จำนวน 1 เล่ม ปัจจุบันสามารถ นำ - ๓๕,๐๐๐ - ข้อมลู ไปวิเคราะห์ เพื่อพัฒนา งาน โครงการ กจิ กรรม การ ประชาสัมพันธ์ ของโรงเรียน ให้ดีย่งิ ขึ้น ๑) กำกับติดตามการปฏบิ ตั ิงาน ๑) ครแู ละบุคลากรทางการ ของครแู ละบุคลากร ในกลุม่ ศึกษา มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ บริหารงบประมาณ สามารถ ปฏิบตั ิหน้าทีไ่ ดอ้ ย่าง มปี ระสิทธภิ าพมีจรรยาบรรณ วิชาชพี รวม รวมท้ังสน้ิ 43
๓.๒.๒ รายจา่ ยพัฒนาคณุ ภาพตามกลยุทธ์ กลยุทธท์ ี่ ๑ พัฒนาครแู ละบุคลากร โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย เงินงบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ งบบคุ ลากร งบดำเนนิ งาน นายปรียะพงษ์ นาวนั ๑. โครงการ Smart เชิงปรมิ าณ เชิงคณุ ภาพ งบลงทุน teacher of - 30,0000 - Suksasongkroh ๑) ครแู ละบคุ ลากรโรงเรียน ๑) โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ Maehongson family - 30,0000 - ศกึ ษาสงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน แมฮ่ ่องสอน มบี คุ ลากรที่ - 30,0000 - เขา้ รว่ มโครงการ Smart สามารถเปน็ Smart teacher จำนวน 69 คน teacher ในแตล่ ะดา้ น และ ๒) มบี ุคลากรท่สี ามารถเปน็ มีประสบการณก์ ารทำงาน Smart teacher ในแต่ละดา้ น จากการศึกษาดูงานจาก จำนวน 6 คน หน่วยงานอนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง ๓) พัฒนาบุคลากรดว้ ย การศกึ ษาดูงาน ภาคเรียนละ 1 คร้งั รวม รวมท้ังสนิ้ 44
กลยทุ ธท์ ่ี ๒ พฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย เงนิ งบประมาณ ผู้รับผดิ ชอบ โครงการพฒั นาคณุ ภาพ เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทนุ นางสาวรตั ณี ผู้เรยี น 594,000 28,000 - คำสงั วาลย์ นักเรยี น จำนวน ๕๕๖ คน 1) นกั เรยี นท่เี ข้าใหม่ได้รับ การปรับความรู้พ้นื ฐาน 5 กลมุ่ สาระการเรียนรหู้ ลกั พร้อมเข้าเรียนในระดบั ชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 และ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 2) นกั เรยี นโรงเรยี นศกึ ษา สงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน ร้อยละ 80 มผี ลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นสูงขนึ้ 3) นักเรยี นโรงเรียนศึกษา- สงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 รอ้ ยละ 80 รักและเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง และสามารถ แสดงออกอยา่ งสร้างสรรค์ 4) นกั เรยี นระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3 และ นกั เรยี นที่ไมผ่ า่ นคัดกรอง 45
โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย เงนิ งบประมาณ ผ้รู ับผิดชอบ งบบคุ ลากร งบดำเนนิ งาน โครงการความเป็นเลิศทาง เชิงปรมิ าณ เชงิ คณุ ภาพ งบลงทนุ วิชาการ รอ้ ยละ 80 สามารถอา่ น ออกเขยี นได้ คดิ เลขเป็น เปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐาน การศกึ ษา 5) นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษา ปที ี่ 3 และมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ร้อยละ 80 มีความรแู้ ละ ทักษะทางด้านอาชีพ สามารถ นำไปประกอบ อาชพี ได้ รวม 594,000 28,000 - - 53,000 นกั เรยี น จำนวน ๔๓๕ คน ๑) นักเรยี นกล่มุ สนใจด้าน - นางพิชญส์ ิตา ภัทรเสถียรกติ ต์ิ สุนทรยี ภาพ และกลุ่มสนใจ กีฬาตะกร้อลอดห่วงได้เข้า ร่วมประกวดแข่งขนั ในระดบั ตา่ ง ๆ ๒) นกั เรียนกลุม่ สนใจด้าน สุนทรียภาพและกล่มุ สนใจ ดา้ นกฬี าตะกรอ้ ลอดหว่ ง ไดร้ บั สทิ ธิแ์ ละโควตาใน การศกึ ษาต่อประเภทผู้มี ความสามารถพิเศษ 46
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135