Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตอนที่ 4 มรดกทางวัฒนธรรม ศิลาจารึก-ลายสือไทย

ตอนที่ 4 มรดกทางวัฒนธรรม ศิลาจารึก-ลายสือไทย

Published by Kwandjit Kw, 2022-08-15 18:42:24

Description: ตอนที่ 4 มรดกทางวัฒนธรรม ศิลาจารึก-ลายสือไทย

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นที่ 2 เร่ืองประเดน็ สาคญั ในประวตั ศิ าสตรไ์ ทย โรงเรยี นบรรพตพสิ ัยพทิ ยาคม จังหวัดนครสวรรค์ สำนักงำนเขตพ้ืนท่กี ำรศึกษำมธั ยมศึกษำนครสวรรค์ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธกิ ำร

อาณาจกั รสโุ ขทัย ถือเป็นจดุ เริม่ ตน้ ของศาสตรแ์ ละศิลปต์ ้นกาเนดิ บนแผน่ ดนิ ไทย ไดร้ บั การสืบทอดตอ่ กันมา ยาวนาน กว่า 700 ปคี วามเจรญิ รุ่งเรอื งของ อาณาจักรสโุ ขทัยท่แี ฝงอยู่ในศลิ ปกรรม และสถาปัตยกรรมของมรดกโลกแห่งน้ี เป็นเสมอื นสือ่ กลางทถ่ี า่ ยทอดเรื่องราว วิถีชวี ติ ของผูค้ นในยุคนัน้ และถือเปน็ หลักฐานช้นิ เอกทางประวัติศาสตร์ ที่แสดงใหค้ นไทยรุน่ หลังและนานา ประเทศได้เห็นวา่ ในยุคสมยั ทกี่ รุงสโุ ขทัย เป็นราชธานนี น้ั … เปน็ ยุคทองของ ประวตั ิศาสตร์ไทยอีกยคุ หนงึ่

ด้วยสภาพภูมศิ าสตร์ของประเทศไทย รวมท้ังทาเลท่ีตงั้ บนเสน้ ทาง เมอื่ กอ่ นลายสือไทยน้ี การติดตอ่ ระหว่าง 2 อารยธรรม คือจีนและอินเดยี ที่มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื ง บ่มี 1205 ศกปมี ะแม ลว้ นเปน็ ปจั จัยสนับสนนุ ความเจริญของชมุ ชนโบราณในดินแดนไทย ปรากฏหลกั ฐานท่เี ปน็ ลายลักษณ์อักษรขนึ้ ในศิลาจารึกที่เก่าแก่ท่สี ดุ ของ พ่อขนุ รามคาแหง ไทย มีอายรุ าวพุทธศตวรรษที่ 11-12 เป็นจารึกอกั ษรปลั ลวะของอินเดยี หาใครใจในใจ แลใส่ ศลิ าจารกึ ท่ีเก่าแกท่ สี่ ุดคอื จารึกเขานอ้ ย จังหวดั สระแก้ว จารกึ ขน้ึ ในปี พ.ศ.1180 นับเปน็ หลกั ฐานทแ่ี สดงวฒั นธรรมการใช้รูปแบบตวั อักษรที่ ลายสือไทยนี้ ปรากฏในดินแดนไทยเป็นครัง้ แรก และจารึกอีกหลายหลักจารึกด้วย ลายสือไทยนจี้ งึ มี อักษรบาลี-สันสกฤต ภาษามอญโบราณ และเขมรโบราณ เพื่อขนุ ผู้นนั้ ใส่ไว้ สว่ นจารึกทค่ี นไทยทาขึน้ ปรากฏเป็นครง้ั แรกในพทุ ธศตวรรษท่ี 19 ขอ้ ความบางสว่ นในศิลาจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง เม่อื พ.ศ.1826 พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงประดษิ ฐต์ วั อักษรไทยที่ ทรงเรยี กว่า “ลายสอื ไทย” ขึน้ ทง้ั พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลข ไทย และโปรดให้ใชร้ ปู แบบตวั อักษรและอักขรวธิ ีลายสอื ไทยจารึกลงใน แท่นหนิ ซึง่ เปรียบเสมอื นพระราชโองการประกาศใหส้ าธารณชน รับทราบ ปัจจุบนั เรียกแทน่ หินน้ันว่า ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี 1 หรือจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง ถือเป็นจารึกอกั ษรไทยคร้ังแรก ซ่งึ เป็นหลกั ฐานทาง ประวตั ศิ าสตร์สมยั สโุ ขทยั ทีห่ ลงเหลอื อยู่จนถงึ ปจั จบุ นั

ตารางววิ ฒั นาการตัวอกั ษรโบราณโดยสังเขป (พ. = พุทธศตวรรษ) นักวชิ าการหลายท่านกลา่ วถึง ลายสือไทย ว่าพอ่ ขุนรามคาแหง ทรงดัดแปลงมาจากภาษาอะไร ได้แก่ ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ ไดก้ ล่าวไวใ้ นตานานอักษรไทย ซงึ่ ตีพิมพเ์ มอ่ื พ.ศ.2468 วา่ อักษรไทยซึ่งไดแ้ บบมาจากมอญ ต่อมา ขอมมอี านาจปกครองสุโขทยั พวกไทยคงจะศกึ ษาอกั ษรขอมหวัดท่ใี ช้ ในทางราชการ แล้วจึงแปลอกั ษรเดมิ ของไทยมาเปน็ รปู คลา้ ยตวั อักษร ขอมหวัด นายฉา่ ทองคาวรรณ ไดเ้ ขยี นเรอื่ ง “สันนษิ ฐานว่า อักษรพ่อขุน รามคาแหงทกุ ตวั ดัดแปลงนาจากอักษรขอมหวัด ดร.ประเสริฐ ณ นคร และนกั ภาษาศาสตร์ปัจจุบัน มีความเหน็ วา่ พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยทเ่ี รียกกนั วา่ \"ลายสือไทย\" ข้นึ โดยไดเ้ ค้ารูปจาก อกั ษรอนิ เดียฝ่ายใต้ (ปัลลวะ) รวมท้ังอกั ษรมอญ และเขมรทม่ี อี ย่เู ดมิ (ซึง่ ต่างกถ็ ่ายแบบมาจาก อักษรอินเดยี ฝ่ายใต้ท้ังส้ิน) ทาให้อักษรไทยมีลกั ษณะคล้ายคลึงกบั อักษรทัง้ สาม แม้บางตวั จะไมค่ ล้ายกัน แตก่ ส็ ามารถรู้ได้วา่ ดัดแปลงมา จากอกั ษรตัวไหน

“ ” ทีพ่ ่อขุนรามคาแหงทรงประดษิ ฐข์ ้ึนนั้น ทรงกาหนดใหอ้ กั ษรแต่ละตวั แยกกันเป็นอิสระ วางรูป สระไวห้ นา้ พยญั ชนะอยใู่ นแนวเดยี วกนั พรอ้ มกับมี วรรณยกุ ต์กากบั การออกเสยี งตามคาศพั ทภ์ าษาไทย นอกจากน้พี ระองค์ยังได้ออกแบบรปู อักษรใหม้ วี ิธีการ เขยี นเสน้ อักษรแตล่ ะตวั ลากสืบต่อกนั โดยไมต่ ้องยกมือ ขนึ้ โดยเร่ิมตน้ ลากจากหวั อักษรทเี่ ปน็ เสน้ โคง้ งอเหมือน ขอเบ็ด แลว้ ลากไปจนสดุ ปลายเส้นอักษรซึ่งมลี ักษณะงอ โค้งเลก็ นอ้ ยเช่นกนั มีพยญั ชนะ 39 รูป สระ 20 รูป วรรณยุกต์ 2 รปู รวมทัง้ หมด 61 รูป

เม่อื พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงประดิษฐล์ ายสือไทย ปี พ.ศ.1826 ศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ลายสอื ไทยกไ็ ดแ้ พรห่ ลายในหมกู่ ลมุ่ ชาติพันธไุ์ ท ทีต่ ้ังถ่นิ ฐานทต่ี ่าง ๆ จารึกอักษรลาว หลวงพระบาง ไดแ้ ก่ จารึกอักษรฝกั ขาม วัดศรโี คมคา จังหวัดพะเยา อาณาจักรล้านนา โดยพระมหาสมุ นเถร ได้นาพทุ ธศาสนานิกาย ลงั กาวงศ์ เข้าไปในลา้ นนา เมอ่ื พ.ศ.1912 กไ็ ด้นาลายสือไทยของพ่อ ขุนรามคาแหงเขา้ ไปเผยแพรด่ ว้ ย ตอ่ มาตวั อักษรได้เปลีย่ นรูปและ อักขรวธิ ไี ปบา้ งกลายเปน็ อกั ษรตวั ฝักขาม ปรากฏในจารึกวัดพระยนื พ.ศ.1914 และจารึกวัดพระสวุ รรณมหาวิหาร จังหวดั เชียงราย พ.ศ.1954 เมอื งเชียงตงุ และเมอื งในประเทศพมา่ มีศิลาจารึกอกั ษรฝักขาม ทดี่ ัดแปลงจากลายสอื ไทยของพ่อขุนรามคาแหง ปรากฏในศลิ าจารึก หลายหลัก ประเทศลาว มจี ารกึ ที่ผนังถา้ นางอัน ตัง้ อย่ใู กลเ้ มืองหลวงพระ บาง จารึกด้วยอกั ษรสโุ ขทัยในสมยั พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิ ไทย) ส่วนจารกึ อ่ืน ๆ กใ็ ชต้ ัวอักษรท่ีเปลย่ี นรปู รา่ งและอกั ขรวธิ เี ป็น อกั ษรลาวหรอื อักษรไทยนอ้ ย จากนน้ั จึงเปล่ียนแปลงเป็นตวั อักษรไท ขาว ไทแดง เจ้าไท ผไู้ ท ในเวียดนาม

จารกึ อักษรธรรมล้านนา จารึกอักษรฝกั ขาม วดั เชียงมน่ั จ.เชียงใหม่ วดั พระยนื จังหวัด เชียงใหม่ อักษรไทลือ้ อกั ษรธรรมลา้ นนา โดยพ่อขุนมงั รายแหง่ ลา้ นนา อาณาจกั รล้านนาได้นาลายสอื ไทยมาเปลยี่ นรปู อักษรรฐั ฉาน ได้ประดษิ ฐ์อกั ษรขึ้นโดยดดั แปลงจากอักษรมอญ และอักขรวธิ ี เรยี ก อกั ษรฝกั ขาม วดั พระยืน จ.เชยี งใหม่ อักษรขะฉ่ิน ได้แพรห่ ลายไปในดนิ แดนตอนเหนอื ของไทย อักษรลา้ นนา อกั ษรพมา่ อักษรไทดา อักษรลาว อกั ษรมอญ อกั ษรไทย

ตอ่ มาประมาณ 50-70 ปี ลกั ษณะตัวอักษรไดเ้ ปลี่ยนไป ทส่ี าคญั คือ การวิธกี ารวางรปู สระไว้ข้างบนและขา้ งลา่ งรูปพยัญชนะ ตามอย่างอกั ขรวธิ ี ทีเ่ คยใช้ในภาษาเขมร แต่บางตัวก็ยังคงรกั ษาแบบฉบบั ตามลายสอื ไทยไว้ ในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลไิ ทย) หลงั ปี พ.ศ.1900 เปน็ ตน้ มา ไดเ้ รม่ิ ใช้ไม้หันอากาศ วางไวข้ า้ งบนตวั สะกด รปู แบบการเขยี นคาในสมยั นีไ้ ด้วางพยญั ชนะตน้ สระและตัวสะกดเว้นช่องไฟเทา่ ๆ กัน และตวั อักษร ควรกเ็ ขยี นแยกจากกนั ซงึ่ แตกตา่ งจากวธิ เี ขยี นในสมัยพ่อขุนรามคาแหง อักษรไทยในสมัยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชแห่งอยธุ ยา รูปแบบ ตัวอกั ษรและอักขรวิธีของภาษาไทย ได้วิวฒั นาการต่อมาจนถงึ สมยั อยุธยา ตวั อักษรไทยสมยั นัน้ มรี ูปร่างลกั ษณะคล้ายกบั ตัวอักษรไทยปจั จบุ นั มาก อกั ษรไทยสมยั จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม เม่ือ พ.ศ.2485 จอมพล อกั ษรอริยกะของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั (รชั กาลท่ี 4) ป.พบิ ูลสงคราม นายกรฐั มนตรขี องไทยในสมัยนัน้ ได้ปฏริ ูปวิธเี ขยี นหนังสอื แหง่ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ ได้ทรงประดษิ ฐอ์ ักษรอริยกะข้นึ เม่ือประมาณ ไทยให้สะดวกและงา่ ยขน้ึ โดยตดั พยัญชนะที่เสยี งซา้ กันออก เชน่ พ.ศ.2390 เพ่ือใช้เขยี นภาษาบาลี โดยพระองค์ทรงนาสระมาอยบู่ รรทัด - ศ ษ ส ให้ใช้ ส เพียงตัวเดียว เช่น ศึกษา เปน็ สึกสา เดียวกับพยญั ชนะ และเขยี นสระทุกตวั ไวห้ ลังพยญั ชนะ และเม่ือขนึ้ ต้น - ใช้คาสะกดตัวเดียว เชน่ สมเด็จ เปน็ สมเดด็ ประโยคจะใชอ้ กั ษรตัวใหญ่แบบเดียวกับภาษาอังกฤษ แต่ตวั หนงั สืออรยิ กะ - การใช้คาควบกล้า ให้เขยี นตามเสยี งสะกด เชน่ ทรง เปน็ ซง มไิ ดแ้ พร่หลายไปถึงประชาชนสว่ นใหญ่ แตป่ ระชาชนไม่นิยมจึงเลกิ ไป เม่ือ พ.ศ.2488

อกั ษร “อรยิ กะ” เปน็ รูปแบบตัวอกั ษรประเภทหนง่ึ ท่ีพระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รัชกาลที่ 4)ในขณะทรงพระผนวช เป็น “พระวชิรญาณเถระ” ทรงประดิษฐ์ข้ึนสาหรบั ใชเ้ ขยี นหรอื พิมพ์ ภาษาบาลแี ทนตวั อกั ษรขอมทใ่ี ชก้ ันมาแตเ่ ดิม รวมทงั้ ทรงประดิษฐ์ ข้ึนสาหรบั ใช้เขยี นภาษาไทยด้วย (อาจเป็นความตอ้ งการใช้แทน อักษรไทยด้วยกไ็ ด้) โดยทรงปฏิรปู พระพทุ ธศาสนา พรอ้ มๆ กบั การตั้ง “ธรรมยุตกิ นิกาย” สันนิษฐานกนั ว่านา่ จะทรงประดิษฐ์ข้นึ หลงั จากไดเ้ สดจ็ มาครองวัดบวรนเิ วศวิหารแล้ว เพราะในเวลานัน้ มีผมู้ าถวายตัวเป็นศิษย์เพอื่ ประพฤติปฏิบัตติ ามอย่างพระองคเ์ ป็น คาถาเย ธมฺมา ฯ จานวนมาก และเพือ่ ใหก้ ารศกึ ษาเลา่ เรยี นพระธรรมวนิ ยั เปน็ ไป อกั ษรอริยกะแบบ โดยสะดวกจงึ น่าจะทรงประดิษฐ์อกั ษรอรยิ กะข้นึ สาหรบั ใช้ ตัวพิมพ์เหนือประตู แทน “อกั ษรขอม” ที่แตเ่ ดิมถอื เป็น “อกั ษรศักดส์ิ ทิ ธ์ิ” สาหรับเขยี น ทางเขา้ พระอุโบสถ เร่ืองราวทีเ่ ก่ยี วกับพระพทุ ธศาสนาทง้ั ทเ่ี ป็นภาษาบาลี (เรียกว่า วัดพระราม ๙ กาญจนาภเิ ษก “อักษรขอมบาลี”) และภาษาไทย (เรียกว่า “อกั ษรขอมไทย”) “อกั ษรอริยกะ” เปน็ อกั ษรท่ไี ดร้ ับอิทธิพลทางรปู แบบตัวอักษรและ ๏ เย ธมมฺ า เหตุปปฺ ภวา เตส ตถาคโต เหต อาห เตสญจฺ โย นิโรโธ จ เอว วาที มหาสมโณติ ฯ ๏ พระมหาสมณเจ้ามีพระวาทะอยา่ งน้ี คือ ตรสั ธรรมทีม่ ีเหตุเปน็ แดนเกิด อนงึ่ ตรัสเหตขุ องธรรม อทิ ธิพลทางดา้ นอกั ขรวธิ ใี นการเขยี นจาก “อักษรโรมัน” เหล่าน้นั ตรสั ความดบั ของธรรมเหล่านนั้ และตรัสอบุ ายเปน็ เหตุดบั ของธรรมเหลา่ นั้น ฯ

จารึกพอ่ ขนุ รามคาแหง หรอื จารกึ หลกั ท่ี 1 น้ี เจา้ ฟา้ มงกฎุ ฯ (ต่อมาคือรชั กาลที่ 4) ขณะผนวชอยู่เปน็ ผทู้ รงค้นพบในปี พ.ศ. 2376 ณ เนินปราสาทเมืองเก่าสโุ ขทัย อาเภอเมือง จงั หวัดสโุ ขทยั มีลกั ษณะเป็นหลกั สี่เหล่ยี มดา้ นเทา่ ทรงกระโจม สูง 111 เซนตเิ มตร หนา 35 เซนตเิ มตร เปน็ หินทรายแปง้ เนอื้ ละเอียด มีจารกึ ท้งั สดี่ า้ น ปจั จุบันเก็บอย่ทู ี่ พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาตพิ ระนคร กรงุ เทพฯ จารึกนร้ี ัชกาลท่ี 4 ไดท้ รงพากเพยี รอ่านด้วยพระองค์เองและได้แปลเป็นภาษาองั กฤษ พระราชทานแก่เซอรจ์ อหน์ เบาวร์ ิง เม่อื พ.ศ.2398 ได้นาตัวอยา่ งลงพมิ พ์ในหนงั สอื The Kingdom and people of Siam เนอ้ื หาของจารึกเปน็ การเลา่ พระราชประวัติและพระ ราชกรณยี กิจของพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช จารึกไดร้ บั การข้ึนทะเบียนเปน็ มรดกความทรงจาแห่งโลกเมอ่ื ปี พ.ศ. 2546 โดยยูเนสโก บรรยายวา่ \"[จารึกนี้] นบั เปน็ มรดกเอกสารช้นิ หลักซึ่งมีความสาคัญระดับโลก เพราะให้ ข้อมูลอนั ทรงค่าว่าดว้ ยแกน่ หลกั หลายประการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมโลก ไม่ เพยี งแตบ่ ันทึกการประดิษฐ์อักษรไทยซึง่ เปน็ รากฐานแหง่ อกั ษรท่ีผู้คนหกสิบล้านคนใช้อยูใ่ น ประเทศไทยปจั จุบัน การพรรณนาสุโขทยั รฐั ไทยสมัยศตวรรษท่ี 13 ไวโ้ ดยละเอยี ดและหา ไดย้ ากนั้นยังสะท้อนถึงคุณคา่ สากลทร่ี ฐั ทั้งหลายในโลกทุกวันน้ีรว่ มยึดถอื

พระราชประวัติสว่ นพระองค์ การทานบุ ารงุ บา้ นเมืองให้ เจริญรงุ่ เรืองทางเศรษฐกิจ การปกครองหัวเมือง ในอาณาจักรสุโขทัย การปกครองไพรฟ่ า้ ประชาชน

1. สระและพยัญชนะอยใู่ นบรรทดั เดียวกัน เขียนตดิ ตอ่ กนั ไป โดยไม่เว้นวรรค 2. สระวางไวห้ นา้ พยญั ชนะ ยกเว้นสระอา (สมยั พระยาลไิ ทย เปล่ยี นไวข้ า้ งบน ข้างใต้ คือ สระอิ, อ,ี พนิ ทอุ ,ิ ไม้มลาย, ไม้มว้ น, ไม้โอคงเดมิ สมยั พระนารายณ์มกี ารปฏริ ปู ตวั อักษรคร้ังใหญ่) 3. วรรณยกุ ต์ มี 2 รปู คอื รปู เอก รูปโท 4. สระอะ เม่อื มีตัวสะกด ใช้พยญั ชนะซ้อนกนั 2 ตวั เชน่ ขนบ (ขับ) , หนงง (หนงั ) ฯลฯ 5. สระเอยี ถา้ ไม่มตี ัวสะกดใช้ เช่น มยย สยย ถา้ มีตัวสะกดใช้ ย เชน่ สยง (เสียง) ดยว (เดยี ว) 6. สระออื , ออ ไมม่ ีตัวสะกด ไมม่ ี อ เคยี ง เชน่ ชี่, พ่ ท่ 7. สระอัว ไม่มีตัวสะกด ใช้ วว ตวว หวว ววว 8. สระอึ ไม่มใี ช้ ใช้อี หรืออื แทน เช่น จิ่ง, ขี 9. นฤคหติ แทน ม เชน่ กล (กลม)

เีขยนลาืยสอไทยกนน เขียนลายสือไทยกัน นางขวญญิจต บุญมาก นางขวญั จิต บญุ มาก โรงเีรยนบรรพิตพสยิยพทยาคม โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook