Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตอนที่ 5 มรดกทางวัฒนธรรม สังคโลก

ตอนที่ 5 มรดกทางวัฒนธรรม สังคโลก

Published by Kwandjit Kw, 2022-08-15 18:48:24

Description: ตอนที่ 5 มรดกทางวัฒนธรรม สังคโลก

Search

Read the Text Version

อาณาจักรสุโขทัย หน่วยการเรยี นท่ี 2 เรื่องประเดน็ สาคญั ในประวตั ศิ าสตรไ์ ทย โรงเรยี นบรรพตพสิ ัยพทิ ยาคม จงั หวัดนครสวรรค์ สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำมธั ยมศึกษำนครสวรรค์ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พ้นื ฐำน กระทรวงศึกษำธกิ ำร

เปน็ ชื่อทีใ่ ชเ้ รียก เครอื่ งป้นั เคลอื บ ทีผ่ ลิตข้นึ ในอาณาจกั รสโุ ขทัย โดยมีแหล่ง ผลิตท่เี มอื งศรสี ชั นาลัย และท่เี มืองสโุ ขทัย สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ ทรงสนั นิษฐานว่า สังคโลก มาจากคาว่า ซ้องโกลก หมายถึงภาชนะดนิ เผา ทีผ่ ลิตตามแบบจีนราชวงศ์ซอ้ ง ทวา่ นกั วิชาการสนั นษิ ฐานว่า คานีอ้ าจเปน็ ช่อื ท่ีเพีย้ นมาจากคาวา่ สวรรคโลก อันเปน็ ช่อื เมอื งศรสี ชั นาลยั สมัยกรุงศรอี ยุธยาก็เปน็ ได้

ไห 2 หู เตาลานา้ โจน หรือเตาแมโ่ จน เตาสงั ค ชุมชนสโุ ขทัยและเชลยี งเป็นแหลง่ ผลิตเคร่ืองปั้นดนิ เผามากอ่ นสถาปนา เคลือบสีเขยี ว โลกท่ีพบในบริเวณน้ี มลี กั ษณะเป็ นเตาเผาแบบอฐิ กวา้ ง 1.50 - 2 เมตร ยาว 4 - 5 เมตร มี อาณาจักรสุโขทัย ดงั ไดพ้ บเตาเผากว่า 40 เตาตั้งอยบู่ นฝัง่ ตามลาน้าโจนใกล้ รปู แบบคลา้ ยกบั ประทนุ เกวียน แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน ไดแ้ ก่ ที่จดุ เชอื้ เพลงิ ท่วี างถว้ ยชามและปลอ่ ง กบั วัดพระพายหลวงของเมอื งสโุ ขทัย ซ่งึ เรียกรวมว่า เตาแมโ่ จน และ ไฟระบายความรอ้ น คาดว่าสรา้ งขนึ้ ราวพทุ ธ แหลง่ ผลิตที่เมืองเชลยี งท่ีบ้านป่ายาง และบ้านเกาะน้อย ซ่งึ มีเตามากกวา่ ไหมะตะบัน 140 เตา ตงั้ อยบู่ นฝง่ั แมน่ า้ ยม หรือไห 4 หู ศตวรรษที่ 18 อีกทง้ั ยงั พบภาชนะถว้ ยชามท่ีเป็ น ของใชส้ อยเป็ นสว่ นใหญ่ เป็ นเครื่องปั้นท่ีเคลอื บสี ชมุ ชนเชลียงเปน็ แหล่งเครือ่ งปัน้ ดนิ เผาชุมชนเชลียงเปน็ แบบเคลือบ นา้ ตาลหรือสีดาแลว้ เคลือบใสสเี ขยี วออ่ น และใน การเผามกั จะใชก้ ๋ี ซึ่งเป็ นจานที่มขี า มีป่ ุม 5 ป่ ุม ชนดิ เน้ือแกร่งท่มี ีรปู แบบเชน่ เดยี วกบั เครื่องปั้นดนิ เผาของเขมร ตอ่ มาจึงได้ คณฑี วางคนั่ ระหว่างชามแตล่ ะใบเครื่องปั้นดนิ เผาท่พี บ หรือคนโท บริเวณนสี้ ่วนใหญ่เป็ นประเภทถว้ ยชามมขี นาด มกี ารรับความรแู้ ละอิทธิพลทาเครื่องป้ันดนิ เผาจากจนี ซง่ึ อาจเกิดจาก ใหญ่ นา้ ยาเคลือบขนุ่ สเี ทาแกมเหลือง มลี ายเขยี น สีดา ส่วนใหญ่ทาเป็ นรปู ดอกไม้ ปลา และจักร ความสัมพนั ธ์ทางการค้าและการสง่ เสริมเพ่ือใหผ้ ลติ เปน็ สนิ ค้าออก ลวดลาย และรปู ลักษณข์ องเคร่ืองป้นั ดินเผาจึงไดเ้ ปล่ียนเปน็ เคร่อื งเคลือบแบบจีน เรยี ก ไหมะตะบนั (Martaban Jars) สาหรบั บรรจอุ าหารหมักดอง เคร่ือง ถว้ ยชาม โอง่ โถ เชอื่ กันว่าชาวเชลียงเปน็ กลมุ่ แรกท่พี ฒั นาเทคนคิ วิธีการ ผลติ เครอื่ งปนั้ ดนิ เผาในลมุ่ แม่น้ายม ตั้งแตพ่ ทุ ธศตวรรษท่ี 18 จนเป็นทม่ี า ของ “เครื่องถ้วยเชลียง” ท่ีมีชอื่ เสยี ง โดยได้รบั อิทธพิ ลมาจากเคร่ืองถ้วย มอญและขอม ประเภทไม่เคลอื บ ไดแ้ พรก่ ระจายไปยังดินแดนต่าง ๆ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และญป่ี ุน่

ในระหวา่ งพทุ ธศตวรรษที่ 19-22 เคร่อื งป้นั ดินเผาทีเ่ มืองศรีสัชนาลัยได้รับ จาน อิทธพิ ลเคร่อื งลายครามจากจนี สมยั ราชวงศ์หยวนและราชวงศห์ มงิ ทาใหม้ ี ลายปลา การปรบั ปรงุ นา้ เคลอื บใหม้ คี ุณภาพดี โดยใช้นา้ เคลอื บสองสี คอื นา้ ตาล ลายดอกไม้ และขาว รวมทั้งการตกแต่งลวดลายเลียนแบบเคร่อื งถ้วยจีนจนสามารถ ผลิตเปน็ สินค้าออก เป็นทนี่ ยิ มในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ เตาทเุ รียง ศนู ยศ์ ึกษาและอนรุ ักษเ์ ตาเผาสังคโลก อ.ศรีสชั นาลัย จ.สโุ ขทยั เครือ่ งปัน้ ดนิ เผาในสุโขทัยมรี ูปแบบเฉพาะ กลา่ วคือ เครอ่ื งปน้ั ดินเผา จากเตาแม่โจนของเมืองสโุ ขทยั สว่ นใหญ่เปน็ เคร่อื งเคลอื บผลิตจากเน้อื ดินหยาบ เมือ่ นาไปเผาเนอ้ื ออกสเี ทาหรือเทาดา ผิวค่อนข้างพรนุ จึงต้องทา นา้ ดินสขี าวรองพ้ืนก่อนนาไปเขยี นลายและเคลอื บ เตาแมโ่ จนมกั ผลติ ภาชนะสาหรบั ใช้ในชีวติ ประจาวัน เชน่ ถ้วยชาม และกุณโฑ ลวดลายที่ ตกแตง่ มักเปน็ รูปปลา ลายดอกไม้และใบไม้ สว่ นเครอ่ื งปั้นดินเผาจากเตาบา้ นป่ายางผลติ จากเนอื้ ดินละเอยี ด เผาเนอื้ แกรง่ ใช้อณุ หภูมิสูง เมื่อเผาออกมาเป็นสีเทาหรือเทาดาผลผลติ จาก บา้ นปา่ ยางมีภาชนะตา่ ง ๆ เช่น โอ่ง ไห และเคร่อื งประดบั สถาปัตยกรรม เป็นตัวทวารบาล รูปตวั ยักษ์ ตัวนาค ตวั มกร กระเบื้องเคลอื บมงุ หลังคา ตกุ๊ ตาขนาดต่าง ๆ ทัง้ รปู คนและสตั ว์

เครื่องปัน้ ดินเผาจากเตาบา้ นเกาะน้อย เปน็ แหลง่ ทีม่ ีการผลติ มาก มีท้งั เครอื่ งเคลือบและไม่เคลือบ เนอ้ื ดินท่นี ามาใชเ้ ป็นดนิ ละเอยี ด ใช้ฝมี ือ ประณตี ในการเผา การเขยี นลายประดับ และการเคลือบ ผลผลติ ่วนใหญ่จะ เป็นภาชนะต่าง ๆ เชน่ จาน ชาม ถ้วย โถ ตุ๊ตารูปคนและสัตว์ต่าง ๆ การผลติ เคร่ืองสังคโลกของชาวสโุ ขทัยนบั เป็นภมู ปิ ญั ญาของทอ้ งถิน่ ท่มี ี พฒั นาการตอ่ เนอ่ื งต้ังแต่การใช้เนือ้ ดนิ ทม่ี ีคณุ ภาพ 2 ชนดิ คอื ดินเหนียว และดินขาว การทานา้ เคลอื บจากดนิ และการสร้างเตาเผาเครอื่ งสงั คโลก เปน็ ผลให้เครือ่ งสังคโลกจากเมอื งศรีสชั นาลัย มีลักษระโดดเด่นเป็น เอกลักษณ์ และเป็นทมี่ าของชือ่ “เตาทเุ รียง” ซง่ึ สนั นษิ ฐานวา่ มาจาก “เตาเมืองเขลยี ง” หมายถึงเตาเผาเครือ่ งสังคโลกของชาวสุโขทัยนนั่ เอง เตาเผายังใชเ้ ป็นตัวแบ่งเครอ่ื งสงั คโลกออกตามเตาเผาทง้ั 4 แห่งไดแ้ ก่ เครอื่ งสงั คโลกเตาสโุ ขทัย เครื่องสงั คโลกเตาทเุ รียงป่ายาง สวรรคโลก (ศรีสชั นาลยั ) เคร่ืองสงั คโลกเตาทเุ รียงเกาะนอ้ ย (ศรีสัชนาลยั ) เครอ่ื งสังคโลกตานา้ โจน เตาดั้งเดมิ (ศรีสัชนาลยั )

เตาเผารนุ่ แรกสดุ เปน็ เตาขดุ ในแหลง่ ผลติ บ้านเกาะน้อย มอี ายุ 940 ววิ ฒั นาการของเตาเผาของสุโขทยั แสดงถงึ ความสามารถอย่างยอดเยยี่ ม ปีมาแลว้ กอ่ นการสถาปนาอาณาจกั รสโุ ขทยั ถงึ 200 ปี มรี ปู รา่ งแตกต่างกัน ของชมุ ชนที่พยายามปรับปรงุ ผลผลติ และความสอดคล้องกบั สภาพแวดล้อม หลายแบบท่แี สดงถึงความพยายามปรบั ปรงุ การผลิตให้เข้ากัสภาพแวดลอ้ ม ตามธรรมชาติ บางครั้งเตาเผาแบบนเี้ รยี กว่า เตามอญ อาจเพราะเรม่ิ ต้นมี การผลิตเครอ่ื งถ้วยมอญมาก่อน เตาประทุน ต่อมาไดม้ ีการสร้างเตาทอี่ ยู่บนดินครึง่ หนง่ึ อยใู่ ต้ดิน ครงึ่ หน่ึง โดยใชฐ้ านดนิ เดมิ แต่โผลส่ ่วนหลังคาขึ้นมาข้างบน และใช้ดิน เหนียวผสมทรายพอกก่ออฐิ เป็นปลอ่ งและถมดินรอบ ๆ ปอ้ งกนั เตายุบ สว่ นใหญ่จะใชเ้ ผาเครอื่ งถ้วยชาม เตาตะกรบั ท่ีบา้ นป่ ายาง เตาตะกรับ ลกั ษณะเตามรี ปู ร่างกลม ห้องบรรจุภาชนะ อยู่ตอน อ.สวรรคโลก จ.สโุ ขทัย บนสดุ ใช้วางภาชนะท่ีจะเผาแล้วใช้เศษภาชนะดินเผาวางสมุ ทับด้านบนอกี ช้นั หนึง่ ห้องใส่ไฟ เปน็ บรเิ วณใสเ่ ชือ้ เพลงิ เพ่ือให้ความร้อนลอยขนึ้ ส่ดู ้านบน เตาขดุ ที่บา้ นเกาะนอ้ ย อ.ศรีสัชนาลัย จ.สโุ ขทัย มกั มชี ่องใสเ่ ชือ้ เพลิงยืน่ ออกมาด้านหนา้ เตาอิฐ จ.สโุ ขทยั เตาอิฐ เตายคุ สุดท้ายที่กอ่ บนพน้ื ดนิ ถมดินอดั ใหแ้ น่น ทาเป็นเนนิ ดินขนาดใหญ่ แล้วใชอ้ ฐิ กอ่ เปน็ เตาท้ังหมด เตาชนดิ นที้ นความรอ้ นไดด้ ี อุณหภมู สิ งู สามารถผลติ เครือ่ งสังคโลกที่มีคณุ ภาพได้ ภาชนะทสี่ ร้างข้นึ จากเตาอิฐมักเป็น เครื่องถ้วยชามทส่ี ง่ ไปยงั ต่างประเทศ เตาประทนุ ที่บา้ นเกาะนอ้ ย อ.ศรีสชั นาลยั จ.สโุ ขทัย

เตาเผาเคร่ืองสงั คโลกของชาวสุโขทยั เป็นภมู ิปญั ญาของชุมชนทีม่ ีววิ ฒั นาการ สบื ต่อมายาวนาน ทาให้สามารถผลติ เครื่องปน้ั ดินเผาใช้กนั ทั่วไปในดินแดนไทย และเป็นสนิ คา้ ออกที่สาคญั ของอาณาจกั รสโุ ขทยั สบื ตอ่ มาจนสนิ้ สมัยอยธุ ยา ตอ่ มาได้มแี หล่งผลติ เคร่อื งสงั คโลกกระจายออกไปหลายแห่ง เชน่ เตาบ้าน พบซากเรือบรรทกุ เคร่อื งสังคโลก บางปูน (เมอื งสพุ รรณบรุ ี) เตาลมุ่ นา้ น้อย (เมอื งสงิ หบ์ ุรี) บา้ นเตาไห เมืองสองแคว (พษิ ณุโลก) เป็นเครือข่ายการค้ากวา้ งขวางไปตามชมุ ชนรอบทะเลอ่าวไทยและ ชมุ ชนโพน้ ทะเล เชน่ ฟลิ ิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนเี ซยี ญีป่ นุ่ ดงั หลกั ฐานที่พบ ในซากเรือที่จมอยู่อ่าวไทย ซึ่งสว่ นใหญ่เป็นเรือสาเภาจนี ปลายสมยั สุโขทยั และสมยั อยุธยาตอนต้น การคา้ เครือ่ งสงั คโลกไดแ้ พร่ขยาย มากย่ิงขน้ึ โดยเส้นทางการค้า ไดแ้ ก่ การคา้ ภายในภมู ิภาค หรอื ภายในภาคพน้ื ทวีป เป็นเครอื ข่ายการคา้ ทใ่ี ชเ่ ส้นทางทางบกและตามลาแม่นา้ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ 1) เส้นทางการคา้ สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย ไปถึงเมืองน่าน 2) เสน้ ทางการคา้ สุโขทยั – ศรีสชั นาลยั ไปตามลาน้ายมถึงเมืองนครสวรรค์ 3) เสน้ ทางในลุ่มแม่นา้ เจ้าพระยา จากนครสวรรค์ผา่ นแม่นา้ ท่าจีน แมน่ า้ นอ้ ย สงิ หบ์ รุ ี ไปยงั อยธุ ยา 4) เส้นทางการค้าตะวนั ตก จากสโุ ขทยั ไปถึงเมืองตาก ออกสูท่ ะเลท่เี มอื งเมา ตะมะ สูอ่ ่าวเบงกอล การคา้ ทางทะเล โดยเรือสาเภาในนา่ นนา้ ทะเลจนี ใต้ ระหว่างเมืองทา่ ต่าง ๆ ในหมเู่ กาะอนิ โดจีน ฟิลิปปินส์ และญป่ี นุ่ เลียบชายฝ่ังทะเลเมอื งท่าในอ่าวไทย เรือสาเภาเป็ นสัญลักษณแ์ ห่งการคา้ อนั เป็ นมงคล

เครื่องสังคโลก มีจดุ เด่นคือการเคลือบผิว ซ่งึ ทาใหเ้ คร่อื งสงั คโลก มีความสวยงามมากยงิ่ ขน้ึ แบ่งประเภทได้ดังนี้ ภาชนะไม่เคลือบผิว ไม่ได้เคลอื บน้ายา มีสเี ทาถงึ น้าตาลเข้ม บางชนิ้ มีข้ีเถ้าปลิวไปตดิ ทีผ่ ิวภาชนะ ทาให้มคี วามมนั วาวเหมือน เคลอื บผิว เรียกว่า เคลือบขีเ้ ถา้ โดยมากมักเป็นโอง่ ไห ครก แจกนั เครื่องเคลือบสเี ขียว หรอื เซลาดอน เป็นเครือ่ งเคลือบ กลุ่มสีเขยี วใส สันนิษฐานว่าพัฒนามาจากเครอ่ื งถว้ ยสเี ขยี วมะกอก หรอื สเี ขียวอมน้าตาลของเครือ่ งถ้วยเชลยี ง และไดร้ ับอิทธพิ ลมจาก เครือ่ งเคลอื บสีเขยี วแบบหลงฉวนของจีน มีรูปแบบหลากหลาย เช่น จาน ชาม ถว้ ย ขวดทางปอ่ ง กระปุกทรงน้าเต้า กาน้า ต๊กุ ตาเสยี กบาล ตุ๊กตารปู สัตว์ เครอ่ื งเคลอื บเขยี นลายสีดา้ หรอื สีนา้ ตาลใตเ้ คลอื บ ไดร้ ับแบบอย่ามาจากเครื่องลายครามของจนี โดยมีการวาดลวดลาย ตา่ ง ๆ ดว้ ยสนี ้าตาลไหม้หรือสดี าบนผวิ ภาชนะ แล้วเคลอื บดว้ ยนา้ ยา เคลือบสใี สถงึ เขยี วใส มกั เป็นชาม จาน ตลับหรอื ผอม แจกนั ขวด กาน้า และตุ๊กตา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook