Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับครู

คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับครู

Published by 12 เจษฎา อินจีน, 2022-05-07 04:06:48

Description: คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับครู

Search

Read the Text Version

คู่มือทกั ษะความฉลาดทางดิจิทลั สาหรบั ครู เสนอ อ.ดร.สุจิตตรา จนั ทร์ลอย อ.ดร.สธุ ิดาส ปรชี านนท์ จดั ทาโดย นายเจษฎา อินจีน รหสั ประจาตวั 647190312 รายงานนี้เป็นสว่ นหน่ึงของวิชา การพฒั นาความเป็นครู (GD 58201)

ก หลกั สูตรประกาศนียบตั รบณั ฑิต สาขาวิชาชพี ครู ปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบึง คานา ความเป็นพลเมอื งดิจติ อล (Digital Citizenship)คือ พลเมอื งผใู้ ช้งานส่อื ดจิ ทิ ลั และส่อื สงั คม ออนไลนท์ เ่ี ข้าใจบรรทัดฐานของการปฏบิ ตั ติ วั ให้เหมาะสม มคี วามรบั ผดิ ชอบ มจี ริยธรรม มคี วามเห็นอก เห็นใจและเคารพผ้อู ืน่ ในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การส่อื สารในยุคดิจทิ ลั ดว้ ยเหตนุ ้ีผู้จดั ทา จงึ ได้รวบรวม 8 ทกั ษะความฉลาดทางดจิ ิทลั ลงในรายงานเลม่ น้เี พ่อื หวงั จะเป็นประโยชน์กบั ทุกท่านและ สามารถพฒั นาต่อยอดการใช้เทคโนโลยเี พอ่ื ใหเ้ ป็นบคุ คลทมี่ คี ณุ คา่ และความสขุ นายเจษฎา อนิ จีน ผ้จู ดั ทา

ข สารบญั หน้า ก เรอ่ื ง ข คานา 1 สารบญั 2 8 ทกั ษะความฉลาดทางดิจิทลั 3 ทกั ษะในการรกั ษาอตั ลกั ษณท์ ีด่ ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) 4 ทกั ษะในการรกั ษาขอ้ มูลสว่ นตวั (Privacy Management) 5 ทกั ษะในการคิดวิเคราะห์มวี จิ ารณญาณท่ีดี (Critical Thinking) 6 ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) 7 ทกั ษะในการรบั มอื กับการคกุ คามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) 8 ทกั ษะในการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ทีผ่ ใู้ ช้งานท้ิงไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity 9 Management) 9 สรุป 10 บรรณานุกรม ประวตั ิผจู้ ดั ทา

1 8 ทกั ษะการเป็นพลเมอื งดจิ ทิ ลั ที่ ‘คนของศตวรรษที่ 21’ ตอ้ งมี

2 ทกั ษะในการรกั ษาอตั ลกั ษณ์ทดี่ ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ต้องมคี วามสามารถในการสรา้ งสมดุล บริหารจดั การ รักษาอตั ลกั ษณ์ทด่ี ีของตนเองไวใ้ ห้ได้ ทงั้ ในส่วนของโลกออนไลน์และโลกความจริง โดยตอนนีป้ ระเดน็ เร่ืองการสร้างอตั ลกั ษณ์ออนไลนถ์ ือเป็น ปรากฏการณใ์ หม่ ทที่ าให้บุคคลสามารถแสดงออกถึงความเป็นตวั ตนตอ่ สงั คมภายนอก โดยอาศยั ชอ่ ง ทางการสอ่ื สารผ่านเว็บไซต์เครือข่ายสงั คมในการอธบิ ายรปู แบบใหม่ของการส่อื สารแบบมปี ฏิสมั พนั ธ์ ทางอินเทอรเ์ นต็ ซง่ึ เป็นการแสดงออกเกี่ยวกบั ตวั ตนผ่านเว็บไซตเ์ ครอื ข่ายสงั คมตา่ งๆ

3 ทกั ษะในการรกั ษาขอ้ มูลส่วนตวั (Privacy Management) ดุลพนิ จิ ในการบริหารจดั การข้อมลู สว่ นตวั โดยเฉพาะการแชร์ขอ้ มูลออนไลน์เพอ่ื ป้องกนั ความ เป็นส่วนตวั ทงั้ ของตนเองและผอู้ ่ืนเป็นสง่ิ สาคญั ทีต่ อ้ งประกอบอยู่ในพลเมอื งดิจทิ ลั ทกุ คน และพวกเขา จะต้องมคี วามตระหนกั ในความเทา่ เทียมกนั ทางดิจทิ ลั เคารพในสทิ ธขิ องคนทุกคน รวมถึงต้องมี วจิ ารณญาณในการรกั ษาความปลอดภยั ของข้อมูลตนเองในสงั คมดจิ ทิ ลั รูว้ ่าข้อมูลใดควรเผยแพร่ ข้อมูล ใดไม่ควรเผยแพร่ และต้องจดั การความเส่ยี งของข้อมลู ของตนในส่อื สงั คมดจิ ทิ ลั ได้ด้วย

4 ทกั ษะในการคิดวิเคราะห์มวี ิจารณญาณทดี่ ี (Critical Thinking) ความสามารถในการวเิ คราะห์แยกแยะระหว่างขอ้ มลู ท่ถี กู ต้องและข้อมลู ท่ีผดิ ขอ้ มลู ทีม่ เี นื้อหาดี และขอ้ มลู ทเี่ ข้าข่ายอนั ตราย ร้วู า่ ขอ้ มูลลกั ษณะใดท่ถี กู ส่งผา่ นมาทางออนไลนแ์ ลว้ ควรตงั้ ข้อสงสยั หา คาตอบใหช้ ดั เจนก่อนเชือ่ และนาไปแชร์ ดว้ ยเหตนุ ้ี พลเมอื งดจิ ทิ ลั จึงต้องมคี วามรคู้ วามสามารถในการเข้าถึง ใช้ สร้างสรรค์ ประเมนิ สงั เคราะห์ และส่อื สารขอ้ มูลข่าวสารผ่านเครอื่ งมอื ดจิ ทิ ลั ซ่งึ จาเป็นต้องมคี วามรู้ด้านเทคนคิ เพ่อื ใช้ เคร่อื งมอื ดิจทิ ลั เช่น คอมพวิ เตอร์ สมารต์ โฟน แท็บเลต็ ได้อยา่ งเชี่ยวชาญ รวมถึงมที กั ษะในการรู้คดิ ขนั้ สูง เชน่ ทกั ษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ทีจ่ าเป็นตอ่ การเลือก จดั ประเภท วิเคราะห์ ตีความ และ เขา้ ใจข้อมูลข่าวสาร มคี วามรแู้ ละทกั ษะในสภาพแวดลอ้ มดิจิทลั การรู้ดิจิทลั โดยมุ่งใหเ้ ป็นผใู้ ชท้ ีด่ ี เป็นผู้ เขา้ ใจบริบทท่ีดี และเป็นผสู้ ร้างเนอ้ื หาทางดิจิทลั ท่ีดี ในสภาพแวดลอ้ มสงั คมดิจทิ ลั

5 ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) ทกั ษะในการบรหิ ารเวลากบั การใช้อปุ กรณย์ ุคดิจิทลั รวมไปถึงการควบคมุ เพอ่ื ให้เกิดสมดลุ ระหว่างโลกออนไลน์และโลกภายนอก นบั เป็นอกี หนงึ่ ความสามารถท่บี ง่ บอกถงึ ความเป็นพลเมอื ง ดจิ ิทลั ไดเ้ ป็นอย่างดี เพราะเป็นท่ีร้กู นั อยู่แลว้ วา่ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ขี าดความเหมาะสมย่อม ส่งผลเสยี ต่อสขุ ภาพโดยรวม ทงั้ ความเครียดตอ่ สขุ ภาพจติ และเป็นสาเหตกุ ่อให้เกิดความเจบ็ ป่วยทาง กาย ซ่งึ นาไปสูก่ ารสญู เสยี ทรพั ยส์ นิ เพ่อื ใชร้ กั ษา และเสยี สขุ ภาพในระยะยาวโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์

6 ทกั ษะในการรบั มอื กับการคกุ คามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) จากขอ้ มูลทางสถิตลิ ่าสุด สถานการณ์ในเรือ่ ง Cyber bullying ในไทย มคี ่าเฉล่ียการกลนั่ แกล้ง บนโลกออนไลนใ์ นรูปแบบต่างๆ ท่สี งู กว่าคา่ เฉลี่ยโลกอยทู่ ่ี 47% และเกดิ ในรปู แบบที่หลากหลาย อาทิ การด่าทอกนั ดว้ ยขอ้ ความหยาบคาย การตดั ต่อภาพ สรา้ งข้อมูลเทจ็ รวมไปถงึ การตงั้ กลมุ่ ออนไลนก์ ีด กนั เพอ่ื นออกจากกลุม่ ฯลฯ ดงั นนั้ วา่ ทพ่ี ลเมอื งดจิ ทิ ลั ทุกคน จึงควรมคี วามสามารถในการรบั รูแ้ ละรบั มอื การคกุ คามข่มขบู่ นโลกออนไลนไ์ ด้อยา่ งชาญฉลาด เพอ่ื ป้องกนั ตนเองและคนรอบข้างจากการคุกคาม ทางโลกออนไลน์ให้ได้

7 ทกั ษะในการบริหารจดั การขอ้ มลู ทีผ่ ้ใู ชง้ านทง้ิ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) มรี ายงานการศึกษาวิจยั ยนื ยนั ว่า คนร่นุ Baby Boomer คอื กลมุ่ Aging ท่เี กิดตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2487 – 2505 มกั จะใช้งานอปุ กรณค์ อมพวิ เตอรห์ รือโทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ของผู้อนื่ และเปิดใช้งาน WiFi สาธารณะ เสร็จแล้วมกั จะละเลย ไมล่ บรหสั ผ่านหรอื ประวตั ิการใชง้ านถึง 47% ซึง่ เส่ยี งมากท่จี ะถกู ผู้อืน่ สวมสทิ ธิ ขโมยตวั ตนบนโลกออนไลน์ และเข้าถงึ ข้อมลู สว่ นบคุ คลไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย ดงั นนั้ ความเป็นพลเมอื งดิจิทลั จงึ ต้องมที กั ษะความสามารถที่จะเขา้ ใจธรรมชาติของการใชช้ ีวติ ในโลกดิจทิ ลั ว่าจะหลงเหลือรอ่ งรอยข้อมูลทง้ิ ไวเ้ สมอ รวมไปถึงต้องเข้าใจผลลพั ธ์ท่ีอาจเกิดข้ึน เพอ่ื การ ดูแลสงิ่ เหล่าน้ีอยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ

8 ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ความสามารถในการป้องกนั ขอ้ มูลดว้ ยการสร้างระบบความปลอดภยั ทีเ่ ข้มแขง็ และป้องกันการ โจรกรรมขอ้ มลู ไม่ใหเ้ กิดข้นึ ได้ ถา้ ตอ้ งทาธุรกรรมกบั ธนาคารหรือซ้อื สนิ คา้ ออนไลน์ เช่น ซอ้ื เส้อื ผา้ ชดุ เดรส เป็นตน้ ควรเปล่ยี นรหสั บ่อยๆ และควรหลีกเล่ียงการใชค้ อมพวิ เตอร์สาธารณะ และหากสงสยั ว่า ข้อมลู ถกู นาไปใช้หรอื สูญหาย ควรรีบแจง้ ความและแจ้งหน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ งทนั ที ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยอี ย่างมจี ริยธรรม (Digital Empathy) ความสามารถในการเห็นอกเห็นใจและสร้างความสมั พนั ธท์ ี่ดีกบั ผู้อ่ืนบนโลกออนไลน์ พลเมอื ง ดิจิทลั ทด่ี ีจะต้องรู้ถงึ คณุ ค่าและจริยธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยี ต้องตระหนักถึงผลพวงทางสงั คม การเมอื ง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม ทเี่ กดิ จากการใช้อินเทอร์เนต็ การกดไลก์ กดแชร์ ข้อมลู ข่าวสาร ออนไลน์ รวมถงึ รู้จกั สทิ ธิและความรบั ผดิ ชอบออนไลน์ อาทิ เสรภี าพในการพดู การเคารพทรพั ยส์ นิ ทาง ปัญญาของผอู้ ืน่ และการปกป้องตนเองและชมุ ชนจากความเส่ยี งออนไลน์ เชน่ การกลนั่ แกล้งออนไลน์ ภาพลามกอนาจารเด็ก สแปม เป็นตน้

9 สรปุ กล่าวโดยสรปุ การจะเป็นพลเมอื งดิจิทลั ท่ีดีนัน้ ตอ้ งมชี ดุ ทกั ษะและความรทู้ งั้ ในเชงิ เทคโนโลยี และการคิดขนั้ สงู หรือทเ่ี รียกวา่ “ความรู้ดิจิทลั ” (Digital Literacy) เพ่อื ใชป้ ระโยชน์จากข้อมลู ขา่ วสารใน โลกไซเบอร์ รจู้ กั ป้องกันตนเองจากความเสย่ี งต่างๆ ในโลกออนไลน์ เข้าใจถึงสทิ ธิ ความรบั ผดิ ชอบ และ จริยธรรมทส่ี าคญั ในยุคดจิ ิทลั และใช้ประโยชน์จากอนิ เทอร์เนต็ ในการมสี ่วนร่วมทางการเมอื ง เศรษฐกิจ และสงั คม-วฒั นธรรม ท่เี กีย่ วกับตนเอง ชุมชน ประเทศ และโลก ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ บรรณานุกรม WEEK 8 DIGITAL CITIZENSHIPความเป็นพลเมืองดจิ ติ อล (Digital Citizenship). สืบคน้ เม่ือ 2 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.http://mtrs.ac.th/krupu/week-10 วิวรรณ ธาราหิรญั โชต.ิ (2560). ทกั ษะทางดจิ ิทลั ทจ่ี าํ เป็นสาํ หรับเดก็ ในอนาคต. สืบคน้ เม่ือ 2 พฤษภาคม 2565, จาก http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642553 สรานนท์ อนิ ทนนท์. (2561) เทรนด์การเรียนรูปของคนรุ่นใหม่ในยคุ ดจิ ทิ ลั . สืบคน้ เมื่อ 2 พฤษภาคม 2565, จาก http://www.thaiexplore.net/search_detail/ result/7072 สาํ นักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์. (2562).

10 ประวตั ผิ จู้ ดั ทาํ ประวตั ิการศึกษา ประวตั ิส่วนตวั - ประถมศึกษา โรงเรียนวดั บ้านไร่ - เกิด 28 กนั ยายน 2538 - มธั ยมศึกษา โรงเรียนสายธรรมจันทร์ - อาหารท่ชี อบ : ส้มตาํ - ปริญญาตรี มหาวิทยาลยั เอเชียอาคเนย์ - ผลไมท้ ีช่ อบ : แอปเป้ิล - งานอดเิ รก: เลน่ ฟุตบอล ชอ่ งทางการติดต่อ 20/2 หมู่2 ต.บ้านไร่ อ.ดาํ เนินสะดวก จ.ราชบุรี 70130 โทร 0982643301 Line : jedsada11111 Gmail : [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook