Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาและเปรียบเทียบการทำครีมทามือจากมะนาวและว่านหางจระเข้

การศึกษาและเปรียบเทียบการทำครีมทามือจากมะนาวและว่านหางจระเข้

Published by นายณัฐดนนท์ ใบยา, 2020-11-08 17:17:15

Description: การศึกษาและเปรียบเทียบการทำครีมทามือจากมะนาวและว่านหางจระเข้

Search

Read the Text Version

การศึกษาและเปรียบเทียบการทาครีมทามอื จากมะนาวและวา่ นหางจระเข้ คณะผจู้ ัดทา 1.นาย ณฐั ดนนท์ ใบยา เลขท่ี2 เลขท่ี 9 2.นางสาว กรทิพย์ หาญตะ๊ เลขที่12 เลขท่ี18 3.นางสาว ณชั ชา มีบญุ 4.นางสาว รวงอรุณ หาญยทุ ธ ครูทปี่ รึกษา ครดู ารงค์ คนั ธะเรศย์ ครอู รณี ผาแกว้ เอกสารฉบบั นี้เปน็ ส่วนหนึ่งของการศึกษาคน้ คว้าและสร้างองคค์ วามรู้ (IS1) โรงเรียนปวั อาเภอปวั จังหวัดนา่ น สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 37 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563

2

3 การศึกษาและเปรียบเทียบการทาครมี ทามอื จากมะนาวและวา่ นหางจระเข้ คณะผจู้ ดั ทา 1.นาย ณฐั ดนนท์ ใบยา เลขท่ี2 เลขที่ 9 2.นางสาว กรทพิ ย์ หาญตะ๊ เลขที่12 เลขที่18 3.นางสาว ณชั ชา มีบุญ 4.นางสาว รวงอรุณ หาญยุทธ ครูทีป่ รกึ ษา ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ ครอู รณี ผาแก้ว เอกสารฉบบั น้ีเป็นส่วนหนึ่งของการศกึ ษาคน้ ควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ (IS1) โรงเรียนปัว อาเภอปวั จังหวัดน่าน สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 37 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563

4 ชอ่ื เร่อื ง : การศึกษาและเรียบเทยี บการทาครมี ทามือจากมะนาวและว่านหางจระเข้ ช่ือผู้จัดทำ : 1.นาย ณัฐดนนท์ ใบยา เลขท2ี่ 2.นางสาว กรทพิ ย์ หาญตะ๊ เลขท่ี 9 3.นางสาว ณชั ชา มบี ญุ เลขที1่ 2 4.นางสาว รวงอรณุ หาญยทุ ธ เลขที1่ 8 ทีป่ รึกษำ : ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ ครอู รณี ผาแก้ว ปกี ำรศกึ ษำ : 2563 บทคดั ยอ่ โครงงานเร่อื ง การศึกษาและเปรียบเทยี บการทาครีมทามือจากมะนาวและวา่ นหางจระเข้นี้ จดั ทาขึน้ โดย มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือเปรียบเทยี บครีมทามือท่ีทามาจากมะนาวและวา่ นหางจระเข้ โดยวดั การความพึงพอใจของผใู้ ชง้ าน มีผลดังนี้ จากจานวนผ้ใู ชง้ านทง้ั หมด 37 คน พบว่า มผี ูท้ ี่ชอบครมี ทา มอื จาก มะนาวจานวน 15 คน คิดเปน็ ร้อยละ 40.54 มผี ้ทู ่ชี อบครมี ทามือจากว่านหางจระเข้จานวน 16 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 43.24 และมีผทู้ ี่ชอบครีมทามือจากมะนาวและวา่ นหางจระเขจ้ าวน 6 คน คิด เปน็ ร้อยละ 16.22 จากการศึกษาเปรียบเทยี บครมี ทามือจากมะนาวและวา่ นหางจระเข้ พบวา่ ครมี ทามือจาก ว่านหางจระเข้ทาใหม้ ือไม่แห้ง นมุ่ ชมุ่ ชน้ื มกี ลน่ิ หอม มากกวา่ ครมี ทามือจากมะนาว ซ่ึงสอดคล้องกบั สมมติฐาน ทราบไดจ้ ากจานวนผู้ใช้งานทช่ี อบครีมทามือจากวา่ นหางจระเข้จานวน 16 คน ซึ่งคดิ เปน็ ร้อยละ 43.24

5 กิตติกรรมประกำศ โครงงานคอมพิวเตอร์ เร่อื ง การศึกษาและเปรียบเทียบการทาครีมทามือจากมะนาวและว่าน หางจระเขน้ นั้ สาเรจ็ ข้ึนไดโ้ ดยไดร้ บั ความช่วยเหลอื อย่างดยี ิ่งจากครดู ารงค์ คันธะเรศย์ และครอู รณี ผาแกว้ คุณครูทีป่ รกึ ษาโครงงาน ที่ไดใ้ ห้คาเสนอแนะ แนวคดิ และให้ความรู้ในการจัดทาโครงงาน คอมพวิ เตอร์ ตลอดจนการแก้ไขข้อบกพร่องตา่ งๆมาโดยตลอด จนโครงงานนเ้ี สรจ็ สมบรู ณ์ ผู้ศึกษาจึง ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูง คณะผู้จัดทาหวงั เป็นอย่างย่งิ โครงงานคอมพิวเตอร์ เร่ือง การศึกษาและเปรียบเทยี บการทา ครมี ทามือจากมะนาวและวา่ นหางจระเข้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นควา้ และเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผคู้ นทีส่ นใจต่อไป นาย ณัฐดนนท์ ใบยา นางสาว กรทพิ ย์ หาญต๊ะ นางสาว ณชั ชา มบี ญุ นางสาว รวงอรุณ หาญยทุ ธ

สำรบญั 6 เรอ่ื ง หน้ำ บทคดั ย่อ 4 กิตตกิ รรมประกาศ 5 สารบัญ 6 บทนา 7 บทที่ 2 เอกสารท่ีเกีย่ วข้อง 10 บทที่ 3 วิธีการดาเนนิ งาน 14 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 16 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนนิ งาน 18 แหล่งอ้างองิ 19 ภาคผนวก 20

7 บทนำ ท่มี ำและควำมสำคญั เนอ่ื งจากในปัจจบุ นั เป็นชว่ งวิกฤตการแพร่ระบาดโควิด 19 ทวั่ ทัง้ ประเทศไทย ทางรฐั บาลจงึ ได้มีมาตรการให้สวมหนา้ กากอนามยั เม่ือเวน้ ระยะหา่ งไม่ได้ และใหล้ ้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์หรือ หม่ันลา้ งมือบ่อยๆ ซ่ึงการลา้ งมอื จากเจลแอลกอฮอล์น้นั มีกลน่ิ แอลกอฮอลท์ ฉี่ นุ และกาารลา้ งมือ บ่อยๆนนั้ จะส่งผลให้ผวิ ของเราเกิดการแห้ง ซ่ึงเกิดจากการสญู เสยี นา้ ในร่างกาย เราจงึ ตอ้ งแกไ้ ข ดว้ ยการทาครมี หรือโลช่นั เพื่อปอ้ งกนั ผวิ ของเราไมใ่ ห้สูญเสียน้ามากจนเกินไป โดยเฉพาะผิวบรเิ วณมือ ของเราท่ีต้องหยบิ จบั สารพัดมหี ลายต่อหลายครัง้ ทคี่ รีมหรือโลชนั่ ที่เราทา ละลายไปกับนา้ ที่เราใช้ ล้างมอื หรือทางานทต่ี อ้ งใช้มือไปสัมผัสกับนา้ ทาใหจ้ าเปน็ ตอ้ งทาซ้าบอ่ ยๆบางคนถงึ กบั หงดุ หงดิ กับ ปญั หาจกุ จกิ กวนใจเพยี งเล็กน้อยนี้ ครมี หรือโลชน่ั ทมี่ คี ุณภาพด(ี กนั น้าได)้ ก็มีราคาแพงลบิ ลิ่วทาให้ บางคนท่ีมฐี านะปานกลางหรือยากจนไม่สามารถซ้ือหามาใชไ้ ด้ จากทก่ี ลา่ วมาขา้ งต้น กล่มุ ของขา้ พเจ้าจึงมีความคดิ ว่าน่าจะมีวิธีแกป้ ัญหาน้ีได้ จึงชว่ ยกันระดม ความคดิ และสืบคน้ หาข้อมูลทเ่ี ก่ียวข้องจนกระทัง่ ได้พบวา่ มะนาวและว่านหางจระเข้สามารถนามาใช้ แก้ปญั หาได้ เนอ่ื งจากมะนาวและว่านหางจระเขน้ ั้นมีคุณสมบตั ิลดการแหง้ แตกของผิว และชว่ ยใหผ้ วิ นุ่มชุ่มชืน้ ซง่ึ ถา้ เรานามาทาเป็นครีมทามือก็ชว่ ยลดปญั หาต่างๆ อาทเิ ชน่ ลดการแหง้ แตกของมือ ช่วยให้ผวิ นุ่มช่มุ ชืน้ และช่วยประหยัดคา่ ใช้จ่ายไดม้ ากข้ึน ถ้าไม่ทาโครงงานนี้กลมุ่ ของข้าพเจา้ ก็ จะตอ้ งไปซ้ือครีมทามือจากแบรนด์ต่างๆ ซง่ึ แบรนด์ตา่ งๆก็อาจจะมีราคาแพงและไม่ค่อยตอบโจทย์ เท่าไหร่ ดงั น้ันกลุม่ ของขา้ พเจ้าจึงได้ทาการเปรยี บเทยี บการทาครมี ทามอื จากมะนาวและวา่ นหางจระเข้ วา่ ครมี ทามือท่ีทาจากมะนาวและครมี ทามือทท่ี าจากว่านหาจระเข้ แบบไหนจะมปี ระสิทธภิ าพมากกวา่ กัน โดยอาจจะมีการแตง่ กลิ่นใหม้ คี วามหอมสดชื่น เพื่อลดการแห้งของมือและมีกลิน่ ท่สี บาย และ ตน้ ทนุ ต่า โดยเลอื กใช้วัตถุดบิ จากมะนาว และ ว่านหางจระเข้ ซึ่งถ้าคดิ เปรียบเทยี บดูให้ดีหากมะนาว และวา่ นหางจระเข้ช่วยแกป้ ัญหาได้กจ็ ะส่งผลให้คนเราไม่ต้องใชจ้ ่ายเงนิ แพงๆอีกต่อไป ซง่ึ สอดคลอง กบั โครงการในพระราชดารขิ องในหลวงที่ทา่ นทรงต้องการให้คนไทยพออยู่พอกินอยแู่ บบประหยัด และพึง่ ตนเองได้ วตั ถปุ ระสงค์กำรศกึ ษำคน้ ควำ้ 1.เพื่อเปรียบเทียบการทาครีมทามือจากมะนาวและว่านหางจระเข้ 2.เพอื่ ศกึ ษาคุณสมบัตขิ องมะนาวและว่านหางจระเข้ และส่วนประกอบสาคญั อืน่ ๆในทาครมี ทามือ 3.เพือ่ ศกึ ษาความพงึ พอใจการใชง้ านของผใู้ ช้งานทีม่ ตี ่อครีมทามือจากมะนาวและวา่ นหางจระเข้

8 สมมติฐำนกำรศึกษำค้นคว้ำ 1.ครีมทามือจากว่านหางจระเขจ้ ะทาให้มือไม่แหง้ นุม่ ชุ่มช้ืน มกี ลิ่นหอม กว่าครมี ทามือจากมะนาว 2.ผลความพงึ พอใจของผู้ใชง้ านครมี ทามือจากวา่ นหางจระเขอ้ ย่ใู นระดบั ท่ีมากกวา่ ครีมทามอื จาก มะนาว ขอบเขตกำรศึกษำค้นควำ้ 1.สถานทท่ี ศี่ ึกษาคน้ คว้า: โรงเรียนปัว อาเภอปัว จังหวัดนา่ น 2.ระยะเวลาท่ีศึกษาคน้ ควา้ : 1 สงิ หาคม 2563 – 31 ตุลาคม 2563 3.กลุม่ ตวั อยา่ งที่ศกึ ษาค้นคว้า: ครทู ป่ี รึกษาและนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5/1 จานวน 37 คน ตัวแปรที่ศกึ ษำคน้ คว้ำ กำรศึกษำตอนที่ 1 กำรทำครมี ทำมือจำกมะนำว และวำ่ นหำงจระเข้ ตวั แปรตน้ : ประเภทของสมุนไพร คือ มะนาว และวา่ นหางจระเข้ ตัวแปรตาม : มอื ไมแ่ ห้ง นุ่มชุ่มช้ืน มกี ลน่ิ หอม ตวั แปรควบคมุ : ปริมาณสมนุ ไพรท่ีใช้ ปริมาณเชยี ร์บัตเตอร์ อัลมอนด์ออยล์ นา้ มันมะพร้าว เนย ปริมาณสารแตง่ กล่นิ กำรศกึ ษำตอนที่ 2 ศึกษำควำมพึงพอใจของผใู้ ช้งำนท่มี ตี ่อครมี ทำมือจำกมะนำว และวำ่ นหำงจระเข้ ตวั แปรตน้ : แบบประเมินความพึงพอใจการใช้ครีมทามือจากวา่ นหางจระเข้และ มะนาว พิจารณาจากองคป์ ระกอบ 2 ดา้ น ดา้ นลักษณะทัว่ ไป และดา้ น ความพงึ พอใจ ตัวแปรตาม: ความพึงพอใจของผู้ใชง้ าน ตวั แปรควบคมุ : กลมุ่ ตวั อย่าง

9 นยิ ำมศัพท์เฉพำะ 1.ความพึงพอใจของผใู้ ชง้ าน หมายถงึ การวดั ระดบั ความรู้สกึ ชอบ ไมช่ อบตอ่ สิง่ ประดิษฐ์ โดยมรี ะดบั สเกลของความพึงพอใจ 5 ระดับ ได้แก่ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง น้อยและน้อยที่สดุ ผลที่คำดวำ่ จะได้รับ 1.รู้จักนาส่ิงใกลต้ ัวเรามาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนม์ ากยิ่งขนึ้ 2.สามารถนาหลักสูตรที่ได้ ไปพฒั นาหรอื ประยุกต์ครีมในด้านอ่ืนๆได้ตามความต้องการของผู้อา่ น 3.เป็นการประหยดั ค่าใชจ้ า่ ย 4.สามารถทาและนาไปสรา้ งรายไดเ้ สริมได้ 5.ไดเ้ รียนรู้ถงึ ประโยชน์ของมะนาวและวา่ นหางจระเข้และส่วนประกอบสาคญั อื่นๆในทาครีมทามือ

10 บทที่ 2 เอกสำรทเี่ ก่ียวข้อง ในการศึกษาและเปรียบเทยี บการทาครีมทามือจากมะนาวและว่านหางจระเข้ ผู้จัดทาได้ รวบรวมแนวคดิ ทฤษฎีและหลกั การตา่ งๆจากเอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ งดังต่อไปนี้ 2.1 สรรพคุณของว่ำนหำงจระเข้ จากคุณสมบตั ทิ างเภสัชวิทยา ซง่ึ เกดิ จากท่สี ารเคมีทกุ ชนิดท่ีมีอยู่ในว่านหางจระเขเ้ ขา้ ทางาน ร่วมกัน จงึ ให้สรรพคุณทางยาสูง เรยี กได้ว่าวา่ นหางจระเข้ คอื พืชมหัศจรรย(์ MiraclePlant) ซง่ึ สรรพคณุ ดังน้ี 1.เพ่มิ ภูมติ า้ นทาน(Strengthen the Immune System) เหมาะสาหรบั ผ้ทู ี่มีร่างกาย ออ่ นแอ ตดิ โรคงา่ ย ผทู้ ี่มสี ขุ ภาพไม่สมบูรณ์ ผ้ทู ่ีปว่ ยเปน็ โรคเอดส์ โรคที่เกดิ จากความเสื่อมต่างๆเช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดนั โลหิต 2.ตา้ นอนุมลู อิสระที่มีสรรพคุณสงู ช่วยชะลอความแก(่ Anti-aging) และต้านมะเรง็ 3.ช่วยในการป้องกนั และรักษาโรคมะเร็ง เช่น มะเรง็ ต่อมลูกหมาก มะเรง็ เต้านม มะเรง็ เมด็ โลหิตขาว จากการศึกษาในประเทศญ่ีปนุ่ พบวา่ เคร่ืองดื่มวา่ นหางจระเข้ทีม่ ีเจลช่วยป้องกนั การเกดิ โรคมะเรง็ ท่ี กระเพาะอาหารและลาไสใ้ หญ่ได้ 4.มคี ุณสมบัตติ ้านอาการอกั เสบและปวดบวม(Inflammatory) มีผลดีกบั ข้ออักเสบ รวมทั้ง ข้อรูมาตอยด์ 5.รักษาแผลตา่ งๆ กระตนุ้ การสร้างคอลลาเจน ทาให้แผลหายเรว็ และลบริว้ รอยความชรา บนผวิ หนงั แผลท่เี กดิ จากการนอนกด เชน่ กดทับแผล(Bedsore) โรคน้ากัดเท้า(Athlete,s Foot) ช่วย ให้แผลเป็นจางลง โรคเริม(Herpes) แผลทเ่ี กดิ จากรังสี นิยมมากทส่ี ุดคือ รกั ษาแผลไฟไหม้นา้ ร้อนลวก 6.ป้องกนั การเกดิ รอยแผลเป็นและวุ้นจากใบจะใช้ทาเพื่อปกปอ้ งผวิ จากแสงแดดแลว้ ยงั ชว่ ย รกั ษาอาการผวิ หนงั ไหม้จากแสงแดดและรักษาฝา้ 7.ชว่ ยยอ่ ยอาหาร ลดอาการท้องข้ึน ท้องเฟอ้ มีลมในท้อง ท้องอืด บารงุ สุขภาพในชอ่ ง เหงอื ก และฟัน ลดปญั หากล่ินปาก(Halitosis) รกั ษาแผลและการอักเสบในระบบทางเดินอาหาร 8.บรรเทาอาการท้องผูก 9.เพม่ิ โปรตนี ใหก้ ับร่างกาย เพราะวา่ นหางจระเข้มีกรดอมิโน (Amino Acid) ครบถว้ นถึง20 ชนิด (จากทั้งหมด22 ชนิด) รวมกรดอะมโิ นจาเปน็ ซงึ่ ร่างกายสรา้ งเองไมไ่ ด้ต้องได้รบั จากอาหาร

11 เท่านน้ั กรดอะมโิ นท่ีพบมากในเจลวา่ นหางจระเข้ phenylalanine,ได้แก่ valine, leucine และ isoleucine 10.ให้วิตามินท่มี ีคณุ ภาพเพราะได้มาจากธรรมชาติ และเปน็ วติ ามินรวมซึ่งผสมกันอยแู่ ธรรมชาตทิ าใหไ้ ม่มปี ฏิกิรยิ าขัดแยง้ 11.ใหเ้ กลือแรท่ ี่จนต่อร่างกายในสัดส่วนท่ีเหมาะสมาเปา็ คัญคือ เจอเมเนยี ม(Germanium) ซงึ่ เปน็ ชนิดอินทรีย์ มีสรรพคุณ เชน่ เดยี วกบั โสม(Ginseng)หรอื กระเทียมจอเมเนยี ม อินทรียน์ ้ีไม่ได้มี ในพืชทั่วไปพบได้ในกล่มุ สมุนไพรทเ่ี ปน็ ยาจีนทสี่ าคัญเทา่ น้ัน (สมศักดิ์ วรคามนิ , 2551) 2.2 สรรพคณุ ของมะนำว การวิจัยของ Agricultural and Food Chemistry เมือ่ ปี 1998 และผลการศึกษาจาก กระทรวงการเกษตร สหรฐั อเมรกิ า เมื่อปี 2001 พบวา่ ในมะนาวและเลมอนมสี ารลิโมนอยด์ สารท่มี ี สรรพคณุ ตา้ นการกลายพนั ธุ์และช่วยปอ้ งกนั ไมใ่ ห้มีสง่ิ ใดมากดั กินเซลลไ์ ด้ และจากการทดลองสารลิ โมนอยดใ์ นปริมาณ 100 ไมโครกรมั /มิลลลิ ติ ร ทาใหท้ ราบว่าสารตัวน้ีมฤี ทธ์ิยบั ยง้ั การเจริญเตบิ โตของ มะเร็งรังไข่ แถมยังชว่ ยยับย้ังเซลลม์ ะเร็งเตา้ นมได้ เราสามารถกินมะนาวแคเ่ พยี งวันละ 150 กรมั ก็ ชว่ ยลดความเสี่ยงโรคมะเร็งลงได้แลว้ ทว่าก็ไมจ่ าเปน็ ว่าจะต้องดื่มน้ามะนาวเพยี วๆ อย่างเดียว สามารถนาเปลอื กมะนาวไปตากแหง้ หรอื แปรรูปเปน็ บว๊ ย ไมก่ ็ทาเมนูมะนาวดองไว้รับประทานก็ได้ เชน่ กัน โดยมีสรรพคณุ ดงั นี้ 1.เปลอื กผล รสขม ช่วยขับลมไดด้ ี 2.น้าของผลมะนาวเปร้ยี วจัด เป็นยาขับเสมหะ 3.เมอ่ื เด็กหกลม้ หวั โน ใช้มะนาวผสมกับดนิ สอพองพอกบริเวณทีโ่ นจะทาใหเ้ ย็นและยุบเร็ว 4.เติมความชมุ่ ชื้นให้ร่างกาย 5.กระต้นุ การผลติ คอลลาเจน (DISTHAI 2017: Online) 2.3 สำรแตง่ กล่ิน สารแต่งกลิ่น หมายถึง สารเคมที เ่ี กิดในธรรมชาตแิ ละที่สังเคราะหข์ น้ึ สามารถทาใหก้ ลน่ิ และ รสของอาหารเป็นที่พอใจของผู้บริโภค แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.สารแต่งกล่นิ ตามธรรมชาติ ไดแ้ ก่ นา้ มนั หอมระเหยจากพืช น้าผลไม้บางชนดิ และนา้ สกดั จากพชื ที่มีกลนิ่ หอม และเคร่ืองเทศต่างๆ 1.1 เครื่องเทศ คือ ผลิตภณั ฑ์ธรรมชาติท่เี ปน็ พชื ผัก หรือส่วนสกดั ของพชื ผกั โดยมแี ต่สารที่ เป็นธรรมชาติเท่านน้ั นิยมนามาใช้เป็นประโยชน์ในการปรุงแต่งกลนิ่ รสอาหาร และผลติ ภณั ฑ์ตา่ งๆ

12 ส่วนของพริก พริกไทย กระวาน ลูกผกั ชี ลูกยห่ี ร่า ขิง ขม้ิน ผกั ชี อบเชย กานพลู หัวหอม กระเทียม เป็นต้น พืชผกั ทน่ี ามาใชเ้ ป็นเครือ่ งเทศ เช่น ผล เมล็ด ราก ใบ เปลอื ก ดอก และหวั 1.2 โอลิโอเรซนิ ทีไ่ ด้จากเครื่องเทศ แตล่ ะชนดิ นอกจากจะใหร้ สและกลนิ่ เฉพาะของ เคร่ืองเทศนั้นๆ แลว้ ยงั ใช้ปอ้ งกนั การเกดิ ออกซิเดชนั ของไขมนั ในอาหารบางชนดิ ทาใหอ้ าหารไม่ เหม็นหืน เชน่ สารเคอร์คิวมนิ (Curcumin) จากขมนิ้ นา้ มันย่ีหร่า อบเชย ขิง จันทนเ์ ทศ หรือใช้เป็น สารกันบดู เชน่ มสั ตารด์ หรือชว่ ยยับยัง้ การเจริญเติบโตของเชื้อจุลนิ ทรยี ์ เช่น กระเทยี ม น้ามันหอม ระเหยจากอบเชย จนั ทน์เทศ เปน็ ต้น 2.สารแตง่ กลิน่ สงั เคราะหข์ ้นึ ได้แก่ เอสเทอรช์ นิดต่างๆ ท่ีใช้แต่งกลิ่นเคร่ืองด่ืม นา้ เชื่อม ไอศกรมี ขนมและลูกกวาด ปริมาณท่ีอนุญาตใหใ้ ชอ้ ยู่ระหว่าง 1,000 – 4,000 มิลลิกรัมตอ่ กโิ ลกรัม ถา้ เปน็ เครื่องดืม่ ที่มแี อลกอฮอล์ ควรใส่ไม่เกนิ 500 มลิ ลิกรัมต่อกิโลกรัม เอสเทอร์ (Ester) เป็นผลติ ภณั ฑท์ ี่ไดจ้ ากปฏิกิริยาระหว่างกรดอินทรยี ์กับแอลกอฮอล์ เอส เทอร์ท่เี กิดในธรรมชาตจิ ะอยู่ในรปู ของไขมนั นา้ มนั และขผี้ ึง้ เอสเทอร์เปน็ สารประกอบท่ีมี ความสาคัญและพบได้โดยทวั่ ไปๆ ในชวี ิต เอสเทอรท์ ม่ี วลโมเลกลุ ตา่ ๆ มักจะมีกลนิ่ คล้ายๆ กลน่ิ ของ ผลไม้ ยงั พบ เอสเทอร์เหล่านี้เป็นสว่ นประกอบในผลไม้หลายๆ ชนิด และกล่ินท่เี ปน็ ลกั ษณะเฉพาะ ของผลไม้น้นั ๆ มักเกดิ จากเอสเทอร์ชนิดใดชนดิ หนึง่ เท่านั้น เชน่ เอทิลบิวทิเรต กลน่ิ คลา้ ย สับปะรด ไอโซเอมลิ แอซเี ตต กลนิ่ คลา้ ย กล้วยหอม ไอโซเอมลิ แอซเี ตต กล่ินคลา้ ย ลูกแพร์ เอทิลฟีนิลแอซีเตต กล่นิ คล้าย น้าผ้ึง ฯลฯ (ธรี พล สพุ รักษา :2550) ความปลอดภยั ในการใชส้ ารแตง่ กลิน่ สารเตมิ แต่งกล่นิ อาหารท่ีถกู นามาใช้ ทั้งในผลติ ภณั ฑ์เครอื่ งด่ืม, ผลิตภัณฑ์ลกู กวาด-ของหวาน, เค้ก, อาหารกง่ึ สาเรจ็ รูป เหลา่ นีม้ ีความสมั พนั ธอ์ ย่างใกล้ชิดกบั ชีวิตประจาวนั ของมนุษย์ รวมทั้งมีสว่ น ผลักดันต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศอีกด้วย ปัจจัยท่ีเกย่ี วข้องกบั ความปลอดภัยต่อการใชส้ ารเตมิ แตง่ กลิน่ อาหาร จะต้องถูกกาหนดมาจากรฐั บาลของประเทศนัน้ ๆ ในการออกเปน็ ข้อกฎหมายบงั คับ ไมว่ ่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา องั กฤษ ฝร่งั เศส เยอรมนั ญ่ีปนุ่ จนี ฮอลแลนด์ หรือ สวิตเซอรแ์ ลนด์ โดยเร่ิมจากสานกั งานคณะกรรมการอาหาร และยา (Food and Drug Administration, FDA) สมาคมผ้ผู ลติ สารเตมิ แตง่ อาหาร (Flavourings and Extrat Manufacturer's Association, FEMA) ข้อกาหนดความปลอดภยั ขององค์การนานาชาติวา่ ด้วย Generally Recognized As Safe (GRAS) เลขที่ 1-15 และวัตถุเติมแต่งกลนิ่ อาหาร (International Organization of the Flavour

13 Additive (CFA), ด้วยความรว่ มมอื จากองค์การอาหารและเกษตรกรรมโลก (FAO) กับองคก์ าร อนามัยโลก (WHO) ท่ีระบุในพันธะสัญญามาตรฐานอาหารระหวา่ งประเทศ (Codex Alimentary Commission) เหล่านต้ี า่ งถูกนามาใชเ้ พ่ือสรา้ งความปลอดภยั ต่อการใช้วตั ถุเติมแต่งกล่ินอาหาร กฎหมายและขอ้ บังคบั ต่างๆ จากองค์กรดงั กล่าวไดร้ บั การยอมรับและนาไปใช้ในระดบั นานาชาติ ซึ่งจะระบุวา่ วัตถเุ ติมแต่งกลนิ่ อาหารสกัดจากธรรมชาติชนิดใด ที่อยู่ใน \"Negative list\" และไมไ่ ด้มชี ่อื บรรจอุ ยู่ใน \"Positive list\" ของจาพวกสารเติมแต่งกล่ินอาหารเลยี นแบบธรรมชาติ วัตถุชนดิ น้นั ๆ จะถกู ห้ามใช้ในอาหารอยา่ งเด็ดขาด (นฤทธิ์ ใหญโ่ สมานัง: 2555)

14 บทท่ี 3 วิธกี ำรดำเนนิ งำน การดาเนินโครงงานเรื่อง การศกึ ษาและเปรียบเทียบการทาครมี ทามือจากมะนาวและวา่ น หางจระเข้ มจี ดุ มุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้าเพ่ือเปรียบเทยี บครมี ทามอื ทท่ี ามาจากมะนาวและว่าน หางจระเข้ โดยวดั การความพึงพอใจของผูใ้ ช้งาน โดยมรี ายละเอียดวิธีการดาเนินงาน ดงั นี้ กำรศึกษำตอนที่ 1 กำรทำครมี ทำมือจำกมะนำว และวำ่ นหำงจระเข้ วัสดุอุปกรณ์ทใ่ี ช้ 1.น้ามนั มะพรา้ ว 2 ช้อนโต๊ะ 2.เชยี ร์ซตั เตอร์ 1 ช้อนโต๊ะ 3.เนยโกโก้ 1 ช้อนโตะ๊ 4.อลั มอนด์ออยด์ 1 ชอ้ นชา 5.กลน่ิ มะลิ 1 ช้อนชา 6.ว่านหางจระเข้(ป่ันละเอยี ด) 1ชอ้ นโต๊ะ 7.น้ามะนาว 1 ชอ้ นโตะ๊ 8.ถ้วยและช้อนผสม วิธีทำครมี ทำมือ 1.นานา้ มันมะพร้าว 2 ช้อนโตะ๊ ใสใ่ นถ้วยผสม 2. ตักเชียรบ์ ัตเตอร์ 1 ช้อนโต๊ะลงในถว้ ยผสม 3. ตกั เนยโกโก้ 1 ชอ้ นโตะ๊ ลงในชามผสม 4. นาถ้วยผสมไปอนุ่ ไมโครเวฟเป็นเวลา 30 วนิ าที 5. หลงั นาถว้ ยผสมออกจากไมโครเวฟคนให้เนื้อผสมละลายเปน็ เน้ือเดียวกนั 6. ใสน่ า้ มนั อัลมอนด์ออย 1 ชอ้ นชาลงในถว้ ยผสม 7. ใสก่ ลนิ่ มะลิลงไปในถ้วยผสมผสม 1 ช้อนชา

15 8. ใส่น้ามะนาว 1 ชอ้ นโต๊ะลงในสว่ นผสมและคนให้เข้ากัน 9. นาของเหลวในถว้ ยผสมไปใส่บรรจุภณั ฑ์และท้ิงไวจ้ นกว่าจะเยน็ 10. ทาซ้าข้อ 1 ถึงขอ้ 9 โดยเปลีย่ นจากนา้ มะนาวเป็นวา่ นหางจระเข้ กำรศกึ ษำตอนท่ี 2 ศึกษำควำมพงึ พอใจของผ้ใู ช้งำนทมี่ ตี ่อครีมทำมือจำกมะนำว และวำ่ นหำง จระเข้ 1. ทาการคดั เลือกกล่มุ ประชากรโดยเลือกกล่มุ ตัวอยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง (purposive Sampling) ซ่ึงคอื ครูทป่ี รึกษาและนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5/1 จานวน 37 คน 2.กลุ่มตวั อย่างทาแบบประเมินความพงึ พอใจ แลว้ คดิ เป็นร้อยละ แสดงผลเปน็ แผนภมู ิแท่ง และแผนภูมิวงกลม

16 บทท่ี 4 ผลกำรดำเนนิ งำน การทาโครงงานคร้งั น้มี ีจดุ ประสงคเ์ พ่ือเพื่อเปรยี บเทยี บการทาครีมทามอื จากมะนาวและวา่ น หางจระเข้ เพ่ือศกึ ษาคุณสมบัตขิ องมะนาวและวา่ นหางจระเข้ และสว่ นประกอบสาคญั อ่ืนๆในทาครีม ทามือ เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจการใช้งานของผู้ใช้งานท่ีมีต่อครมี ทามือจากมะนาวและว่านหางจระเข้ ดงั นัน้ ผ้จู ดั ทาโครงงานจึงได้วเิ คราะห์และเสนอผลการวิเคราะห์โดยใช้กราฟประกอบคาบรรยาย โดย ผทู้ าโครงงานได้ทาการสารวจความพงึ พอใจของกลุ่มผทู้ ดลองตัวอยา่ งได้ออกมาเปน็ 3 สว่ น ดงั นี้ 1.ควำมพึงพอใจด้ำนลักษณะท่วั ไปของครีมทำมอื ผลการสารวจ 2.ควำมพึงพอใจด้ำนกำรใช้งำน ผลการสารวจ

17 3.ควำมพึงพอใจในผลติ ภณั ฑ์ ผลการสารวจ ผลความพงึ พอใจ ชอบท้ังสอง 16% ชอบครีมทำมือจำก มะนำว 41% ชอบครมี ทำมือจำกวำ่ นหำงจระเข้ 43% ชอบครมี ทามือจากมะนาว ชอบครมี ทามือจากวา่ นหางจระเข้ ชอบทง้ั สอง อภปิ รายผลการสารวจ 1.การสารวจความพงึ พอใจดา้ นลักษณะทั่วไปของครมี ทามือในด่านเนือ้ สัมผสั พบว่ากลมุ่ ผู้ทดลอง ตวั อย่างส่วนมากรสู้ ึกพอใจมาก รองลงมาคือพอใจมากที่สดุ และพอใจปานกลาง ตามลาดับ ในดา้ น กลิน่ ของครมี ทามือพบวา่ กล่มุ ผ้ทู ดลองตัวอยา่ งสว่ นมากรู้สึกพอใจมาก รองลงมาคือพอใจมากท่สี ุด และพอใจปานกลาง ตามลาดับ 2.การสารวจความพงึ พอใจด้านการใชง้ านพบวา่ กลุ่มผู้ทดลองตวั อยา่ งสว่ นมากชอบครมี ทามือจาก วา่ นหางจระเขม้ ากทสี่ ดุ และรองลงมาคอื ครีมทามอื จากมะนาว และชอบทงั้ สอง ตามลาดบั 3.การสารวจความพึงพอใจในผลิตภณั ฑ์คิดเปน็ เปอร์เซ็นต์ได้ดงั นชี้ อบครีมทามือจากว่านหางจระเข้ 43% ชอบครีมทามือจากมะนาว 41% และชอบทั้งสอง 16%

18 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลกำรศึกษำ จากการทาโครงงานพบวา่ จากการศึกษาเรอ่ื ง การศกึ ษาและเปรยี บเทียบการทาครีมทา มือจากมะนาวและว่านหางจระเข้เพ่อื เปรยี บเทียบการทาครีมทามือจากมะนาวและว่านหางจระเข้ เพื่อศึกษาคุณสมบตั ิของมะนาวและว่านหางจระเข้ และสว่ นประกอบสาคญั อ่ืนๆในทาครีมทามอื และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจการใช้งานของผู้ใช้งานท่ีมตี ่อครีมทามือจากมะนาวและวา่ นหางจระเข้ สามารถสรปุ ผลได้ ดังน้ี การศกึ ษาตอนท่ี 1 การทาครีมทามือจากมะนาว และวา่ นหางจระเข้ จากการทดสอบครีมทามือทั้ง 2 สตู รทาพบว่าครมี ทามือจากว่านหางจระเข้มีประสิทธภิ าพดกี ว่าครีม ทามอื จากมะนาวหลงั จากทาครีมทง้ั 2 สูตรแล้ววัดประสทิ ธิภาพครมี ทามือจากวา่ นหางจระเขท้ าให้ มือชุ่มชนื้ มากกวา่ ครีมทามือจากมะนาว สว่ นเนื้อสมั ผสั และกล่ินของครมี ทามือทั้ง 2 สูตรไม่แตกต่าง กนั มากนัก การศกึ ษาตอนท่ี 2 ศึกษาความพึงพอใจของผ้ใู ชง้ านท่ีมีตอ่ ครีมทามือจากมะนาวและว่านหางจระเข้ การสารวจความพึงพอใจด้านลักษณะท่วั ไปของครีมทามือในดา่ นเนื้อสมั ผัสพบวา่ กลมุ่ ผูท้ ดลอง ตัวอย่างส่วนมากรสู้ ึกพอใจมาก รองลงมาคอื พอใจมากท่ีสุด และพอใจปานกลาง ตามลาดับ ในด้าน กล่ินของครมี ทามือพบว่ากล่มุ ผู้ทดลองตัวอย่างสว่ นมากรูส้ ึกพอใจมาก รองลงมาคือพอใจมากท่ีสดุ และพอใจปานกลาง ตามลาดับ การสารวจความพึงพอใจด้านการใช้งานพบวา่ กล่มุ ผทู้ ดลองตัวอย่าง สว่ นมากชอบครีมทามือจากว่านหางจระเข้มากท่สี ุดคดิ เปน็ 43% และรองลงมาคือครีมทามือจาก มะนาวคิดเป็น 41% และชอบทั้งสองคดิ เป็น 16% 5.2 ข้อเสนอแนะ 5.2.1.เน่อื งจากขอบเขตการทางานทีม่ ีจากัดและคณะผู้จัดการโครงการควรมีการวางแผนให้ เปน็ ระบบ กนั มากข้นึ เพื่อแก้ปญั หาตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดข้ึน ควรมีการแบ่งหนา้ ท่ีความรบั ชอบใหต้ รงตาม ตาแหนง่ งาน รวมถงึ การจดั แบบสอบถามทค่ี วรใช้จานวนกลุ่มผูท้ ดลองตัวอย่างทม่ี ากกวา่ นี้เพอ่ื การ ทางานจะได้ มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้นึ

19 แหล่งอ้ำงองิ ฑฆิ มั พร บตุ ตะเขยี ว และ ลักษณา เภาขัน.(2554). มือสวยดว้ ยสมุนไพร.แหลง่ ข้อมูล: https://writer.dek-d.com/pazas/writer/view.php?id=687498.คน้ เมือ่ วันที่ 17 สงิ หาคม 2563. ธรี พล สุพรักษา, ดร. (2550). สำรแตง่ กลิ่น. นฤทธิ์ ใหญโ่ สมานงั . (2555). ควำมปลอดภยั ในกำรใช้สำรแตง่ กล่ิน. ศนู ยน์ กั วิชาการด้าน อาหาร เคมี และสง่ิ แวดลอ้ ม บรษิ ทั จาร์พา เทคเซ็นเตอร์ จากดั วิวัฒน์ วิสทุ ธโิ กศล,ศาสตราจารย์นายแพทย.์ (2556).ประโยชนข์ องวำ่ นหำงจระเข้. คณะ แพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหิดล ,แหลง่ ข้อมูล: https://med.mahidol.ac.th/patient_care/th/health_issue/06112015-1325-th.คน้ เมื่อวนั ท่ี 17 สิงหาคม 2563. ศศวิ ิมล สีดาว และ ภทั รนนั ท์ ฤกษศ์ รีมงคล.(2560).มำลองทำ ครมี ทำมือ ของชำร่วยทำ เอง มอบให้กับแขกในงำนแตง่ กัน.แหล่งข้อมูล: https://praewwedding.com/planning/advice- andideas/. คน้ เมื่อวันท1่ี 7 สิงหาคม 2563. ศริ ริ ตั น์ อ่อนจันทรแ์ กว้ และ สุพรรณิการ์ นิภานนั ท์ .(2560).ครมี ทำผิวจำกแตงกวำและ วำ่ นหำงจระเข้ (ครมี บำรุงผวิ วัยใส) .แหล่งข้อมูล: https://sites.google.com/a/mvsk.ac.th/. ค้นเมื่อวนั ท่ี 17 สิงหาคม 2563. สมศกั ด์ิ วรคามนิ , ศ.ดร.นพ. (2551). สรรรพคณุ ของว่ำนหำงจระเข.้ นายกสมาคมเซลล์ บาบดั ไทย. สิวัฒกิ ร จนิ ตร .(2560).มะนำว สรรพคุณและประโยชน์ของมะนำว 75 ข้อ.แหล่งข้อมูล: https://medthai.com/.คน้ เม่อื วันท่ี 17 สงิ หาคม 2563. DISTHAI. (2017). สรระพคุณของมะนาว. แหล่งข้อมลู : https://www.disthai.com/. สบื คน้ เม่อื วันที่ 17 สงิ หาคม 2563.

20 ภำคผนวก

21 แบบประเมินความพึงพอใจ วัสดุอุปกรณ์

22