Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore nongkhai

nongkhai

Published by Chayaporn Wangsang, 2020-09-17 05:48:58

Description: nongkhai

Search

Read the Text Version

N O N หนองคาย สาย Chill G K H A I

หนองคาย สาย Chill จดั ทาโดย นางสาวชยาภรณ์ หวา่ งแสง รหสั นกั ศึกษา 6211011448031 วิชาความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั อุสาหกรรมทอ่ งเท่ียว (3571123) หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต

ก. คำนำ หนองคำย เป็นจงั หวดั ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน ต้งั อยู่ ในแอง่ สกลนครและอยใู่ นกลุ่มจงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน เป็นจงั หวดั ชายแดนซ่ึงมีพ้ืนที่ส่วนใหญ่ติดฝั่งแม่น้าโขง ตรงขา้ มกบั ประเทศลาว มีพ้นื ท่ีแคบแต่ยาว มีชื่อเสียงดา้ นการท่องเท่ียว เทศกาลและ ประเพณีท่ีน่าสนใจเป็นอยา่ งยงิ่ โดยหนงั สือเลม่ น้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ า ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั อุสาหกรรมทอ่ งเท่ียว ซ่ึงผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ จะเป็นประโยชนใ์ หแ้ ก่ทกุ ท่านที่ไดอ้ า่ น นางสาวชยาภรณ์ หวา่ งแสง ผจู้ ดั ทา 30 กนั ยายน พ.ศ.2562

ข. สารบญั หวั ขอ้ หนา้ หนองคายในประวตั ิศาสตร์ มารูจ้ กั หนองคายกนั 1 เทศกาลและงานประเพณี 4 สถานท่ที ่องเท่ยี ว 17 การเดินทาง 20 ของฝากประจาจงั หวดั หนองคาย 34 ของท่รี ะลกึ ประจาจงั หวดั หนองคาย 36 อา้ งองิ 38 40

1 มำรู้จกั หนองคำยกนั หนองคำยในประวัติศำสตร์ เมืองหนองคายมีช่ือปรากฏอยใู่ นพงศาวดารลา้ นชา้ งตลอดยคุ สมยั ดงั เช่นปรากฏเป็นช่ือเมืองเวยี งคุก เมืองปะโค เมืองปากหว้ ยหลวง (อาเภอโพนพสิ ัยในปัจจุบนั ) และนอกจากน้ียงั ปรากฏในศิลาจารึกจานวน มากที่กษตั ริยแ์ ห่งเวียงจนั ทน์ไดส้ ร้างไวใ้ นบริเวณจงั หวดั หนองคาย โดยเฉพาะเมืองปากห้วยหลวงซ่ึงเป็นเมืองลูกหลวง นอกจากน้ีในรัชสมยั พระเจา้ วรรัตนธรรมประโชติฯ พระราชโอรสในพระเจา้ ไชยเชษฐาธิราช ไดต้ ้งั สมเดจ็ พระสงั ฆราชวดั มุจลินทรอารามอยทู่ ่ีเมืองหว้ ยหลวง และยงั พบจารึกท่ีวดั จอมมณี จารึกวดั ศรีเมือง จารึกวดั ศรีบุญเรือง เป็นตน้ นอกจากน้ียงั พบโบราณสถานอิทธิพลลา้ นชา้ งจานวนมาก เช่น พระธาตุ ต่าง ๆ โดยเฉพาะพระธาตบุ งั พวน สร้างก่อน พ.ศ. 2106 จารึกวดั ถ้า สุวรรณคูหา (อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวดั หนองบวั ลาภู) ลงศกั ราช พ.ศ. 2106 กล่าวถึงพระเจา้ ไชยเชษฐาธิราช ไดอ้ ุทิศขา้ ทาสและท่ีดินแก่วดั ถ้า สุวรรณคูหา และไดส้ ร้างพระพุทธรูปไวท้ ี่พระธาตุบงั พวนอีกดว้ ย

2 เม่ือ พ.ศ. 2322 กองทพั สมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบรุ ีไดช้ ยั ชนะกรุงศรี สตั นาคนหุตเวียงจนั ทนแ์ ลว้ หวั เมืองหนองคายยงั อยใู่ ตค้ วามควบคุมของ เวียงจนั ทน์เช่นเดิมหลงั กรณีเจา้ อนุวงศ์ พ.ศ. 2369 – 2370 ฝ่ายกรุงเทพฯ มี นโยบายอพยพผคู้ นมาฝั่งภาคอีสานจึงยบุ เมืองเวียงจนั ทนป์ ล่อยใหเ้ ป็น เมืองร้าง ชาวเมืองเวียงจนั ทน์บางส่วนก็อพยพมาภาคกลางและบางส่วนก็ อยทู่ ี่บริเวณเมืองเวียงคุก เมืองปะโค (อาเภอเมืองหนองคายในปัจจุบนั ) เม่ือจดั การบา้ นเมืองเรียบร้อยแลว้ เจา้ พระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) อคั รมหาเสนาบดีสมหุ นายก จึงกราบบงั คมทูลพระกรุณาใหท้ า้ วสุวอ (บญุ มา) เป็นเจา้ เมือง ยกบา้ นไผ่ (ละแวกเดียวกบั เมืองปะโคเมืองเวียงคุก) เป็นเมืองหนองคาย ทา้ วสุวอเป็น \"พระปทมุ เทวาภิบาล\" เจา้ เมืองคนแรก มีเจา้ เมืองต่อมาอีก 2 คน คือ พระปทุมเทวาภิบาล (เคน ณ หนองคาย) ผู้ เป็นบตุ รและพระยาปทมุ เทวาภิบาล (เสือ ณ หนองคาย) ผเู้ ป็นหลาน เมื่อ พ.ศ. 2428 เกิดสงครามปราบฮ่อคร้ังท่ีสองในบริเวณทุง่ ไหหิน (ทงุ่ เชียงคา) พวกฮ่อกาเริบตีมาจนถึงเวียงจนั ทน์ เมื่อพระบาทสมเดจ็ พระ จุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงทราบขา่ วศึกฮ่อ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ทองกองกอ้ นใหญ่ กรมหลวงประจกั ษ์ ศิลปาคมขณะดารงพระอิสริยศเป็น กรมหมื่นประจกั ษศ์ ิลปาคม เป็นแม่ ทพั ปราบฮ่อคร้ังน้นั จนพวกฮ่อแตกหนี และสร้างอนุสาวรียป์ ราบฮ่อไวท้ ่ี

3 เมืองหนองคาย เม่ือ พ.ศ. 2429 ต่อมาใน พ.ศ. 2434 พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระเจา้ นอ้ งยา เธอ กรมหมื่นประจกั ษศ์ ิลปาคมดารงตาแหน่งขา้ หลวงมณฑลลาวพวน (ภายหลงั เปลี่ยนเป็นมณฑลอดุ ร) ไดต้ ้งั ท่ีทาการท่ีเมืองหนองคาย คร้ันเกิด วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ไทยถูกกาหนดเขตปลอดทหารภายในรัศมี 50 กิโลเมตรจากชายแดน จึงยา้ ยกองบญั ชาการมลฑลลาวพวนมาต้งั ท่ีตาบล หมากแขง้ อาเภอเมือง จงั หวดั อดุ รธานี ในปี 2434 อาเภอเมือง จงั หวดั หนองคายเป็นพ้ืนที่ของมณฑลลาว พรวน ในปี 2436 ไดถ้ กู ยา้ ยไปยงั บา้ นหมากแขง้ เน่ืองจากการสูญเสีย ดินแดนบนฝ่ังซา้ ยของแม่น้าโขงใหฝ้ ร่ังเศส ต่อมาในปี พ.ศ. 2443 มณฑล อุดรไดก้ ่อต้งั ข้ึน ท่ีบา้ นหมากแขง้ จึงเปลี่ยนสถานะจากเมืองหนองคาย เป็นจงั หวดั หน่ึงของมณฑลอุดร หลงั จากมีการเลิกใชร้ ะบบมณฑลเทศาภิบาล ในการปกครองในปี พ.ศ. 2476 ที่จงั หวดั หนองคายถกู ยา้ ยออกจากการควบคุมของมณฑลอดุ ร และไดเ้ ปล่ียนสถานะเป็นจงั หวดั นบั ต้งั แต่น้นั เป็นตน้ มา จงั หวดั หนองคาย หน่ึงในจงั หวดั ชายแดนของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ต้งั อยบู่ นฝั่งขวาของ แม่น้าโขงตรงขา้ มกบั ทา่ เดื่อของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

4 กำรแบ่งกำรปกครองของจังหวดั หนองคำย จงั หวดั หนองคาย แบง่ การปกครองออกเป็น 17 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมืองหนองคาย อาเภอโพนพสิ ยั อาเภอศรีเชียงใหม่ อาเภอเซกา อาเภอทา่ บ่อ อาเภอโซ่พสิ ัย อาเภอสงั คม อาเภอพรเจริญ อาเภอปากคาด อาเภอบึงโขงหลง อาเภอศรีวิไล อาเภอบุ่งคลา้ อาเภอเฝ้าไร่ อาเภอสระ ใคร และอาเภอรัตนวาปี

5 ทีต่ ้งั และอำณำเขต จงั หวดั หนองคาย มีเน้ือที่ประมาณ 3,026.534 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,891,583 ไร่ (นบั เป็นจงั หวดั ท่ีมีขนาดเลก็ ที่สุดของภาคอีสาน) ลกั ษณะเป็นรูปยาวเรียงทอดไปตาม ลาน้าโขงซ่ึงเป็นเส้นก้นั เขตแดนกบั ประเทศลาว มีความยาวท้งั ส้ิน 195 กิโลเมตร ความกวา้ งของพ้ืนที่ ท่ีทอดขนานไปตามลาน้าโขงโดยเฉลี่ย 20 - 25 กิโลเมตร ทศิ เหนือ ติดกบั แม่น้าโขงอนั เป็นเสน้ ก้นั พรมแดนระหวา่ งประเทศไทยกบั สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศใต้ ติดกบั จงั หวดั อุดรธานี และจงั หวดั สกลนคร ทศิ ตะวนั ออก ติดกบั จงั หวดั นครพนม ทศิ ตะวนั ตก ติดกบั จงั หวดั เลย

6 ภูมปิ ระเทศและภูมอิ ำกำศ สภำพภูมปิ ระเทศ ของจงั หวดั หนองคายมีลกั ษณะทอดยาวตาม ลาน้าโขง จงั หวดั หนองคายเป็นจงั หวดั ชายแดนทางภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน มีอาณาเขตติดกบั กรุงเวียงจนั ทน์ ซ่ึงเป็น เมืองหลวงของประเทศลาว โดยมีแมน่ ้าโขงเป็นเสน้ ก้นั เขตแดน จงั หวดั หนองคายเป็นจงั หวดั ชายแดนท่ีมีเอกลกั ษณ์พเิ ศษโดยมีพ้นื ท่ีทอดขนาน ยาวไปตามลาน้าโขง ความกวา้ งของพ้นื ท่ีทอดขนานไปตามลาน้าโขงโดย เฉลี่ยประมาณ 20 – 25 กิโลเมตร ช่วงที่กวา้ งที่สุดอยทู่ ี่อาเภอเฝ้าไร่ และ ช่วงท่ีแคบท่ีสุดอยทู่ ่ีอาเภอท่าบ่อ จงั หวดั หนองคายมีอาเภอที่อยตู่ ิดกบั ลา น้าโขง 6 อาเภอ คือ อาเภอสงั คม อาเภอท่าบ่อ อาเภอศรีเชียงใหม่ อาเภอเมือง อาเภอโพนพสิ ัย และอาเภอรัตนวาปี และมีอาณาเขตติดต่อกบั ประเทศลาว คือ แขวงเวยี งจนั ทน์ นครหลวงเวียงจนั ทน์ และแขวงบอลิคา ไซ จงั หวดั หนองคายมีจุดผา่ นแดนไป ประเทศลาว รวม 6 จุด เป็นจุด ผา่ นแดนถาวร 2 จุด และจดุ ผอ่ นปรน 4 จุด จุดผา่ นแดนที่สาคญั และเป็น สากล คือ ด่านสะพานมิตรภาพไทย - ลาว ซ่ึงรัฐบาลออสเตรเลีย-ไทย- ประเทศลาว ร่วมมือกนั สร้างและเป็นประตูไปสู่อินโดจีน

7 ลกั ษณะภมู ิประเทศโดยทวั่ ไปเป็นท่ีราบสูง แยกไดเ้ ป็น 4 บริเวณ พืน้ ทคี่ ่อนข้ำงรำบ ใชใ้ นการทานา และปลูกพชื บริเวณริมน้าโขง พืน้ ที่เป็ นคล่ืนลอนลำด ส่วนใหญเ่ ป็นที่ทานาและปลูกพืชไร่ พชื สวน และป่ าธรรมชาติ พื้นที่เป็ นคล่ืนลอนชันและเป็ นเขำเป็ นป่ ำธรรมชำติ เช่น ป่ าไมเ้ ตง็ รัง เบญจพรรณ พบในเขตอาเภอสังคม สภำพพืน้ ทีเ่ ป็ นภูเขำทีม่ คี วำมสูงชัน จากระดบั น้าทะเลต้งั แต่ 200 เมตร เป็นบริเวณเทือกเขาต่างๆ ทางทิศตะวนั ตกในเขตอาเภอสังคม

8 ลกั ษณะอำกำศ จดั อยใู่ นจาพวกฝนแถบร้อนและแหง้ แลง้ (ธ.ค. - ม.ค.) ในฤดูมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือ อุณหภูมิจะเร่ิมลดในเดือน พฤศจิกายนและต่าสุดในช่วงเดือนธนั วาคมถึงมกราคม ในช่วงเดือน มีนาคมถึงพฤษภาคม เป็นช่วงเปล่ียนฤดู อุณหภมู ิจะสูงข้ึนอยา่ งรวดเร็วใน เดือนมีนาคม และร้อนจดั ในเดือนเมษายน ในฤดูมรสุมตะวนั ออกเฉียงใต้ (มิ.ย.- ก.ค.) อุณหภูมิโดยทว่ั ไปจะลดลง และในเดือนตุลาคมอุณหภูมิจะ เร่ิมลดลงจนอากาศหนาวเยน็

9 กำรปกครองส่ วนภูมิภำค การปกครองแบ่งออกเป็น 9 อาเภอ 62 ตาบล 678 หมบู่ า้ น มีรายชื่ออาเภอ ตามหมายเลขในแผนท่ีดงั นี

10 กลุ่มชำติพนั ธ์ุ ในปัจจุบนั กล่มุ คนท่ีอพยพมาอยใู่ นเขตจงั หวดั หนองคาย ไดม้ ีการ ปรับตวั และปรับเปลี่ยนเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ใหก้ ลมกลืนกบั ชาวพ้นื เมือง ท่ีต้งั ถ่ินฐานอยเู่ ดิมจนแทบไมเ่ ห็นความแตกตา่ ง ท้งั การแต่งกาย ท่ีอยอู่ าศยั ประเพณีตา่ ง ๆ จะสังเกตไดเ้ ฉพาะสาเนียงของภาษาพูด ที่ยงั คงเหลือเคา้ ใหท้ ราบวา่ เดิมเป็นชนเผ่าไหน ซ่ึงพอจาแนก ไดด้ งั น้ี กล่มุ ชำวไทอสี ำน/ลำวอสี ำน เน่ืองจากเดิมเป็นอาณาจกั รลา้ นชา้ งจึง นบั เป็นกลุ่มลาวลา้ นชา้ งดว้ ยแตถ่ ึงอยา่ งไร หนา้ ตา ผิวพรรณ สาเนียงการ พูด ก็แตกต่างจากชาวลาว จึงน่าจะเรียกวา่ ไทอีสาน ถือวา่ เป็นกลมุ่ ชนท่ี มากท่ีสุดในจงั หวดั หนองคาย

11 กล่มุ ไทพวน มีถิ่นฐานเดิมจากเมืองพวน แขวงเชียงขวาง ประเทศลาว อาศยั อยทู่ ่ีอาเภอศรีเชียงใหม่ กล่มุ ไทลือ้ /ไทด่ำน/ไทเหนือ เป็นกลมุ่ ที่อพยพมาจากเมืองหลวงพระ บางและอาเภอด่านซา้ ย จงั หวดั เลย ปัจจุบนั อยทู่ ่ีอาเภอสงั คมและอาเภอ โพธ์ิตาก

12 กลุ่มคนญวน อพยพมาในสมยั สงครามอินโดจีน พร้อมๆกบั เจา้ เมือง จนั ทบุรี มาอยทู่ ่ีอาเภอทา่ บ่อ ตามประวตั ิศาสตร์เดิม มีกลุ่มคนท่ีเป็นชาติพนั ธุต์ า่ งๆ อพยพมาที่ จงั หวดั หนองคายมากกวา่ น้ี แตป่ ัจจุบนั ไมส่ ามารถหาหลกั ฐาน หรือ สิ่ง บอกเหตุวา่ เป็นชนกล่มุ น้นั ๆ หรือไม่ เน่ืองจากมีการกลมกลืนกนั เป็นไท อีสาน เกือบหมดแลว้ และมีบางส่วนท่ีเป็นกลมุ่ คนที่อพยพมาจากจงั หวดั อ่ืนๆ มาต้งั ถิ่นฐานในอาเภอรัตนวาปี และอาเภอโพนพสิ ยั ซ่ึงเรียกวา่ ไท ครัว เพราะในหมบู่ า้ นหน่ึงๆ จะมาจากหลากหลายจงั หวดั และไมส่ ามารถ สืบสานชาติพนั ธุไ์ ดแ้ ละปัจจุบนั ก็กลมกลืนกบั ชาวบา้ นที่อาศยั อยเู่ ดิม เกือบหมดแลว้

13 เกษตรกรรม ประชากรโดยส่วนมากจะประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ทานา ทาสวน ทาไร่ ใชป้ ระโยชน์ท่ีดินส่วนใหญเ่ พอ่ื การเกษตร ซ่ึงพืชเศรษฐกิจ ที่สาคญั ไดแ้ ก่ ขา้ ว (นาปี ) และยางพารา นอกจากน้นั ยงั มีการเล้ียงปศสุ ัตวแ์ ละการทาประมง โดยปศสุ ตั วท์ ่ี มีมลู ค่าผลผลิตมากท่ีสุด คือ ไก่ไข่ สุกร โคพ้นื เมือง เป็ดไข่ ไก่เน้ือ กระบือ เป็ดเน้ือ และโคพนั ธุ์ ส่วนดา้ นการประมงน้นั มีท้งั การเล้ียงสัตวน์ ้าในบ่อดิน บ่อซีเมนต์ กระชงั การจบั สัตวน์ ้าในแหลง่ น้าธรรมชาติ การจบั สัตวน์ ้าในแมน่ ้าโขง และการจบั สตั วน์ ้าในแหล่งน้าอ่ืนๆ อตุ สำหกรรม ทางดา้ นอตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรมท่ีสาคญั ของจงั หวดั หนองคาย คือ โรงสีขา้ ว อตุ สาหกรรมยางพารา และอตุ สาหกรรมแปรูปไม้ นอกจากน้ียงั มีอุตสาหกรรมอื่นๆ

14 เทศกำลและงำนประเพณี งำนบวงสรวงอนุสำวรีย์ปรำบฮ่อ จดั ขึน้ เพ่ือ : เพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลใหแ้ ก่วีรชน และราลึกถึงวีรกรรม อนั กลา้ หาญของวรี ชนในการทาศึกสงครามปราบปรามกบฏฮ่อ กจิ กรรมภำยในงำน : บวงสรวงอนุสาวรียป์ ราบฮ่อ การราบายศรีเมือง การจาหน่ายสินคา้ โอทอปและสินคา้ จากโรงงาน การแสดงแสงเสียง จัดขนึ้ ช่วง : เดือนมีนาคม

15 งำนบุญบ้ังไฟพญำนำค จดั ขึน้ เพ่ือ : เพื่อเป็นการบูชา พญาแถน หรือเทพวสั สกาลเทพบุตร ซ่ึง ชาวบา้ นมีความเช่ือวา่ พระยาแถนมีหนา้ ท่ีคอยดูแลใหฝ้ นตกถูกตอ้ งตาม ฤดูกาล และมีความช่ืนชอบไฟเป็นอยา่ งมาก หากหมู่บา้ นใดไม่จดั ทาการ จดั งานบุญบ้งั ไฟบชู า ฝนกจ็ ะไมต่ กถกู ตอ้ งตามฤดูกาล อาจก่อใหเ้ กิดภยั พิบตั ิกบั หมู่บา้ นได้ กจิ กรรมภำยในงำน : การจดั ขบวนส่งเสริมประเพณี ขบวนแห่ในแบบ ฉบบั โปงลางและนาฏศิลป์ พ้นื เมือง การแข่งขนั จุดบ้งั ไฟ จดั ขนึ้ ช่วง : ออกพรรษา

16 งำนตักบำตรเทโวและแข่งเรือมิตรภำพ ไทย-ลำว หนองคำย จดั ข้ึนเพ่ือ :

17 สถำนที่ท่องเทย่ี ว 1. หำดจอมมณี หาดจอมมณี หรือ พทั ยาอีสาน เป็นหาดทรายน้าจืดริมแม่น้าโขงความยาว ประมาณ 200 เมตร อยหู่ ่างจากตวั เมืองประมาณ 2 กิโลเมตร ไม่ไกลจาก สะพานมิตรภาพไทย – ลาว จึงกลายเป็นสถานท่ีพกั ผอ่ นหยอ่ นใจของชาว หนองคาย และเป็นสถานที่ทอ่ งเท่ียวสุด Unseen แห่งหน่ีงของหนองคาย เพราะหาดจอมมณีจะมีเฉพาะในช่วงหนา้ แลง้

18 2. พระธำตหุ นองคำย หรือพระธำตกุ ลำงนำ้ พระธาตุศกั ด์ิสิทธ์ิคู่บา้ นคูเ่ มืองหนองคาย หรืออีกชื่อหน่ึงคือ พระธาตุ หลา้ หนอง พระธาตุขนาดใหญร่ ิมน้าโขง แต่พงั ทลายลงเนื่องจาก กระแสน้าที่เช่ียวกรากของแม่น้าโขง ภายหลงั จากท่ีตวั พระธาตุจมลงกลาง น้า จึงเหลือเพยี งฐานก่ออิฐส่ีเหลี่ยมของตวั พระธาตดุ โผล่พน้ น้าข้ึนมา เพียงคร่ึงฐานกลางลาน้าโขง นอกจากจะเป็นที่เคารพบชู าของชาว หนองคายแลว้ พระธาตแุ ห่งเมืองบาดาลแห่งน้ียงั เป็นท่ีท่องเท่ียวยอดฮิต เพราะเป็นพ้นื ที่จดั งานบุญบ้งั ไฟทุกปี อีกดว้ ย พกิ ดั : พระธาตุกลางน้า

19 3. ประติมำกรรมพญำนำค 2 องค์ ลำนวฒั นธรรมริมโขงหน้ำวดั ลำดวน Landmark ทีเดด็ ที่มาหนองคายแลว้ ตอ้ งไมพ่ ลาดมาเช็คอินท่ีแห่งน้ี เป็นพ้ืนท่ีสาหรับจดั กิจกรรมตา่ งๆ ที่สาคญั ของเมืองหนองคาย เช่น งานวนั ออกพรรษา และเป็นจุดชมบ้งั ไฟพญานาคสุดฮิต เน่ืองจาก เป็นที่ประดิษฐานปะติมากรรมพญานาคอนั วิจิตรงดงามท่ีมีขนาดใหญ่ ท่ีสุดในหนองคายถึง 2 องค์ พกิ ดั : ลานวฒั นธรรม ริมโขงหนา้ วดั ลาดวน

20 4.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook