Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย หลักภาษา ม.5 ตอน 3 หลักการฟังและการดูสื่อ1

ภาษาไทย หลักภาษา ม.5 ตอน 3 หลักการฟังและการดูสื่อ1

Published by pearyzaa, 2020-12-01 03:33:17

Description: ภาษาไทย หลักภาษา ม.5 ตอน 3

Search

Read the Text Version

ภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษา ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ตอนที่ ๑ ตอนท่ี ๒ ตอนท่ี ๓ ตอนท่ี ๔ ๑_หลักสูตรวชิ าภาษาไทย ๒_แผนการจัดการเรียนรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_ใบงาน_เฉลย ๕_ข้อสอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๖_ขอ้ สอบ_เฉลย ๗_การวดั และประเมินผล ๘_เสรมิ สาระ ๙_ส่อื เสริมการเรยี นรู้ บริษทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จำกดั : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศพั ท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๓ตอนท่ี การฟัง การดู และการพูด ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ หลกั การฟงั และการดูสอื่ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. มีวิจำรณญำณในกำรเลอื กเรอ่ื งท่ีฟงั และดูได้ ๒. มีมำรยำทในกำรฟงั และกำรดูได้

ความสาคัญของการฟงั และดูสือ่ แม้ว่ำยุคสมัยจะเปล่ียนแปลงกำ้ วหนำ้ ไปอย่ำงไร ควำมเจรญิ ทำงเทคโนโลยีจะ พัฒนำขึ้นเพยี งไหนก็ตำม กำรฟงั และกำรดกู ย็ ังคงเปน็ ส่ิงจำเปน็ ในชีวิตประจำวนั เพรำะกำรฟังเปน็ พ้ืนฐำนสำคัญของกำรเปน็ ผรู้ ู้หรอื นักปรำชญ์ ดังท่สี มเดจ็ ฯ กรม- พระยำเดชำดศิ ร กล่ำวว่ำ เวน้ วจิ ารณ์วา่ งเว้น สดบั ฟัง เวน้ ที่ถามอันยงั ไป่รู้ เว้นเลา่ ลิขิตสัง- เกตว่าง เวน้ นา เว้นด่ังกล่าววา่ ผู้ ปราชญ์ไดฤ้ ามี โคลงโลกนิติ : สมเดจ็ ฯ กรมพระยำเดชำดศิ ร)

ประเภทของการฟังและการดูสื่อ การฟังและการดู แบง่ เปน็ ๒ ประเภท ดังนี้ การฟงั การดโู ดยไม่ตั้งใจ การฟงั การดูโดยตัง้ ใจ คือ ไมม่ ีเจตนำโดยตรงที่จะฟัง คือ กำรฟงั และกำรดูทีม่ ี หรือดู เช่น ขณะขบั รถสำยตำดู จดุ มุง่ หมำยชดั เจนในกำรฟังและ ป้ำยโฆษณำอย่ำงผำ่ นๆ หรอื เปิด กำรดใู นคร้งั นั้นๆ เช่น กำรฟังคำ วิทยใุ นรถเพอื่ ให้เพลนิ ๆ รำยงำนในวชิ ำต่ำงๆ กำรดู รำยกำรศึกษำทำงไกลผ่ำน ดำวเทียม เปน็ ตน้

จุดมุ่งหมายของการฟังและการดูส่ือ การฟังและการดูมจี ุดมุ่งหมายหลกั ดงั นี้ ฟงั และดเู พ่อื ใหเ้ กิด ฟงั และดเู พ่ือให้เกิดความ ฟังและดเู พื่อ ฟังและดเู พื่อหาสาระ ความรคู้ วามคดิ เพลิดเพลิน ตดิ ตอ่ ส่อื สารใน และคตชิ วี ิต เป็นกำรฟงั เพือ่ เพิ่มสำระ ชีวิตประจาวัน ควำมรู้ใหก้ วำ้ งขวำงยิ่งข้ึน เปน็ กำรฟังและกำรดูที่ เป็นกำรฟังกำรดทู ม่ี ี เป็นกำรฟงั ท่มี งุ่ ยกระดับ เช่น กำรฟงั คำบรรยำย ชว่ ยผ่อนคลำยอำรมณ์ จุดมุ่งหมำยเพ่อื กำร จติ ใจใหส้ งู ขึ้น ผ้ฟู ังและผูด้ ู ในรำยวชิ ำตำ่ งๆ กำรฟงั ตึงเครียด เช่น กำรฟงั สอื่ สำรโตต้ อบกัน เช่น จะเกิดปญั ญำงอกงำมขน้ึ ปำฐกถำ กำรดูละครเพลง กำรดู ในกำรพูดคยุ โทรศพั ท์ และมีแนวทำงกำรดำเนนิ ละครเวที ชีวติ ดงี ำมทผ่ี ฟู้ ังผู้ดสู ำมำรถ นำมำเป็นแนว ทำงในกำร ปรบั ปรุงตนเอง

ประสทิ ธภิ าพการฟงั และการดสู ่ือ กำรฟังและกำรดสู ่ือตำ่ งๆ ใหม้ ีประสทิ ธภิ ำพ ควรปฏบิ ัติ ดังนี้ ๑. มคี วำมตัง้ ใจ สนใจเรื่องรำวที่ฟงั และดู ๒. ไดย้ นิ ชดั เจน มีประสำทหดู ี ๓. มสี มำธใิ นกำรฟงั เพื่อให้จดจำเรอื่ งท่ฟี งั ได้ดี เพรำะกำรฟงั นัน้ ย้อนทวนไมไ่ ด้ ๔. ใช้ควำมคดิ ในขณะท่ฟี ังและดู ๕. ติดตำมเรือ่ งรำวที่ฟงั ทีด่ ูและสำมำรถลำดบั เหตุกำรณ์ไดถ้ กู ต้อง ๖. เข้ำใจเรือ่ งรำวทผ่ี ู้พูดพดู และแปลควำมทฟี่ ังได้ ๗. ฟงั และดูแล้วสำมำรถนำประโยชนจ์ ำกกำรฟงั และกำรดไู ปใช้ได้ ๘. สำมำรถประเมินเรือ่ งรำวต่ำงๆ โดยใช้เหตผุ ลวจิ ำรณ์แยกแยะสงิ่ ทีฟ่ ังและดไู ด้

หลกั การฟงั และการดสู อื่ กำรฟงั กำรดูสือ่ ตำ่ งๆ เปน็ ทกั ษะทม่ี ีควำมสำคญั เพรำะเป็นกำรรบั สำรท่ที ำใหเ้ กดิ กำรเรยี นรู้ และมีหลกั กำรฟงั กำรดูส่อื ตำ่ งๆ ดงั นี้ หลักการฟงั จากบุคคลและ หลกั การฟงั การดูข่าว หลักการฟัง การดคู าอธบิ าย การดจู ากกิจกรรมการแสดง และเหตุการณท์ ัง้ เร่ืองใกล้ ตา่ งๆ ๑. เลำ่ เรอ่ื งจำกกำรฟงั และดู ได้ถกู ต้อง ตวั และไกลตวั ๑. จับใจควำมสำคัญได้ ๒. แสดงควำมคิดของตนเอง ๑. สำมำรถถ่ำยทอดได้ ๒. ตอบคำถำมหรอื ปฏิบตั ติ ำม ทมี่ ีต่อเร่อื งทีฟ่ ังและดูได้ ๒. ระบทุ ่ีมำของขำ่ วได้ ได้ ๓. สำมำรถวนิ จิ ฉัยได้วำ่ ๓. รจู้ กั จดบันทกึ ได้ครบถ้วน ควรเช่อื

การเลือกฟังและเลอื กดสู ือ่ หลกั เกณฑก์ ำรเลอื กฟังและดสู อ่ื มีดังน้ี ๑. ส่อื วทิ ยุโทรทศั น์ จะมีรำยกำรประจำสถำนีในแตล่ ะวัน ผู้ฟังผ้ดู คู วรศกึ ษำรำยกำรตำ่ งๆ และ เลอื กจัดสรรเวลำให้ตรงกบั สื่อทจ่ี ะออกอำกำศนั้นๆ ๒. เม่อื ฟังหรือดแู ล้วพบคำพดู ท่แี ปลก สะดดุ หู ควรจดบนั ทกึ ไวเ้ พ่ือพจิ ำรณำว่ำข้อควำมนนั้ ถกู ตอ้ ง หรอื ไม่ เพรำะเหตใุ ด ถ้ำไมถ่ ูกตอ้ งควรจะใชค้ ำใด ๓. ถำ้ เปน็ กำรฟังจำกแถบบันทึกเสียงตอ้ งศึกษำวธิ กี ำรใช้เครอ่ื งมอื ต่ำงๆ ให้เขำ้ ใจ ถ้ำเปน็ คอมพิวเตอร์ ต้องรู้จกั วธิ ใี ชโ้ ปรแกรมตำ่ งๆ และศึกษำวธิ ีใชท้ ถ่ี กู ตอ้ ง ๔. ถำ้ ดูจำกส่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เชน่ อินเทอรเ์ นต็ ควรรู้จกั เวบ็ ไซต์ทม่ี ีเน้ือหำสำระสร้ำงสรรค์ เกดิ กำรเพ่ิมพูนควำมรู้ ๕. ร้จู ักวิเครำะหข์ อ้ ควำมทีฟ่ งั และดู ๖. เลอื กรำยกำรทเ่ี หมำะกบั วยั และให้คณุ คำ่ ในกำรนำไปใช้

มารยาทในการฟังและการดูส่อื ผู้ฟงั ควรฝึกตนเองในด้ำนมำรยำท เพรำะถ้ำไมฝ่ กึ ฝนอำจทำกิริยำอำกำร ทเ่ี ปน็ กำรรบกวนสมำธิผูอ้ นื่ ได้ โดยมีแนวทำงปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ ๑. เข้ำฟังและดใู ห้ตรงเวลำ ๒. ฟังและดดู ว้ ยควำมต้ังใจ ๓. รูจ้ ักจดบนั ทึกสำระสำคญั และจับประเดน็ ขอ้ สงสยั ๔. เมือ่ จบกำรบรรยำยและกำรดแู ล้ว อำจถำมข้อสงสยั ด้วยอำกำรและข้อควำมทส่ี ุภำพ ๕. ควรปรบมอื เพอ่ื แสดงควำมชน่ื ชม ๖. รกั ษำกิรยิ ำมำรยำท โดยไมพ่ ดู คุย ไม่ส่งเสยี งรบกวนผู้อืน่ ไมล่ ุกจำกทีน่ ั่งบอ่ ยๆ ๗. เมื่อไม่พอใจ ต้องรูจ้ กั ยบั ย้ังควำมรู้สกึ และอำรมณ์ทร่ี ุนแรงได้ ๘. ใช้ควำมคดิ ไตร่ตรองในขณะท่ฟี งั วำ่ มคี วำมน่ำเชื่อถือเพียงใด

๒หนว่ ยการเรียนรู้ที่ การสรุปความ จากการฟัง การดู จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. สรปุ แนวคดิ และแสดงควำมคิดเหน็ จำกเร่อื งทฟี่ งั และดไู ด้ ๒. ประเมินเร่ืองทฟี่ ังและดู แลว้ กำหนดแนวทำงนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในกำรดำเนนิ ชวี ิตได้ ๓. มีวจิ ำรณญำณในกำรเลือกเร่อื งที่ฟังและดูได้ ๔. มีมำรบำทในกำรฟัง กำรดู และกำรพูดได้

หลกั การฟงั และการดเู พือ่ สรุปความ ฟังเรื่องรำวให้เข้ำใจ พยำยำม สรุปควำมโดยรวบรวมเนื้อหำ จับใจควำมสำคัญของเรื่อง สำระสำคัญอยำ่ งครบถ้วน วธิ กี ำร เปน็ ตอนๆ วำ่ เรอื่ งอะไร ใครทำ สรุปควำมจำกกำรฟัง จะตอ้ ง อะไร ทไี่ หน เมือ่ ไร อยำ่ งไร ค้นหำให้พบว่ำสำรใดเป็นควำมคิด สำคญั ในเรอ่ื งน้ันๆ แลว้ สรุปไว้ ฟังเรื่องรำวที่เป็นใจควำมสำคัญ เฉพำะใจควำมสำคญั แล้วหำรำยละเอยี ดของเรื่องท่ีเป็น ลักษณะปลีกย่อยของใจควำม สำคัญ

แนวทางการสรุปความจากการฟงั การดู ควรพจิ ำรณำในด้ำนเนื้อหำและกำรใช้ภำษำ สำรท่ีสรุปตอ้ งรักษำเนือ้ ควำมเดมิ และยังคง ใจควำมสำคญั ไวค้ รบถว้ น แนวทำงในกำรสรปุ ควำมจำกกำรฟัง กำรดู มีดังน้ี ฟังหรอื ดแู ลว้ เก็บใจควำม ฟังหรอื ดเู นอ้ื ควำม ใชภ้ ำษำที่กระชับ ตัง้ คำถำมจำกเร่อื งท่ีฟงั สำคญั ของเรอ่ื งใหร้ ู้ว่ำใคร ท่เี กี่ยวข้องให้เข้ำใจ กะทดั รดั และครอบคลุม หรอื ดู เพอื่ ทดสอบควำม ทำอะไร ที่ไหน เมอื่ ไร ควำมหมำยอย่ำงชดั แจง้ เขำ้ ใจในกำรฟงั ของตนเอง เน้อื ควำม ตรงตำม ต้ังคำถำมถำมตนเองอยู่ อยำ่ งไรและบนั ทกึ ทุกๆ ตอน วัตถุประสงค์ และมี ตลอดเวลำในขณะทฟ่ี ัง เร่อื งย่อไว้ ควำมหมำยชดั เจน

มารยาทในการฟังและการดู มองสบตำผู้พูด มารยาทในการฟงั รกั ษำควำมสงบ และการดู แสดงกริ ิยำอำกำร ไม่ควรขดี เขยี น ที่เหมำะสม หรือฉีกภำพ

๓หน่วยการเรียนรู้ที่ การพูดตอ่ ที่ประชมุ ชน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. พดู ในโอกำสตำ่ งๆ พดู แสดงทรรศนะ โต้แยง้ โนม้ นำ้ วใจ และเสนอแนวคิดใหมด่ ว้ ยภำษำทเ่ี หมำะสมได้ ๒. มีมำรยำทในกำรฟงั กำรดู และกำรพดู ได้

จุดมุ่งหมายของการพดู ตอ่ ท่ีประชมุ ชน เพื่อบอกเร่อื งรำวท่ีควรรู้ แกผ่ ฟู้ ัง เพอ่ื สร้ำงควำมบนั เทงิ ใจ ให้แก่ผฟู้ ัง เพอื่ จงู ใจผฟู้ งั กำรทำใหเ้ ชือ่ กำรเรำ้ ควำมร้สู กึ กำรสรำ้ งควำมประทบั ใจ

ลกั ษณะการพูดตอ่ ทปี่ ระชุมชน การพูดหมู่หรือพดู หลายคน การพูดเด่ียวหรือพูดคนเดยี ว หลักกำรพูดเดีย่ วหรอื พูดคนเดยี ว มีหลกั สำคัญ ผูพ้ ูดตอ้ งมตี ัง้ แต่สองคนขึ้นไป เรอ่ื งท่ีพูด ดงั นี้ เป็นเรอื่ งท่ีควรรู้ท่ัวๆ ไป ไม่เจำะจงเรอ่ื งหนึ่งเรื่อง ๑. ต้องรู้จกั กำรใชส้ ำยตำท่ำทำงประกอบ ใดโดยเฉพำะ อำจเปน็ ปญั หำของครอบครวั กำรพูด หรือของโรงเรยี นเพอ่ื ช่วยกันแก้ไขปัญหำตำ่ งๆ ๒. ตอ้ งรู้จักใชถ้ ้อยคำภำษำ ทีเ่ กดิ ข้ึนใหล้ ลุ ่วงไปได้ กำรแสดงควำมคิดเห็นใน ๓. ต้องรู้จักใชน้ ำ้ เสยี ง ลักษณะเช่นน้ี คือ กำรอภิปรำย ๔. ตอ้ งรจู้ กั ใช้อำรมณ์ขัน ๕. ต้องรจู้ ักใชต้ วั อยำ่ ง สถิติ หรอื ข้อมูลต่ำงๆ

หลกั การพดู ตอ่ ทีป่ ระชุมชน ต้องรจู้ ักที่ประชมุ ตอ้ งรเู้ ร่อื งท่ีพูด ต้องรู้จักลาดับเรอ่ื งใหเ้ ป็น ตอ้ งรู้จักวธิ ีพดู ระเบียบ ตอ้ งรจู้ ักสร้างการพูดให้ นา่ สนใจ

วธิ ีการพดู ต่อท่ปี ระชมุ ชน โดยทวั่ ไปวิธกี ำรพูดมี ๔ แบบ ดังน้ี การพดู ฉบั พลนั การอา่ น การทอ่ งมาพูด ตน้ แบบ การพูดทเ่ี ตรียม ล่วงหนา้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook